สายคู่บิดเกลียว

15
นำเสนอ อ.ปิยวรรณ รัตนภำนุศร สมำชิก 1. นำยธนกฤต เผ่ำจินดำ 2. นำยธนำนนท์ สินธวำนนท์ 3. นำยรัฐวิทย์ ทรัพย์สอน (Twisted Pair Wire)

Upload: -

Post on 26-May-2015

7.558 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: สายคู่บิดเกลียว

น ำเสนอ

อ.ปิยวรรณ รัตนภำนุศร

สมำชิก

1. นำยธนกฤต เผ่ำจินดำ

2. นำยธนำนนท์ สินธวำนนท์

3. นำยรัฐวิทย์ ทรัพย์สอน

(Twisted Pair Wire)

Page 2: สายคู่บิดเกลียว

สายคู่บิดเกลียว (Twisted Pair Wire)

Page 3: สายคู่บิดเกลียว

เป็นสายชนิดที่ได้รับความนิยมสูงสุดในการน ามาใช้งานตามห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ทัว่ไป รวมทั้งตามส านักงานต่างๆ สายชนิดน้ีได้ชื่อมาจากลักษณะองค์ประกอบภายในของสาย ที่เป็นสายลวดทองแดง 2 เส้นน ามาพันเกลียวเข้าดว้ยกันเพื่อท าให้เกิดเป็นสนามแม่เหล็ก ซึ่งใช้เป็นเสมือนเกราะส าหรับป้องกันสัญญาณรบกวนทั่วไปได้ในตัวเอง จ านวนรอบหรือความถี่ ในการพันเกลียว เช่น พันเกลียว 10 รอบต่อความยาว 1 ฟุต นัน้มีผลโดยตรงต่อก าลังของสนามแม่เหล็กท่ีเกิดขึ้นถ้าจ านวนรอบสูงก็จะท าให้สนามแม่เหล็กมีก าลังแรงขึ้น สามารถป้องกัน สัญญาณรบกวนได้ดีขึ้น แต่ก็ท าให้สิ้นเปลืองสายมากขึ้น แต่ถ้าจ านวนรอบต่ า ก็จะเกิดสนามแม่เหล็กก าลังอ่อน ซึ่งป้องกันสัญญาณรบกวนได้น้อยลงก็ใช้สายเปลืองน้อยลงเช่นกัน

Page 4: สายคู่บิดเกลียว

โดยทั่วไปแล้วสายชนิดนี้จึงมีคณุสมบัติในการป้องกันสัญญาณรบกวนได้ดีกว่าสายทีไ่ม่มีการพันเกลียวเลยบริเวณแกน (Core) ของสายคู่บิดเกลียว สายคูบ่ิดเกลียว ประกอบด้วยสายทองแดงจ านวนหนึ่ง หรือหลายคู่สาย ห่อหุ้มสายด้วยฉนวนบางๆ เพื่อป้องกนัไม่ให้เกิดการลัดวงจร แล้วน ามาพันเกลียวเข้าดว้ยกันเปน็คู่ ทุกคู่จะถูกห่อหุ้มฉนวนอีกชั้นหนึ่งรวมกันเป็นสายขนาดใหญ่เพียงสายเดียว สายคู่บิดเกลียวแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ 1. แบบไม่มีฉนวนหุ้ม (UTP : Unshielded Twisted Pair) 2. แบบมีฉนวนหุ้ม (STP : Shielded Twisted Pair)

Page 5: สายคู่บิดเกลียว

สายคู่บิดเกลียวแบบไม่มีฉนวนหุ้ม (UTP : Unshielded Twisted Pair)

สาย UTP เป็นสายที่พบเห็นกันมาก มักจะใช้เชื่อมโยงคอมพิวเตอรไ์ปยังอุปกรณ์สื่อสารตามมาตรฐานที่ก าหนด ส าหรับสายประเภทน้ีจะมคีวามยาวของสายในการเชื่อมต่อได้ไม่เกิน 100 เมตร และสาย UTP มีจ านวนสายบิดเกลยีวภายใน 4 คู่ คู่สายในสายคูต่ีเกลียวไม่หุม้ฉนวนคล้ายสายโทรศัพท์ มีหลายเส้นซึ่งแต่ละเส้นก็จะมีสแีตกต่างกัน และตลอดท้ังสายน้ันจะถูกหุ้มด้วยพลาสติก (Plastic Cover) ปัจจุบันเป็นสายที่ได้รับความนิยมมากที่สุด เนื่องจากราคาถูกและติดต้ังได้ง่าย แสดงดังรูป

Page 6: สายคู่บิดเกลียว

รูปแสดงสายคู่บิดเกลียวแบบไม่มีฉนวนหุ้ม (UTP : Unshielded Twisted Pair)

Page 7: สายคู่บิดเกลียว

สาย UTP จะมีสายสัญญาณอยู่จ านวน 4 คู่ 8 เส้น ประกอบด้วย

เขียว - ขาวเขียว ส้ม - ขาวส้ม

น้ าเงิน - ขาวน้ าเงิน น้ าตาล - ขาวน้ าตาล

Page 8: สายคู่บิดเกลียว

ข้อดีของสาย UTP - ราคาถูก - ติดตั้งง่ายเนือ่งจากน้ าหนักเบา - มีความยืดหยุ่น และสามารถโค้งงอได้มาก ข้อเสียของสาย UTP - ไม่เหมาะในการเชื่อมต่อกบัอุปกรณ์ที่ห่างไกลมาก เพราะสัญญาณที่วิ่งบนสายจะถกูลดทอนลงไปตามความยาวของสาย (มีความยาวของสายในการเชื่อมต่อได้ไม่เกิน 100 เมตร)

Page 9: สายคู่บิดเกลียว

สายคู่บิดเกลียวแบบมีฉนวนหุ้ม (STP : Shielded Twisted Pair)

สายสัญญาณ STP มกีารน าสายคูพ่ันเกลียวมารวมอยู่และมีการเพิ่มฉนวนป้องกันสัญญาณรบกวน ซึ่งร่างแหนี้จะมีคณุสมบัติเป็นเกราะในการปอ้งกันสัญญาณรบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าต่างๆ เรียกเกราะนี้วา่ ชิลด์ (Shield) และเป็นสายสัญญาณที่ได้รับการพัฒนาต่อจากสาย UTP โดยเพิ่มการชีลด์กันสัญญาณรบกวนเพื่อท าให้คุณสมบตัิโดยรวมของสัญญาณดีมากขึ้น คุณลักษณะของสาย STP ก็เหมือนกับสาย UTP คือมีเรื่องเกี่ยวกับอัตราการบัน่ทอน ครอสทอร์ก

Page 10: สายคู่บิดเกลียว

รูปแสดงสายคู่บิดเกลียวแบบมีฉนวนหุ้ม (STP : Shielded Twisted Pair)

Page 11: สายคู่บิดเกลียว

ข้อดีของสาย STP - ส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูงกว่า UTP - ป้องกันคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และคลื่นวิทยุ ข้อเสียของสาย STP - มีขนาดใหญ่และไม่ค่อยยืดหยุ่นในการงอพับสายมากนัก - ราคาแพงกว่าสาย UTP

Page 12: สายคู่บิดเกลียว

ค าถาม 1.สายคู่บิดเกลียวได้ชื่อมาจากอะไร

ตอบ ลักษณะองค์ประกอบภายในของสายที่เป็นสำยลวดทองแดง สองเส้นน ำมำพันเกลียวเข้ำด้วยกัน

2. สายคู่บิดเกลียวท ามาจากอะไร

ตอบ ลวดทองแดง

3. สายคู่บิดเกลียวแบง่ออกเป็น 2 ประเภทคืออะไรบ้าง

ตอบ 1. แบบไม่มีฉนวนหุ้ม (UTP : Unshielded Twisted Pair)

2. แบบมีฉนวนหุ้ม (STP : Shielded Twisted Pair)

Page 13: สายคู่บิดเกลียว

4. ข้อดีของสาย UTP - ราคาถูก - ติดตั้งง่ายเนื่องจากน้ าหนักเบา - มีความยืดหยุ่น และสามารถโค้งงอได้มาก 5. ข้อเสียของสาย UTP - ไม่เหมาะในการเชื่อมต่อกับอปุกรณ์ที่ห่างไกลมาก เพราะสัญญาณที่วิ่งบนสายจะถูกลดทอนลงไปตามความยาวของสาย (มีความยาวของสายในการเชื่อมต่อได้ไม่เกิน 100 เมตร)

Page 14: สายคู่บิดเกลียว

6. ข้อดีของสาย STP - ส่งข้อมูลดว้ยความเร็วสูงกว่า UTP - ป้องกันคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และคลื่นวิทยุ 7. ข้อเสียของสาย STP - มขีนาดใหญ่และไม่ค่อยยืดหยุ่นในการงอพับสายมากนัก - ราคาแพงกว่าสาย UTP

Page 15: สายคู่บิดเกลียว

แหล่งอ้างอิง http://www.dcs.cmru.ac.th เจาะระบบ Network ฉบับสมบูรณ์

การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์