ระบบอัดอากาศ

60
Compressed air system ไชยณรงค จักรธรานนท ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ศูนยรังสิต

Upload: natthapong-tonkanya

Post on 28-Jul-2015

1.203 views

Category:

Documents


21 download

TRANSCRIPT

Compressed air system

ไชยณรงค จักรธรานนท

ภาควิชาวิศวกรรมเครือ่งกล คณะวิศวกรรมศาสตร

มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร ศูนยรังสติ

Introduction

จุดประสงค

เพื่อเขาใจพื้นฐานการทํางานและองคประกอบของระบบอัดอากาศ

เพื่อศึกษาวิธีประเมินการทํางานของระบบอัดอากาศ

เพื่อศึกษาวิธีการปรับปรุงประสิทธิภาพของระบบอัดอากาศ

เนื้อหา

ประเภทของระบบอัดอากาศ

ระบบอากาศอัด

การประเมินเครื่องอัดอากาศและระบบอากาศอัด

การอนุรักษพลังงานระบบอัดอากาศ

การดูแลรักษา

ระบบอากาศอัด

(Compressed air system)

ประกอบดวย

สวนจดัหาอากาศ

- เครื่องอัดอากาศและการปรับปรุงคณุภาพอากาศ

สวนตองการอากาศ

- ระบบจดัเกบ็ระบบสง และอุปกรณที่ใชอากาศอัด

องคประกอบหลักของระบบอากาศอัด

Air inlet filter

Dryer Air filterAir receiver

After cooler

and lubricant

cooler

Lubricant/air

separator

Filter, regulator and

lubricator

Pressure/controller

องคประกอบหลักของระบบอากาศอัด

Intake air filters

Inter-stage coolers

After coolers

Air dryers

Moisture drain traps

Receivers

Air receiver

Intercooler

Air compressor

Piping

โดยทั่วไปเครือ่งอัดอากาศอาจแบงได 2 ประเภท

• เครื่องอัดอากาศประเภทปริมาตรแทนที่เชิงบวก

(Positive Displacement)

• เครื่องอัดอากาศประเภทไดนามิคส (Dynamics)

ประเภทของระบบอดัอากาศ

แสดงประเภทของเครื่องอัดอากาศTypes of compressor

Positive displacementDynamics

1) เครือ่งอัดอากาศแบบลูกสูบ (Reciprocation Compressors)

2) เครื่องอัดอากาศแบบโรตารี ่(Rotary Compressors)

3) เครือ่งอัดอากาศแบบหมุนเหวี่ยง (Centrifugal Compressors)

ประเภทของเครื่องอัดอากาศ

แบงตามการเพิ่มพลังงานใหกับอากาศได 3 ประเภท

พลังงาน => แรงอัดโดยตรง => อากาศอัด

พลังงาน=> การหมุนของฟนเฟอง => อากาศอัด

พลังงาน=> แรงเหวี่ยงหนีศูนยกลาง => อากาศอัด

สวนใหญจะมีขนาดเล็กใชแหลงกําลังงานตนกําลังจากมอเตอรหรือ

เครื่องยนตขนาดเล็ก โดยมีสายพานเปนอุปกรณถายทอดกําลังงานไปสูเครื่องอัด

เพื่อใหลูกสูบเคลื่อนที่อัดอากาศใหมีปริมาตรเล็กลง และความดันของอากาศ

สูงขึ้น อากาศอัดจะถูกสงไปเก็บไวในถังลมอัดกอนที่จะถูกนําไปใชงานตอไป

เครื่องอัดอากาศแบบลูกสูบ

ทํางานแบบ 2 จังหวะและ

อัดอากาศ 2 ขั้นตอน

Reciprocating Compressors

เครื่องอัดอากาศแบบโรตารี

(Rotary Compressors)• เครื่องอัดอากาศแบบโรตารีเวน (Sliding Vane Compressors)

เครือ่งอัดอากาศแบบโรตารีชนิดนีจ้ะมีแผนกวาด (Vane) เลื่อนเขา และเลือ่น

ออกในแนวรัศมีอยูภายในเครือ่งอัด แผนกวาดจะทําหนาที่กวาดอดัอากาศใหมี

ปริมาตรเล็กลง และทําการสงอากาศอัดออกไปจากเครื่องอัดเพื่อนําไปใชงานตอไป

เครื่องอัดอากาศแบบโรตารีเวน

Liquid Piston Compressors

เครือ่งอัดอากาศแบบโรตารีชนิดนี้ ภายในจะมีของเหลวเปนสารทํางาน

ซึ่งจะทาํหนาที่คลายกบัเปนลูกสูบในการอดัอากาศใหมีความดันสูงขึ้น

เครื่องอัดอากาศแบบโรตารี

ชนิด Liquid piston

Two-Impeller Straight-Lobe

เครือ่งอัดอากาศแบบโรตารีชนิดนี้ จะมีอุปกรณในการอัดอากาศเปนลอน

(Lobe) 2 ชิ้น หมุนดวยความเรว็รอบทีส่ัมพันธกัน เพื่ออัดและสงอากาศอัด

ไปยังระบบตอไป อากาศที่อัดไดในระบบนีจ้ะมีความดันต่ํามาก

เครื่องอัดอากาศแบบโรตารี

ชนิด straight – lobe

เครื่องอัดอากาศแบบสกรู (Screw Compressor)

เครือ่งอัดอากาศแบบโรตารีชนิดนี้ จะมีอุปกรณในการอัดอากาศเปนลักษณะ

โรเตอร หมุนอยูภายในตัวเรือนเครือ่งอัดจํานวน 2 ตัว ตัวหนึ่งจะเปนเกลยีว

ตัวผู (Helical) จะทําหนาที่ในการอดัอากาศ อากาศอดัจะเกดิการเคลื่อนที่

ในลักษณะของการแทนที่อยางตอเนื่อง

เครื่องอัดอากาศแบบสกรู

เครื่องอัดอากาศแบบหมุนเหวี่ยง (Centrifugal Compressors)

เปนเครื่องอัดอากาศที่ทํางานดวยการเปลี่ยนพลังงานจลนเปนความกดดัน

ทิศทางการเคลื่อนที่ของอากาศอัดจะถูกเหวี่ยงตัวออกไปในแนวรัศมี ลมดูด

จะเขาสูตรงแกนกลางของเพลาใบพัดและถูกเหวี่ยงตัวออกไปในแนวรัศมีของ

ใบพัดสูผนังเครื่องอัด และถูกสงไปตามระบบทอ อากาศอัดจะมีความดัน

สูงขึ้นแตความเร็วยังคงที่

เครื่องอัดอากาศแบบเทอรโบ

หรือ แบบหมนุเหวี่ยง

ขอดี-ขอเสียของเครื่องอัดอากาศแตละชนิด

อากาศ/น้ําอากาศ/น้ําอากาศการระบายความรอน

สูงปานกลาง – สูงต่ํา – ปานกลางราคา

สูงกลางกลางมลภาวะทางเสียง

โหลดคงที่โหลดไมสม่ําเสมอโหลดไมสม่ําเสมอลักษณะการใชงาน

0.10 – 0.18 kW/cfm0.15 – 0.25 kW/cfm0.30 – 0.45 kW/cfmประสิทธิภาพ

กลาง – สูง

สม่ําเสมอ

เปลี่ยนแปลงได

ต่ํา – กลาง

สม่ําเสมอ

คอนขางคงที่

ต่ํา – กลาง

ไมสม่ําเสมอ

คอนขางคงที่

อัตราการไหล

ต่ํา – สูง

(1 – 50 bar)

คอนขางคงที่

ต่ํา – กลาง

(1 – 15 bar)

ไมสม่ําเสมอ

ต่ํา – สูง

(1 – 100 bar)

ไมสม่ําเสมอ

แรงดันใชงาน

หมุนเหวี่ยงโรตารี่ลูกสูบรายละเอียด

การประเมินเครื่องอัดอากาศและระบบอากาศอัด

(Assessment of compressor)

การปลอยอากาศอิสระ ประสิทธิภาพของเครื่องอัดอากาศ การประเมินสมรรถนะการสูญเสยีจากการสงจาย

ในระบบอัด

โอกาสในการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ รายการการตรวจสอบ

การปลอยอากาศอสิระ

(Actual flow: Free Air Delivery, FAD)

2 1

o

P P VQP T−

= × [Nm3/min]

= Final pressure after filling [kg/cm2 a]

= Initial pressure after bleeding [kg/cm2 a]

= Atmospheric pressure [kg/cm2 a]

= Storage volume [m3] including receiver, after cooler, and delivery piping

= Time take to build up pressure P2 [min]

2P

1PoP

VT

สมการขางตนนี้จะนํามาใชไดเมื่ออุณหภูมิของอากาศอัดมีคาเทากับอุณหภูมิสภาพแวดลอมนั่น

คือ มีการอัดแบบอุณหภูมิคงที่อยางสมบูรณ ในกรณีของอุณหภูมิที่แทจริงของอากาศอัด ณ จุด

ปลอยมีคา T2 ปริมาณของ FAD ก็จะถูกปรับคาโดยตัวคูณ (273+T1)/(273+T2)

การปลอยอากาศอสิระ

(Free Air Delivery, FAD)

ขั้นตอนการตรวจสอบ

หยุดเครื่องอัดอากาศ

ปดวาลวที่ทางออกของถังอัดอากาศ

เปดตัวระบายน้ําและปลอยน้ําออกจากถังอัดอากาศใหหมดแลวปด

วาลวระบายน้ํา

เดินเครื่องอัดอากาศ

จบัเวลาที่เดินเครื่องจาก P1 (ความดันเริ่มตน) ไปจนถึง P2 ซึ่งเปน

ความดนัใชงาน (ความดันทีถ่ังอัดอากาศ)

Example

Theoretical compressor capacity : 14.75 m3/min @ 7 kg/cm2

Receiver volume : 7.79 m3

Additional hold up volume,

Pipe, Water cooler, etc., : 0.4974 m3

Total volume : 8.322 m3

Initial pressure P1 : 0.5 kg/cm2

Final pressure P2 : 7.03 kg/cm2

Atmospheric pressure Po : 1.026 kg/cm2 a

2 1

o

P P VQP T−

= ×

Compressor output [m3/min]

7.03 0.5 8.322 13.171.026 4.021

−= × = m3/min

10.69% less than theoretical capacity

ประสิทธภิาพของเครื่องอัดอากาศ

(Compressor efficiency)

Specific power consumption (kW/volume flow rate)

Isothermal

Volumetric

Adiabatic

Mechanical

ประสิทธภิาพอณุหภูมิคงที่

(Isothermal efficiency)

1 1 ln [ ]36.7

rIsothermal power P Q kW= × ×

Isothermal efficiency = Actual measured input powerIsothermal power

P1 = Absolute intake pressure [kg/cm2]

Q1 = Free air delivery [m3/hr]

r = Pressure ratio, P2/P1

หมายเหตุ คากําลังอุณหภูมิคงทีจ่ะไมรวมถึงคากําลังทีต่องการใชในการเอาชนะแรงเสียดทาน

ประสิทธภิาพทางปริมาตร

(Volumetric efficiency)

Volumetric efficiency = Free air delivery [m3/min]Compressor displacement

2

4DCompressor displacement L S x nπ= × × × × ×

D = Cylinder bore [m]

L = Cylinder stroke [m]

S = Compressor speed [rpm]

x = 1 for single acting and 2 for double acting cylinders

n = Number of cylinders

การรั่วของอากาศ

(Air leak)

ผลจากการรั่วของอากาศในระบบ• Energy waste: 20 – 30% of output

• Drop in system pressure

• Shorter equipment life

บริเวณที่เกิดการรั่วของอากาศ

• จดุเชือ่มตอ หัวจาย ทอ และอปุกรณ

• ตัวปรับแรงดนั

• ที่ดกัไอน้ําควบแนน วาลวปด-เปดตางๆ

• ขอตอทอ ตัวตดัการจาย และรอยกนัรั่ว

วิธีวัดการรั่วของอากาศอัด

(Leak quantification method)

ขั้นตอนการตรวจสอบ

หยุดเดนิเครื่องอัดอากาศ

เริ่มเดนิเครื่องอัดอากาศจนกระทั่งถึงแรงดันใชงาน และจบัเวลาที่

เครื่องเดินเครื่องจนถึงแรงดันใชงาน

จบัเวลาที่แรงดันตกมาถึงแรงดันที่ตั้งไว

วิธีวัดการรั่วของอากาศอัด

(Leak quantification method)

[ ] 1

1 2

% 100tLeakaget t

= ×+

t1 = on – load time [min]

t2 = off – load time [min] เปอรเซ็นตการรั่วควรนอยกวา 5%

3 1

1 2

[ / min] Q tSystem leakage mt t×

=+

Q = Free Air Delivery (FAD)

( )1 2

1 2

%[ ]

Leakage xt dt HEnergy waste kWh

t t×

=+

วิธีวัดการรั่วของอากาศอัด

(Leak quantification method)

t1 = On – load time [sec]

t2 = Off – load time [sec]

x = On – load power [kW]

d = Off – load power [kW]

H = Operating hour [h]

Compressor capacity (m3/minute) = 35

Cut in pressure, kg/cm2 = 6.8

Cut out pressure, kg/cm2 = 7.5

Load kW drawn = 188 kW

Unload kW drawn = 54 kW

Average ‘Load’ time = 1.5 min

Average ‘Unload’ time = 10.5 min

Example

1

1 2

1.5[%] 100 100 12.5%1.5 10.5

tLeakaget t

= × = × =+ +

3% 0.125 35 4.375 / minSystem leakage Leakage Q m= × = × =

Example

( )1 2

1 2

%[ ]

Leakage xt dt HEnergy waste kWh

t t×

=+

( )( )

0.125 188 1.5 60 54 10.5 60 81.5 10.5 60

70.75 kWh

× × × + × × ×=

+ ×

=

Assume operating time = 8 hours

อัตราการรั่วไหลสําหรับแรงดันคาตางๆ และขนาดของชองทางออก

การรัว่ของอากาศและกําลังที่สูญเสีย (ความดันใชงาน 7 บาร)

คํานวณตนทุนของอากาศอัด [บาท/m3] แลวใชตนทุนนี้ในการคํานวณ

คาใชจายตามปริมาณความสิ้นเปลืองอากาศของอุปกรณที่ทํางานดวยอากาศ

อัด ในจํานวนตนทุนนี้จะมีคาไฟฟาของเครื่องอัดอากาศเปนหลัก

เครื่องอัดอากาศขนาดเล็กจะใชแบบลูกสูบ ขนาดกลางจะใชแบบสกรู และ

ขนาดใหญจะใชแบบเทอรโบเปนหลัก ประเด็นสําคัญในการเลือกใช

เครื่องปรับอากาศคือ จะใชแบบใชน้ํามันหรือไมใชน้ํามัน จํานวนชั้นของการ

อัดอากาศ การสั่นสะเทือน เสียงดัง และวิธีควบคุม capacity เมื่อมีการ

เปลี่ยนแปลงภาระ

การอนุรักษพลังงานระบบอัดอากาศ

ปริมาณอากาศขาออกของเครื่องอัดอากาศโดยทั่วไปจะมีคาประมาณ 7.5-

5.5 ที่กําลังขับจําเพาะ [kW/m3/min] (ANR) กลาวคือเทากับ 0.13-0.18

[m3/min/kW] (ANR) ตอ 7.5 [kW]

หากมีเครื่องอัดอากาศหลายตัว แลวใชวิธีควบคุมจํานวนเครื่องใหสอดคลอง

กับการเปลี่ยนแปลงภาระ จะทําใหเดินเครื่องไดอยางอนุรักษพลังงานใกลเคียงกับ

เสนกราฟกําลังขับในอุดมคติ

สิ่งที่สําคัญคือการอนุรักษพลังงานทางดานผูใชอากาศอัด (การปรับความดัน

ใหเหมาะสม การลดการปลอยอากาศทิ้งและอากาศรั่ว เปนตน)

การอนุรักษพลังงานระบบอัดอากาศ (ตอ)

ซอมแซมรอยรัว่ที่ทําใหเกดิการสูญเสียที่ main source ซึ่งรอยรั่วที่เกดิขึน้จะมีสาเหตดุงันี้

รอยตอและขอตอไมแนน ปดประตูลม (valves) ไมแนน ทอยางชาํรุด

ตดิตัง้ flow meter เพื่อที่จะตรวจสอบปริมาณลมที่ใชในเวลาทํางาน

ระบายน้ําออกอยางสม่ําเสมอ เพราะการกลั่นตัวของความชื้นจะทําใหเกิดน้ําขึ้นในถังซึ่งจะทําใหเกิดสนิม และมีผลตออายกุารใชงานของเครือ่งมือที่ใชลม (pneumatic tool) และมีผลตอการทาํงานของเครื่องมอืดวย

การอนุรักษพลังงานระบบอัดอากาศ (ตอ)

พิจารณาเลือกขนาดทอใหเหมาะสม ถาทอขนาดเล็กเกนิไปจะทําให

แรงดันสูญเสียมาก (pressure drop)

ในระบบที่มีพื้นที่ในการใชงานใหญควรมี Meter วัด Pressure ตดิตัง้อยู

ในแตละสวนหรือในสถานทีจ่ะเกดิการรั่ว (leak) ไดงาย และจะทําให

ควบคุมปริมาณการใชได

ตรวจสอบความตองการแรงดนัของเครื่องมอือุปกรณที่ใชลมใหเหมาะสม

เพื่อหาทางลดความดนัของเครื่องอัดลม เพราะการลดความดันของ

เครือ่งอัดลมจะสามารถลดกําลังงานที่ใชได

การอนุรักษพลังงานระบบอัดอากาศ (ตอ)

เมื่ออุณหภูมิทางดานดูดอากาศเพิ่มขึ้น ความหนาแนนของอากาศจะ

ลดลง ดังนั้นปริมาณของอากาศที่เครื่องดูดเขามาจะลดลงดวย แตใช

พลังงานเทาเดิม หรือกลาวไดวาพลังงานที่ใชสําหรับเครื่องอัดอากาศ

เปนสัดสวนผกผันกับอุณหภูมิทางดานดูดอากาศเชน เมื่ออุณหภูมิดาน

ดูดอากาศจาก 35 oc เปน 25 oc จะลดพลังงานลง 3.3%

การอนุรักษพลังงานระบบอัดอากาศ (ตอ)

1. เครื่องอัดอากาศแบบลูกสูบ เหมาะสมกับการรับโหลดที่ไมสม่ําเสมอไดดี

2. เครื่องอัดอากาศแบบโรตารีส่กรู เหมาะกับการรับโหลดเตม็พิกัดและสม่ําเสมอ

3. เครื่องอัดอากาศแบบหอยโขง เหมาะกับระบบทีค่วามตองการอากาศมาก

การเลือกเครื่องอัดอากาศ

ควรใหทอดดูอากาศจากภายนอก โดยอากาศตองเยน็ แหงและสะอาด

อากาศที่มีอุณหภูมิต่ําลง 3 °C จะทาํใหใชพลังงานลดลง 1%

การอดัอากาศที่แหงจะชวยลดการอดัไอน้ําใหไดความดันเทาอากาศ และ

ความดนัไอน้ําจะควบแนนเปนหยดน้ํา เรียกวา คอนเดนเสท

ความสะอาดของอากาศ หากมีฝุนมากจะทาํใหฟลเตอรอุดตัน มีผลให

อากาศไหลเขานอย อัตราสวนความดันจะสูงขึ้น ทําใหใชพลังงานเพิ่มขึ้น

ทอดูดอากาศ

เนื่องจากอากาศที่ดดูเขาไปมีความชื้นผสมอยูดวย ถาไมมี After Cooler

ความชื้นจะกลัน่ตัวเปนหยดน้ํา การตดิตัง้ After Cooler จะชวยลดปญหา

การเกดิคอนเดนเสทไดมาก

After Cooler

งานบางอยางตองการความชื้นในอากาศนอยหรือมีความสะอาดมาก เชน

อุตสาหกรรมพนสี อุตสาหกรรมอาหารยา Air Dryer จะชวยแยก

ความชื้นและทําใหอากาศมีความแหงมาก

Air Dryer

ถงัเกบ็อากาศจะชวยใหลมในระบบมคีวามสม่ําเสมอ

ถงัเกบ็อากาศยงัชวยลดอุณหภูมิอากาศ ทําใหคอนเดนเสทแยกจากอากาศอัดไดบางสวน

ขนาดของถงัเกบ็อากาศ มีความหมายถงึปริมาณของอากาศอิสระที่สามารถปลอยออกมาใช

ถงัเกบ็อากาศเปนสัดสวนกับปริมาณอากาศตอหนวยเวลา

สําหรับระบบทีม่ีความตองการของอากาศคงที่ ปริมาตรของถงัก็ไมจําเปนตองมีขนาดใหญกวาขนาดของเครือ่งอัดอากาศ

การตดิตัง้ถงัเกบ็อากาศอัดเพิม่ ณ จดุใชงานจะสามารถรองรับความตองการอากาศอัดเพิม่ขึ้นโดยกระทนัหันไดโดยไมตองเพิ่มกําลังของเครือ่งปรับอากาศ

ควรระบายน้ําออกจากถงัเกบ็อากาศอัด

ถังเก็บอากาศ

260.6

5151.5

1.03.00.3

15454.5

10303.0

Variable speed control

[m3/min]

Constant speed

control [m3/min]

ขนาดของเครื่องอัดอากาศปรมิาตรของถงั [m3]

ขนาดของถังเก็บอากาศ

การคาํนวณขนาดถังเก็บอากาศอัดทางทฤษฎี

(สําหรบัระบบที่มีความดันคงที่)

Size of pressure tank o

g o

A Q PP P× ×

=+

A = factor [min] (usually give A = 1.5 for 6 – 10 bar)

Q = capacity of air compressor [m3/min] (FAD)

Pg = pressure gauge [bar]

Po = ambient pressure [bar]

การคาํนวณขนาดถังเก็บอากาศอัดทางทฤษฎี

(สําหรบัระบบที่มีเปลี่ยนแปลง)

Size of pressure tank 3 o

g o

Q PP P× ×

=+

A = factor [min] = 3

Q = capacity of air compressor [m3/min] (FAD)

Pg = pressure gauge [bar]

Po = ambient pressure [bar]

Example

ขนาดของเครื่องอัดอากาศเปน 25 m3/min ทาํงานที่ 7 bar ขนาดของถงัเกบ็อากาศ

ควรเปนเทาใดเพื่อทีจ่ะรับความตองการที่แปรเปลี่ยนได

Q = 25 m3/min

Po = 1.013 bar

Pg + Po = 7 + 1.013 = 8.013 bar

Size of pressure tank 3 o

g o

Q PP P× ×

=+

33 25 1.013 9.58.013

m× ×= =

ความสัมพันธของขนาดถัง เวลา และความดันที่ลดลง

( )o d oP V C tP

× − ×=

ΔSize of pressure tank

( )( )o d o

Size of tank Pt

P V C×Δ

=−

หรือ

Vd = เปนความตองการอากาศของระบบ [m3/min]

t = เวลา [min]

ΔP = ผลตางของความดันในถัง [bar]

Example

จากตัวอยางทีแ่ลว ถาความตองการของระบบในชั่วขณะเพิ่มเปน 30 m3/min โดยที่

ยอมใหความดนัในระบบลดลงหรือไมต่ํากวา 6 bar g ถงัเก็บอากาศนี้สามารถรบัได

นานเทาใด

Size of tank = 9.5 m3

ΔP = 7 – 6 bar = 1 barQ = 25 m3/min

Po = 1.013 bar

Vd = 30 m3/min

( )( )o d o

Size of tank Pt

P V C×Δ

=−

( )9.5 1 1.9 min

1.013 30 25t ×= =

× −

สรุป ถังนี้สามารถรับ Overload เพิ่มจากปกตอิีกจํานวน 5 m3/min ไดนาน 1.9 นาที

กําลังงานทฤษฎีของเครื่องอัดอากาศ

(Power of air compressor in theory)

T1 = inlet temperature [K]

P1 = ambient pressure [bar]

P2 = absolute working pressure [bar]

k = gas constant for air k = 1.4

R = universal gas constant [R = 0.287 kJ/kg.K]

1

1 2

1

[ / ] 11

kk

compkRT PW kJ kgk P

−⎛ ⎞⎛ ⎞⎜ ⎟= − ⎜ ⎟⎜ ⎟− ⎝ ⎠⎜ ⎟

⎝ ⎠

ทอเมนจะตองมีขนาดใหญพอที่จะไมใหความเร็วของอากาศภายใน

สูงเกินไป

ระบบทอเมนตองดแูลใหมีการรั่วของอากาศไมเกิน 5 %

ทอเมน

การใชขนาดทอจายอากาศ

โดยทั่วไปความเร็วของอากาศในทอไมควรเกิน 6 เมตรตอวินาที

การใชความดันของอากาศอัด มักตัง้คาความดันที่สงูและตองลดความดันอีกมากที่จดุใชงาน ทําใหสิ้นเปลืองพลังงาน

ในกรณีที่ความดันของอากาศ แบงออกเปน 2 ระดับ เชน กลุมหนึ่งใชความดัน 6 บาร อีกกลุมหนึ่งใชความดัน 3 บาร การใชงานลักษณะนี้ควรผลิตอากาศแยกระบบ

ในกรณีที่ความดันของอากาศ แบงเปน 2 ระดบั แตในระดับสูงมจีํานวนใชที่นอยกวา ตดิตัง้ Booster เพื่ออัดอากาศเพิ่มขึ้น เชน จากความดัน 7 บาร เปน 11 บาร

ความดันของอากาศอัด

ตรวจสอบเครือ่งตนกาํลังหรือเครื่องอัดลม และอุปกรณ

ตรวจสอบประสิทธิภาพของเครื่องอัดลม

ตรวจสอบตําแหนงของทอนําลมเขา

ตรวจสอบขั้นตอนในการบํารุงรักษา

ตรวจสอบการจดัระบบควบคมุ

ตรวจสอบปริมาณของลมอัดทีจ่ายไปใช

การดูแลรักษา

ตรวจสอบอุณหภูมิ และความดันทีจ่าย

ตรวจสอบการรั่วตางๆ

การรั่วตองมีการปองกัน

ตรวจสอบคาความดันที่จดุใชงาน

ตรวจสอบการใชงานของเครื่องอัดลม

ตรวจสอบลักษณะของการใชงาน

การดูแลรักษา (ตอ)

2. การตอทอยอยออกจากทอลมหลัก

1.การตดิตัง้ทอลมหลัก

การติดตั้งและดูแลรักษา

3. การเดินทอเมื่อมีสิ่งกีดขวาง

4. การตดิตัง้อุปกรณรองรับทอลมหลัก

5. ตําแหนงของกรองอากาศ

6. ตําแหนงของอุปกรณปรับความดนั

7. ตําแหนงของอุปกรณเติมสารหลอลื่น