ณฑ 2555 - silpakorn university · piyarat kraiharn : signal massacre. thesis advisors : assoc....

74
สัญญาณสังหาร โดย นายปยะรัฐ ไกรหาร วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาพพิมพ ภาควิชาภาพพิมพ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2555 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร หอ

Upload: others

Post on 01-Feb-2021

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • สัญญาณสังหาร

    โดย นายปยะรัฐ ไกรหาร

    วิทยานิพนธนีเ้ปนสวนหนึง่ของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาพพิมพ ภาควิชาภาพพิมพ

    บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2555

    ลิขสิทธ์ิของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • สัญญาณสังหาร

    โดย นายปยะรัฐ ไกรหาร

    วิทยานิพนธนีเ้ปนสวนหนึง่ของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาพพิมพ ภาควิชาภาพพิมพ

    บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2555

    ลิขสิทธ์ิของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • SIGNAL MASSACRE

    By Mr. Piyarat Kraiharn

     

    A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree Master of Fine Arts Program in Graphic Arts

    Department of Graphic Arts Graduate School, Silpakorn University

    Academic Year 2012 Copyright of Graduate School, Silpakorn University

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุมัติใหวิทยานิพนธเร่ือง “ สัญญาณสังหาร ” เสนอโดย นายปยะรัฐ ไกรหาร เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาพพิมพ

    ……........................................................... (ผูชวยศาสตราจารย ดร.ปานใจ ธารทัศนวงศ)

    คณบดีบัณฑติวิทยาลัย วันท่ี..........เดอืน.................... พ.ศ...........

    อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ 1. รองศาสตราจารยพิษณุ ศุภนิมิตร 2. รองศาสตราจารยกัญญา เจริญศุภกุล  3. รองศาสตราจารยพัดยศ พุทธเจริญ คณะกรรมการตรวจสอบวทิยานิพนธ .................................................... ประธานกรรมการ (รองศาสตราจารยทินกร กาษรสุวรรณ) ............/......................../.............. .................................................... กรรมการ .................................................... กรรมการ (ศาสตราจารยปรีชา เถาทอง) (รองศาสตราจารยพษิณุ ศุภนิมิตร) ............/......................../.............. ............/......................../.............. .................................................... กรรมการ .................................................... กรรมการ (รองศาสตราจารยกัญญา เจริญศุภกุล) (รองศาสตราจารยพัดยศ พุทธเจริญ) ............/......................../.............. ............/......................../..............

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 51003205 : สาขาวิชาภาพพมิพ คําสําคัญ : สัญญาณสังหาร ปยะรัฐ ไกรหาร : สัญญาณสังหาร. อาจารยท่ีปรึกษาวทิยานิพนธ : รศ.พิษณุ ศุภนมิิตร, รศ.กัญญา เจริญศุภกุล และ รศ.พัดยศ พุทธเจริญ. 63 หนา. การกาวลวงการเบียดเบียนของมนุษย ดวยอํานาจของอกุศลจิตท่ีมีกําลัง ตราบใดท่ียังมีกิเกศ หรือกิเลสยังไมดับ ตราบน้ันก็ยังมีการฆา ควรที่จะไดพิจารณาวา สัตวโลกผูท่ีไดเกิดมามีชีวิตความเปนอยูท่ีดําเนินไปในแตละวันๆนั้น คงไมมีใครอยากจะถูกคนอ่ืนฆา หรือแมกระท่ังการถูกเบียดเบียน ไมถึงกับชีวิต ก็ไมปรารถนา การฆาสัตวท่ีเปนปาณาติบาต ดวยความเจตนา ไมใชข้ึนอยูกับเนื้อสัตว แตอยูในขณะที่บริโภควา เราบริโภคดวยอกุศลจิต ดวยกิเลสหรือดวยจิตท่ีเปนกุศล นี่เปนขอท่ีตางกัน เพราะเหตุวา การฆานั้น แนนอนวาตองเปนอกุศลจึงฆา เปนโทสมูลจิต หมายถึง อกุศลจิตท่ีมีความประทุษรายทางอารมณ ประกอบดวยความไมพอใจ ตองการที่จะทําลายส่ิงนั้น จึงไดฆา ขณะน้ันตองเปนอกุศล ขาพเจาตองการแสดงออกถึงสภาวะทางอารมณ ความรูสึก ของจิตท่ีเปนอกุศลท่ีเต็มไปดวยกิเลสของมนุษย ไมมีวิกฤติทางคุณธรรมใดท่ีใหญหลวงไปกวาการฆาตกรรมหมูส่ิงมีชีวิตผูบริสุทธ์ิผูออนโยนเพ่ือความสุขของเรา ขณะท่ีเรามีทางเลือกอ่ืน ๆ การฆาหมู เชนนี้ เปนอาชญากรรมระดับโลก และพลังงานการฆานี้นําไปสูการสรางสมพลังงานทางลบ ซ่ึงทําใหเกิดความเส่ือมถอยทางสังคมและทําลายความสมดุลของโลกเราไดสรางพลังงานทางลบอยางมากมายดวยการฆาส่ิงมีชีวิตผูออนโยนนับพันลานๆ ตัว และฆาเพื่อนมนุษยของเราดวย ตลอดสหัสวรรษ ไมวาทางตรงหรือทางออม ตอนท่ีผูคนเขาใจถึงความจริงท่ีนาสยดสยอง ท่ีอยูเบ้ืองหลังการทําฟารมสัตวและความบริสุทธ์ิของสัตวทุกตัวท่ีเสียสละชีวิตของพวกเขา มันงายท่ีจะมองเห็นวา การทานเนื้อท่ีตายแลวของสัตว ไมเพียงไมจําเปน มันยังท้ิงรอยนิ้วเปอนเลือดไวกับเราดวย ภาควิชาภาพพิมพ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ลายมือช่ือนักศึกษา........................................ ปการศึกษา 2555 ลายมือช่ืออาจารยท่ีปรึกษาวทิยานิพนธ 1. ....................... 2. ....................... 3. .......................

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 51003205 : MAJOR : GRAPHIC ARTS KEY WORD : SIGNAL MASSACRE PIYARAT KRAIHARN : SIGNAL MASSACRE. THESIS ADVISORS : ASSOC. PROF. PHISUNU SUPHANIMIT, ASSOC. PROF. KANYA CHAROENSUPKUL AND ASSOC. PROF. PHATYOS BUDDHA CHAROEN . 63 pp. To violate human encroachment. With the power of the evil spiritual power. As long as there is passion. No fire or passion. As long as it is still killing. Should be considered. Creatures who were born alive and living each day to the next. No one wants to be killed by someone else. Or even to be persecuted. Not even death did not wish to kill the Panatibat. With the intention. Not dependent on meat. But while that was consumed. We consumed with evil mind. With passion or with a charitable mind. This is different because it's a killer. Of course that is evil and killing. Anger is dissipating. Propagators are defined as mental, emotional maltreatment. The dissatisfaction. Want to destroy it, so it must be killed while the propagators. I would like to express their emotional feelings. Spirit of the propagators. Full of human passion. No moral crisis is largely over the murder an innocent, gentle creatures. For our pleasure. While we have other alternatives to mass killing as a crime globally. And killing power led to the creation of the negative energy. Which caused the decline of society. And the balance of the world, we have created a lot of negative energy. With a gentle creature kill thousands or millions. And killing our fellow human beings throughout the millennium, whether directly or indirectly. When people understand the true horror. Behind the farm animals. The purity of all animals who sacrificed their lives. It is easy to see that Eating the meat of dead animals. I just do not need. It also left us with a bloody finger. Department of Graphic Arts Graduate School, Silpakorn University Student's signature ........................................ Academic Year 2012 Thesis Advisors' signature 1. ....................... 2. ....................... 3. .......................

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  •   ฉ

    กิตติกรรมประกาศ  ขาพเจาขอนอมจิตดวยความเคารพและความกตัญูอยางสูงสุดตอบิดา มารดา สถาบันการศึกษาและคณาจารยทุกทาน ท่ีไดประสิทธ์ิประสาทวิชาความรู อบรมส่ังสอน ช้ีแนะในส่ิงท่ีถูกท่ีควร และเปนประโยชนตอขาพเจา โดยเฉพาะทาน รศ.พิษณุ ศุภนิมิตร รศ.กัญญา เจริญศุภกุล รศ.พัดยศ พุทธเจริญ อาจารยท่ีปรึกษาของขาพเจาท่ีคอยดูแลและแนะนําการสรางสรรคผลงานในชุดวิทยานิพนธจนสําเร็จดวยดีทุกประการ ส่ิงใดท่ีเปนคุณคาและความดีงาม อันเกิดจากวิทยานิพนธนี้ ขอจงมีสวนใหบุคคลท้ังหลายดังกลาวขางตน และผูท่ีสนใจศึกษาไดรับประโยชนโดยท่ัวกัน ส

    ำนกัหอสมุดกลาง

  • สารบัญ หนา 

    บทคัดยอภาษาไทย .................................................................................................................... ง บทคัดยอภาษาอังกฤษ ............................................................................................................... จ กิตติกรรมประกาศ ..................................................................................................................... ฉ สารบัญภาพ .............................................................................................................................. ซ บทท่ี  1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ........................................................................ 1 ความมุงหมายและวัตถุประสงคของการศึกษา ..................................................... 3 ขอบเขตของการศึกษา .......................................................................................... 4 คํานิยามศัพทเฉพาะ .............................................................................................. 4

    2 อิทธิพลและทัศนคติในการสรางสรรค ........................................................................... 6 อิทธิพลท่ีไดรับจากสถานการณในปจจุบันของสังคม .......................................... 6

    อิทธิพลท่ีไดรับจากคําสอนของพระพุทธศาสนา ................................................. 7 อิทธิพลท่ีไดรับจากแนวคิดในทางชีวิตและปรัชญา ............................................. 9

    3 การดําเนินงานและองคประกอบในการสรางสรรค ........................................................ 16 กระบวนการดาํเนินงาน ....................................................................................... 16

    การศึกษาและคนควาขอมูล .................................................................................. 17 รูปแบบการแสดงออกทางทัศนะธาตุ ................................................................... 29 4 กระบวนการสรางสรรคและการวิเคราะหพัฒนาผลงาน ................................................. 36

    กระบวนการสรางสรรคผลงาน ............................................................................ 36 5 สรุปผลในการทําวิทยานิพนธ ......................................................................................... 59 รายการอางอิง ......................................................................................................................... 60 ประวัติผูวจิัย ........................................................................................................................... 61  

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • สารบัญภาพ ภาพที ่ หนา 1 ภาพฟารมเล้ียงสุกรขนาดใหญกอนท่ีจะถูกสงตอใหโรงฆาสัตว ....................... 7   2 ภาพพุทธประวัติคําสอนในเร่ืองของการทําผิดศีล 5 การฆาสัตวตัดชีวิต ........... 8 3 ภาพโปสเตอรท่ีมีใจความวา “ถาโรงงานฆาสัตวเปนผนังกระจก ทุกคน จะเปนมังสวิรัติ” ...................................................................................... 10 4 ภาพขาวรานอาหาร Fast Foodท่ีถูกกลุมตอตานการทารุณสัตวโจมตี ................ 10 5 ภาพกลุมรณรงคการทารุณกรรมสัตวท่ัวโลก ..................................................... 11 6 ภาพ Figure with meat 1954, The Art Institute of Chicago, Harriott A Fox Fund ................................................................................ 12 7 ภาพ Carcase of meat and bird of prey .............................................................. 12 8 ภาพ Study for a Crucifixion, 1962, detail of the right panel ............................ 13 9 ภาพ This Little Piggy Went to Market, This Little Piggy Stayed at Home, 1996 ......................................................................................................... 14 10 ภาพ “A Thousand Years.” 1990. ...................................................................... 15 11 ภาพขอมูลสถานท่ีโรงฆาสัตว ............................................................................ 18 12 ภาพขอมูลสถานท่ีโรงฆาสัตว ............................................................................ 19 13 ภาพขอมูลลักษณะคอกของสุกรท่ีถูกสงมาเตรียมรอชําแหละ ........................... 19 14 ภาพขอมูลการทําเบอรเพื่อนับจํานวนของฟารมแตละท่ีวาสงมาให โรงฆาสัตวจํานวนกี่ตัว ............................................................................ 20 15 ภาพขอมูลอุปกรณในการใชฆาสุกร .................................................................. 20 16 ภาพขอมูลอุปกรณในการใชฆาสุกร .................................................................. 21 17 ภาพขอมูลลักษณะการฆาสุกรอยางทารุณ ......................................................... 21 18 ภาพขอมูลลักษณะการฆาสุกรอยางทารุณ ......................................................... 22 19 ภาพขอมูลลักษณะการฆาสุกรอยางทารุณ ......................................................... 22 20 ภาพขอมูลลักษณะการฆาสุกรอยางทารุณ .......................................................... 23 21 ภาพขอมูลลักษณะการชําแหละเน้ือ ................................................................... 23 22 ภาพขอมูลลักษณะการชําแหละเน้ือ ................................................................... 24 23 ภาพรางSketch ................................................................................................... 24 24 ภาพรางSketch ................................................................................................... 25

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • ภาพท่ี หนา 25 ภาพรางSketch .......................................................................................................... 26 26 ภาพรางSketch .......................................................................................................... 26

    27 ภาพรางSketch ........................................................................................................... 27 28 ภาพตัวอยางงานจัดวาง .............................................................................................. 28 29 ภาพตัวอยางงานจัดวาง .............................................................................................. 28 30 ภาพตัวอยางงานจัดวาง .............................................................................................. 29 31 ภาพรูปทรงของสัตวหยิบตัดทอนบางสวนออก ......................................................... 30 32 ภาพรูปทรง2มิติท่ีเปนระนาบซอนอยูในรูปทรง3มิติ ................................................. 30 33 ภาพรูปทรงช้ินสวนของสัตวแสดงถึงเร่ืองราวในงาน ............................................... 31 34 ภาพรูปทรงจากส่ิงกอสรางจําลอง ............................................................................. 31 35 ภาพรูปทรงจากวัตถุจําลอง ........................................................................................ 32 36 ภาพโทนสีแดง ........................................................................................................... 33 37 ภาพโทนสีแดง ........................................................................................................... 33 38 ภาพแสดงถึงพื้นท่ีวาง ................................................................................................ 34 39 ภาพแสดงถึงพื้นท่ีวาง ................................................................................................ 34 40 ภาพแสดงลักษณะของบรรยากาศ .............................................................................. 35 41 ภาพรางSketch ........................................................................................................... 37 42 ภาพรางSketch ........................................................................................................... 37 43 ภาพรางจาก Model Sketch ........................................................................................ 38 44 ภาพรางจาก Model Sketch ........................................................................................ 38 45 ภาพข้ันตอนการถอดพิมพขาหมู ................................................................................ 39 46 ภาพข้ันตอนการถอดพิมพขาหมู ................................................................................ 40 47 ภาพข้ันตอนการถอดพิมพขาหมู ................................................................................ 40 48 ภาพข้ันตอนการถอดพิมพขาหมู ................................................................................ 40 49 ภาพข้ันตอนการถอดพิมพขาหมู ................................................................................ 41 50 ภาพข้ันตอนการถอดพิมพขาหมู ................................................................................ 41 51 ภาพโมแบบหุนบอลลูน ............................................................................................. 41 52 ภาพหุนบอลลูนหมูบอลลูนเปาลม ............................................................................. 42 53 ภาพช้ินสวนหนังหลอแข็งแขวนหอย ........................................................................ 42

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • ภาพท่ี หนา 54 ภาพช้ินสวนหนังหลอแข็งแขวนหอย ........................................................................ 42 55 ภาพช้ินสวนหนังหลอแข็งแขวนหอย ........................................................................ 43 56 ภาพช้ินสวนงานภาพพิมพหลอแข็งแขวนหอย .......................................................... 43 57 ภาพช้ินสวนงานภาพพิมพหลอแข็งแขวนหอย .......................................................... 43 58 ภาพช้ินสวนงานภาพพิมพหลอแข็งแขวนหอย .......................................................... 44 59 ภาพช้ินสวนงานภาพพิมพหลอแข็งแขวนหอย .......................................................... 44 60 ภาพช้ินสวนงานภาพพิมพหลอแข็งแขวนหอย .......................................................... 44 61 ภาพช้ินสวนงานภาพพิมพหลอแข็งแขวนหอย .......................................................... 45 62 ภาพ Timer Switch ตั้งเวลาเปดปดเคร่ืองพรอมกับRing Blower

    เพื่อเปาลมอัตโนมัติ .......................................................................................... 45 63 ภาพผลงานระยะท่ี 1 กอนวทิยานิพนธ ปการศึกษา 2551 .......................................... 47 64 ภาพผลงานระยะท่ี 1 กอนวทิยานิพนธ ปการศึกษา 2551 .......................................... 48 65 ภาพผลงานระยะท่ี 1 กอนวทิยานิพนธ ปการศึกษา 2551 .......................................... 49 66 ภาพผลงานระยะท่ี 1 กอนวทิยานิพนธ ปการศึกษา 2551 .......................................... 50 67 ภาพผลงานระยะท่ี 1 กอนวทิยานิพนธ ปการศึกษา 2551 .......................................... 51 68 ภาพผลงานระยะท่ี 2 กอนวทิยานิพนธ ปการศึกษา 2552 .......................................... 53 69 ภาพผลงานระยะท่ี 2 กอนวทิยานิพนธ ปการศึกษา 2552 .......................................... 54 70 ภาพผลงานระยะท่ี 3 กอนวทิยานิพนธ ปการศึกษา 2553 .......................................... 56 71 ภาพผลชุดวิทยานิพนธ ปการศึกษา 2555 ................................................................... 58

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 1

     

     

    บทท่ี 1

    ความเปนมาและความสําคญัของปญหา

    คําท่ีหลายคนมักพูดกันวา "ชีวิตทุกชีวิต มีคุณคา มีความสําคัญ" นั้นจริงแคไหนก็ข้ึนอยูกับชวงของเวลา สมัยกอนมนุษยลาเพื่อใหเผาพันธุอยูรอด และตอมาเม่ือรูจักกับระบบเกษตรกรรมเรามีการเล้ียงสัตวเพื่อดํารงชีพโดยการพ่ึงพาอาศัยกันโดยใชทรัพยากรที่ไดมาอยางรูคุณคา แตเม่ือความเจริญกาวหนามาถึง ยุคอุตสาหกรรมทําใหระบบการใชชีวิตอยางรีบเรงเปล่ียนไป ทําใหมนุษยดํารงชีพจากคาแรงและมองคุณคาของชีวิตเปนการซ้ือขาย แมกระท่ังเร่ืองของการบริโภค หลายคนคงเกิดความสงสัยเกี่ยวกับส่ิงท่ีไมเคยรูวา เนื้อสุกรท้ังหลายท่ีเรานํามาบริโภคนั้นมีท่ีมาท่ีไปอยางไรจึงหาสาเหตุของความอยากรู ทําใหขาพเจาไดศึกษาหาขอมูลวาเพราะอะไรคนบางเช้ือชาติถึงไมรับประทานมัน ในคําสอนของอิสลามตามคัมภีรอัลกุรอาน บทท่ี 2 อัล-บะเกาะเราะฮฺ โองการท่ี : 168นั้นไดกลาวไววา การหามกินหมูเปนเพียงสวนหน่ึงของคําสอนอิสลาม และอิสลามยังมีขอหามอยางอ่ืนเชนกันมิใชหามแตในเร่ืองของการกินหมู “มนุษยเอยจงบริโภคส่ิงท่ีอนุมัติและท่ีดีจากท่ีมีอยูในแผนดิน และอยาปฏิบัติตามรอยเทาของมาร แทจริงมันเปนศัตรูท่ีเปดเผยสําหรับสูเจา” สวนคําถามท่ีวา "ทําไมมุสลิมไมกินหมู" ก็ดวยเหตุผลสําคัญท่ีมาจากความศรัทธา ยึดม่ันในหลักคําสอนของพระผูเปนเจา ส่ิงท่ีพระเจาหามก็ยอมเปนประโยชนแกมนุษยอยางไมตองสงสัย ถึงแมจะไมรูเหตุผลก็ตาม แตยิ่งนานวัน มนุษยก็สามารถคนพบเหตุผลไดดวยกระบวนการทางวิทยาศาสตร ในความเปนจริงเร่ืองของ การกินหมู ในปจจุบันทางการแพทยพบวา เนื้อหมูมีไขมันมากกวาเนื้อสัตวชนิดอ่ืน เนื้อสัตวทุกชนิดมีพยาธิตัวเล็กๆท่ีตามนุษยมองไมเห็นอยูมากนอยตางกันไป แตในเนื้อหมูมีพยาธิบางชนิดซ่ึงมีเกาะท่ีเกิดจากไขมันในเนื้อหมูหอหุมมันอยู ซ่ึงความรอนจากการหุงตมไมสามารถทําลายมันได พยาธิเหลานี้จะเขาไปฝงอยูในรางกายมนุษยหลังจากท่ีกินเนื้อหมูเขาไป และรอฟกตัวออกมาทําอันตรายรางกายมนุษย เชน ประสาทตาและประสาทสมอง1 เม่ือ

                                                                

    1 คณะเวชศาสตรเขตรอน มหาวิทยาลัยมหิดล. พยาธิตัวจ๊ีด , เขาถึงเม่ือ 1 มกราคม 2556

    เขาถึงไดจาก http://www.tm.mahidol.ac.th/tmho/p_gnathostoma.htm

     

    1

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 2

     

     

    คนกินอาหารที่ประกอบจากเน้ือหมู ท่ีมีตัวออนพยาธิ ตัวออนก็จะโตเปนพยาธิตัวแกในลําไสเล็กของคน ไขพยาธิก็จะโตเปนระยะตัวออนเม็ดสาคูในรางกายคน โดยไปอยูตามอวัยวะตางๆ เชน สมอง ตา หัวใจ ปอด และกลามเนื้อ ทําใหเกิดอาการรุนแรง ภาวะท่ีมีตัวออนเม็ดสาคู Cysticercus ในรางกาย เรียกวา ซิสติเซอรโคซิส (Cysticercosis) เม่ืออยูในอวัยวะท่ีสําคัญๆ เชน ในสมองและไขสันหลัง (Neurocysticercosis) บางทีรุนแรงอาจถึงตายได2 อีกท้ังยังมีผลกระทบตอการเจ็บปวยและโรคภัยตางๆของมนุษยเกิดข้ึน มันจึงนําพาใหขาพเจาไปในสถานท่ีแหงหนึ่งท่ีเรียกวา “โรงฆาสัตว” ขาพเจาเลือกโรงสุกร เพราะเปนเนื้อสัตวท่ีคนนิยมบริโภคมากท่ีสุด ผูผลิตและผูบริโภคเนื้อสุกรอันดับ1ของโลกก็คือประเทศจีน สวนประเทศไทยน้ันติดอันดับ8ของโลกขอมูลป2551 ประเทศไทยผลิตสุกรจํานวนท้ังหมด 17.40 ลานตัว คิดเปนเนื้อสุกร 1.300 ลานตันตอป ขอมูลจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ กรมปศุสัตว(สํานักสงเสริมและพัฒนาการปศุสัตว)3 ดวยยุคสมัยท่ีมีความเจริญกาวหนาอยางรวดเร็วขาพเจามองภาพวาส่ิงท่ีจะไดเห็นตองเต็มไปดวยเทคโนโลยีท่ีทันสมัย หากแตกาวแรกท่ีสัมผัสไดกลับไดยิน เสียงหวีดรองและกล่ินคาวเลือด พื้นท่ีเต็มไปดวยน้ํารอนและล่ิมเลือดเปนกอน เต็มพื้นจนตองย่ําเดินไปเร่ือยๆ กล่ินสาปในโรงฆาสัตวเหมือนมีซากศพเนาอยูหลายวัน เสียงรองท่ีดังและแหลมชวนใหขนลุก สุกรท่ีโดนเชือดสุมกองเต็มไปหมด เสียงคอนปอนดท่ีทุบไปบริเวณกะโหลกของสุกรมันบีบหัวใจและกดดันมาก มีดท่ีมีแตสนิมเหล็กแทงเขาไปท่ีรางสุกรอยางตอเนื่องสลับไปกับเสียงหวีดรอง ซ่ึงภาพตอนนั้นไมตางจากโรงประหารที่มนุษยสรางข้ึน แตส่ิงท่ีโดนสังหารไมใชมนุษยแคนั้นเอง ภาพในใจท่ีเคยคิดไวหายไปหมด ท่ีเห็นตอหนามันคือความสลดและหดหูใจ ขาพเจาไดแตมองสุกรท่ีนอนหายใจอยางแผวเบาเพราะโดนสูบเลือดท้ังตัวไปใสไวในถัง สายตาท่ีมองมาเหมือนอยากจะบอกวาชวยเราดวยท้ังๆท่ีรูวายังไงก็ตองตาย ขาพเจาอยากจะหัวเราะในความยิ่งใหญของมนุษยท่ีไมตระหนักเอาใจใสถึงความรูสึกของส่ิงมีชีวิตอ่ืนๆเลย ถึงยังไงมนุษยก็ตองไดรับผลในการกระทํา เพราะการท่ีใชความ

                                                                

    2 เอ้ือมพร รัตนชาญพิชัย. ตัวตืดหมู และ ตวัตืดวัว , เขาถึงเม่ือ 1 มกราคม 2556 เขาถึงได

    จาก http://www.med.cmu.ac.th/dept/parasite/public/Taeniasis.htm

    3สํานักสงเสริมและพัฒนาการปศุสัตว. สถานการณการตลาดและการคาสินคาปศุสัตว

    และสัตวปกของโลกป 2550, เขาถึงเม่ือ 1 มกราคม 2556 เขาถึงไดจาก http://www.dld.go.th

    /transfer/th1/index.php?option=com_content&view=article&id=117:-2550-

    &catid=69:2012-03-09-03-06-11&Itemid=152

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 3

     

     

    รุนแรงในการฆาจะทําใหสัตวตกใจและเกิดทําใหเลือดเปนพิษตกคางไปยังเนื้อสัตวท่ีรับประทานส่ิงท่ีกอใหเกิดโรคตางๆ ถาเปรียบคงจะเหมือนกงกรรมกงเกวียน ความมุงหมายและวัตถุประสงคของการศึกษา ขาพเจาตองการแสดงออกถึงอารมณสะเทือนใจและสลดหดหูอยางรุนแรงกับส่ิงท่ีเราบริโภคกันอยู เบ้ืองหลังท่ีไมเคยรู จุดเล็กๆในสังคม ถึง ความจริงท่ีนาหดหูใจ ความเอาแตไดของมนุษยเรา ท่ีไมไดทําเพียงเพื่อใหตนเองอยูรอดไดในธรรมชาติ แตยังทําเพื่อใหตนสะดวกสบายมากข้ึน และในทายท่ีสุดส่ิงมีชีวิตทุกชนิดบนโลกตองไดรับผลกระทบจากการเสียสมดุลของโลก ซ่ึงถูกทําลายไปเพียงเพราะการกระทําของเผาพันธุมนุษยเพียงเผาพันธุเดียว แบบน้ีแลวเรายังจะกลาพูดสรรเสริญตัวเองไดอีกหรือ วามนุษยนั้นประเสริฐกวาสัตวอ่ืนใดในโลก มนุษยเราประเมินราคาส่ิงมีชีวิตชนิดอ่ืนและซ้ือขายกันตามทองตลาด แตไมชอบกับการท่ีมีใครมาประเมินราคาของตนเอง การศึกษาและวิเคราะหความเปนจริงเหลานี้ แลวถายทอดเปนผลงานศิลปะ แสดงออกถึงการจัดการสภาพแวดลอมเพื่อใหผูเสพศิลปะของขาพเจาไดอยูในอารมณรวม ท่ีขาพเจาเคยรูสึกจริงดวยลักษณะของ ศิลปะภาพพิมพ การจัดวางประกอบดวย ผลงานรูปทรงของหมู ท่ีมีลักษณะการพิมพซํ้า มีแสดงออกดวยความรูสึกที่รุนแรงดวย ภาพ เสียง การจัดวาง ในเชิงสัญลักษณ และอารมณรวม สมมติฐานของการศึกษา ขาพเจาตองการจะสะทอนแงมุม ใหเห็นถึงความหมายของคําวาชีวิตมากข้ึน “ชีวิต” อาจไมไดหมายถึงมนุษยเพียงอยางเดียวเทานั้น มนุษยอยางเรากลัวความตาย สัตวก็เหมือนกัน รับรูความทุกข ความเจ็บปวด ไดเหมือนกัน ทุกชีวิตรักตนเองท้ังนั้น และหมูเปนสัตวท่ีคนนิยมนํามาบริโภคเปนจํานวนมาก เปนสัตวท่ีถูกเลือกใหเล้ียงไวเปนอาหาร แตดวยกรรมวิธีการเล้ียงท่ีเอาเปรียบและมีระบบการฆาท่ีทารุณ มันจึงสงผลกระทบยอนกลับไปหาตัวมนุษยเอง หลักการทางวิทยาศาสตร บอกถึงการผลิตเนื้อสัตวท่ีเปนพิษจากอาการตกใจหรือหวาดกลัวจากการฆา แตสําหรับคนท่ีกินเนื้อสัตวนั้นควรจะตองตระหนักวา สัตวท่ีตกใจกลัวสุดขีดเพราะการถูกฆาจะมีสารพิษในรางกายเกิดข้ึนโดยทันที เชน การหล่ังฮอรโมนอะดรีนาลีน (Adrenaline) และกรดยูริค (Uric Acid)ซ่ึงขับออกมาดวยความหวาดกลัวหรือไดรับความเจ็บปวดอยางรุนแรง ซ่ึงภาวะความเปนพิษเหลานี้จะกระจายไปท่ัวรางของสัตวและตกคางอยูตามเสนเลือดและเนื้อเยื่อ และเม่ือยอยสลายแลวจะมีความเปนกรดสูงในรางกายมนุษย4 ซ่ึงมีผลเสีย ท่ีตามมาคือโรคภัยไขเจ็บและอายุท่ี                                                            

    4 นิธิยา รัตนาปนนท และพิมพเพ็ญ พรเฉลิมพงศ. การเปลี่ยนแปลงของเนื้อสัตวหลังการฆา,

    เขาถึงเม่ือ 1 มกราคม 2556 เขาถึงไดจาก http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/3132

     

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 4

     

     

    ส้ันลงจากการกินเนื้อสัตว เราตองหันมาทบทวนตัวเองจากการเบียดเบียนส่ิงมีชีวิต หรือหันมาทานมังสวิรัติ บางเพื่อประโยชนของตัวเองและปรับสมดุลของโลกใบนี้ใหดีข้ึน ขอบเขตของการศึกษา ขาพเจาแสดงออกของศิลปะในแนวศิลปะจัดวาง เพื่อใหผูชมไดอยูในบรรยากาศและอารมณรวมท่ีรุนแรงโหดรายเชนเดียวกัน โดยมีวิธีการภาพพิมพมาเปนสวนรวม และนําเสนอสภาวะทางอารมณความรุนแรงและกดดันจากการฆา การเอาชีวิตรอด ดวยส่ืออ่ืนๆนอกไปจากงานทัศนศิลป เชน เสียงหวีดรอง ส่ิงท่ีขาพเจาไดไปพบเห็นมาและเช่ือวาถาใครไดเห็นภาพจะรูสึกสะเทือนอารมณท่ีไดสัมผัส การแสดงออกทางภาพพิมพโดยการจัดวาง 3มิติ เลนกับพื้นท่ีหองท้ังดานบนและลาง สลับกับมีเสียงประกอบ ในงานจะมีคอกท่ีมีเศษช้ินสวนและเศษซากอยูภายใน แสดงใหเห็นถึงชีวิตท่ีถูกกักขัง จะออกมาไดก็มีแตความตายเทานั้น มีรูปทรงหมูท่ีอยูภายในคอกท่ีถูกจัดวางใหนอนนิ่ง ท่ีหุบและขยายตัวไดเหมือนกําลังหายใจอยูชาๆ สลับกับ เสียงลมหายใจ และมีสวนท่ีเปนภาพพิมพลงบนแผนหนังแขวนกับตะขอเหล็กแหลมลอยอยูบนคอกใหเห็นถึงชีวิตท่ีถูกมนุษยสังเวยเร่ือยๆตอไปไมมีวันจบ เปนการแสดงออกในเชิงสัญลักษณ (Symbolism) และอารมณความรูสึก (Emotional Quality) ดวยการควบคุมใหผูชมไดอยูรวมกันในศิลปะส่ือประสมแบบ3มิติ คํานิยามศัพทเฉพาะ 1. Provocative Material วัสดุท่ีใชในการยั่วยุอารมณ ปลุกเรา และกระตุนความรูสึก 2. Surrealism ลัทธิเหนือจริงเปนแนวทางจิตรกรรมยุโรปในชวงทศวรรษท่ี 1920 3. Symbolism ลัทธิสัญลักษณนิยม เนนการส่ือเร่ืองราวความรูสึกผานสัญลักษณ

    4. Inspiration แรงบันดาลใจท่ีเกิดจากแรงกระตุนภายนอก และภายในกอให แนวความคิด

    5. Feeling ปฏิกิริยาท่ีเกิดข้ึนจากการรับรูหรือการสัมผัส 6. Visual Elements ทัศนธาตุ ธาตุท่ีสัมผัสรับรูไดดวยการเห็น 7. Perspective ทัศนียวิทยา ทฤษฎีการสรางภาพท่ีกอใหเกิดมิติลวงตา 8. Composition องคประกอบศิลป 9. Space พื้นที่วาง 10. Ambient sounds เสียงลอมรอบบรรยากาศ 11. Installation Art ศิลปะการจัดวางท่ีมีท่ีตั้งเฉพาะจุด, เปนงานสามมิติ ท่ีออก แบบเพื่อท่ีจะแปรสภาพการรับรูของส่ิงแวดลอม 12. The hanging การจัดการในรูปแบบของการแขวนหอยจากท่ีสูง

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 5

     

     

    13. Kinetic Art ศิลปะ ท่ีประกอบไปดวยช้ินสวน ท่ีมีการเคล่ือนไหวมีความ ซับซอนและเปนเอกลักษณ การเคล่ือนไหวของช้ินสวนอาจ กําหนดใหเคล่ือนไหว ดวย พลังงานลม มอเตอร พลังงาน แมเหล็ก หรือ พลังงานจากผูชม 14. Texture พื้นผิว 15. Emotional Quality การแสดงออกถึงอารมณและความรูสึก

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 6

     

    บทท่ี 2

    อิทธิพลและทัศนคติในการสรางสรรค แรงบันดาลใจในการสรางสรรคผลงานศิลปะในสวนของขาพเจานั้น มันเกิดจากความใครรู ความสงสัย และความจริง มนุษยเราพยายามหลีกหนีความจริง กลัวและไมกลาท่ีจะเผชิญกับมันซ่ึงๆหนา เพราะกลัววาบทบาทในการดําเนินชีวิตจะถูกเปล่ียนไปในทางที่ลําบากขึ้น มนุษยจึงตักตวงผลประโยชนจากทุกส่ิงทุกอยางท่ีมีอยูบนโลกโดยไมสนใจถึงผลกระทบ ท้ิงรอยแหงปญหาอันยิ่งใหญไวเบ้ืองหลัง หากมนุษยมองโลกนี้เปนเพียงวัตถุดิบ วิกฤตอันยิ่งใหญตองตามมาอยางแนนอน ขาพเจาพบวาเบ้ืองหลังกอนจะมาเปนเนื้อสัตวใหมนุษยบริโภค มีการทารุณกรรมอยางโหดเหี้ยม จนทําใหเราลืมไปแลววาเราเคยอยูรวมกับส่ิงมีชีวิตบนโลกและพ่ึงพากัน และน่ีก็คือ หนึ่งในแรงกระตุนสําคัญท่ีทําใหขาพเจานําเสนอประเด็นแงมุมอันเลวรายท่ีแฝงเรนอยูในสังคม ในผลงานสรางสรรคชุดนี้ อิทธิพลท่ีไดรับจากสถานการณในปจจุบันของสังคม การเล้ียงสัตวเพื่อเปนอาหารนั้นสรางความยุงเหยิงใหกับโลก ส่ิงแวดลอม ทรัพยากร และสุขภาพของเรานั้นเส่ือมลง และแมวาเราสวนใหญจะไมไดเปนผูฆาสัตวโดยตรง มนุษยไดสรางนิสัยท่ีไดรับการสนับสนุนจากสังคมใหทานเนื้อสัตวโดยไมตระหนัก ใหถองแทวาสัตวนั้นไดรับความทารุณอะไรมาบาง เพราะวามันคือเราเอง ท่ีสรางเสียงรองโอดครวญจากความเจ็บปวด และความกลัว ของพวกเขา ดังนั้น ถาคุณตัดสินใจท่ีจะยางสัตวท่ีนาเอ็นดูอีกคร้ัง จําไววาคุณกําลังทานเน้ือของสัตว ท่ีเปรียบเสมือนเนื้อของสัตวอันเปนท่ีรักของคุณ แตส่ิงท่ีแตกตางกันก็คือ สัตวตัวนี้ ไดถูกทําทารุณกรรมมากอนหนานี้เพียงไมนาน สัตวสวนใหญถูกเล้ียงในโรงงานฟารมซ่ึงเปนระบบท่ีใหผลผลิต ในปริมาณมากท่ีสุดแตเสียคาใชจายนอยท่ีสุด ผลท่ีไดก็คือ สัตวเหลานั้นจะไดรับเคราะหกรรม อันแสนสาหัส ท้ังทางจิตใจ และทางรางกายในทุก ๆ วินาทีของชีวิต พวกเขาถูกจับใหเบียดเสียดกัน ในท่ีขังสกปรกแคบ ๆ ไมมีหนาตาง และไมเคยอยูกับครอบครัว เดินเลนบนพ้ืนดิน หรือทําอะไรไดตามธรรมชาติ ไมเคยไดสัมผัสถึงแสงอาทิตยท่ีแผนหลังของพวกเขา หรือสูดอากาศบริสุทธ์ิ จนกวาจะถึงวันท่ีพวกเขาถูกขนข้ึนบนรถบรรทุกเพื่อไปโรงฆาท่ีกระจายอยูท่ัวไปทุกหัวระแหงของประเทศ

     

    6

    สำนกัหอ

    สมุดกลาง

  • 7

     

    สัตวในอุตสาหกรรมฟารมไมมีกฎหมายปกปองจากความโหดรายทารุณ ซ่ึงจะเปน ส่ิงผิดกฎหมายถาเกิดข้ึนกับสัตวเล้ียงตามบาน เชนการถูกละเลย การดัดแปลงพันธุกรรม การใชยาท่ีสงผลใหเกิดความเจ็บปวดเร้ือรัง การพิการ และการฆาอยางโหดเหี้ยม เราบริโภคซากศพ ของส่ิงมีชีวิต ท่ีมีความอยาก ความรูสึก มีอวัยวะเหมือน ๆ กับเรา และน่ีก็เปนเหตุผลหน่ึงท่ีทําใหขาพเจาเกิดความคิดในเร่ืองของการสรางสรรคงานศิลปะ ท่ีจะส่ือถึงความรูสึก กดดัน หดหู สะเทือนอารมณ และเกิดความสมเพชในตัวของมนุษย ท่ีหวังเพียงแตกอบโกยทรัพยากรโดยไมคิดถึงเร่ืองศีลธรรม มาเปนประเด็นในการสรางสรรคผลงาน ภาพท่ี 1 ภาพฟารมเล้ียงสุกรขนาดใหญกอนท่ีจะถูกสงตอใหโรงฆาสัตว ท่ีมา : สูวรรณ ีกอย แสงสีห. ปญหาส่ิงแวดลอมท่ีสงผลกระทบภายนอกท่ีเกิดจากการเล้ียงสุกร, เขาถึง

    เม่ือ 1 มกราคม 2556 เขาถึงไดจาก http://www.learners.in.th/blogs/posts/316705

    อิทธิพลท่ีไดรับจากคําสอนของพระพุทธศาสนา สัตวจํานวนมหาศาลตองถูกเล้ียงในสถานท่ีท่ีแออัด ถูกปฏิบัติอยางไมมีคุณคาโดยเจาของธุรกิจและผูท่ีเกี่ยวของ รอวันหนึ่งเม่ือเนื้อของมันจะใหคาตอบแทนสูงสุดแกผูลงทุน พวกมันก็จะถูกกวาดตอนไปเชือด นี่คือปาณาติบาต ศีลขอท่ี1ท่ีชาวพุทธยึดถือปฏิบัติมาตลอด ท่ีทําอยางเปนระบบ เปนวงจร และอยางปราศจากความสํานึกทางศีลธรรมใดใด ส่ิงท่ีพุทธศาสนามหายานเรียกรองชาวพุทธก็คือ ทําไมเมตตาธรรมของเราจงไมควรท่ีจะเอื้อมาถึงสัตวเหลานี้ พวกมันไมมีอํานาจตอรองใดใด ท่ีจะชวยตัวเองใหพนไปจากนรกบนดินนี้ นอกจากจะมีมนุษยผูมีจิตใจประเสริฐมาชวยเหลือ5                                                             

    5 สมภาร พรมทา, กิน : มุมมองของพุทธศาสนา , พิมพคร้ังท่ี 2 (กรุงเทพฯ: โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2547), 75. 

  • 8

     

    ศีล 5 นี้ ในภาษาบาลีเดิมเรียกวา "มนุษยธรรม" (ธรรมท่ีทําใหคนใหเปนมนุษย) เพราะผูปฏิบัติตามศีล 5 ได ยอมเปนคนคุณภาพท่ีสามารถยกชีวิตใหพัฒนาข้ึนมาอีกระดับหนึ่งจากปุถุชนท่ัวไป ท่ียังคงใชชีวิตโดยการชักจูงของสัญชาตญาณเปนสวนใหญ สวนผูปฏิบัติตามศีล 5 แลวนั้น จะกาวเขาสูการเปนมนุษยผูพรอมท่ีจะรวมเปนหุนสวนแหงสังคมอารยะ ท่ีสามารถจะนําพาท้ังชีวิตของตน ของคนอ่ืน และของสังคมโดยรวม ไปสูความรมเย็นเปนสุขอยางเกื้อกูลกันในวงกวางท่ัวท้ังโลก ศีลคือขอหามของชาวพุทธตามคําสอนของพระพุทธเจา แตการกระทําของชาวพุทธกับขัดแยงกลับคําสอนของศาสดา “ความจริงแลว พระพุทธเจาทานไมไดฉันอะไร ไมไดเปนอะไรในจิตของทานไมมีอะไรเปนอะไรอีกแลว” ในท่ีนี้หมายถึงทานไมใหติดในรสชาติของอาหาร ไมใหติดอยูในทุกส่ิงทุกอยาง ใหรูจักประมาณในการบริโภค ไมใหบริโภคดวยตัณหาหรือความอยาก คนท่ีกินเนื้อ ก็อยาเห็นแกปากทอง อยาเห็นแกความเอร็ดอรอยจนเกินไป อยาถึงกับฆาเขากิน ภาพท่ี 2 ภาพพุทธประวัติคําสอนในเร่ืองของการทําผิดศีล 5 การฆาสัตวตัดชีวิต

    ท่ีมา : ภาชนะธรรม. เปรตภูมิ, เขาถึงเม่ือ 1 มกราคม 2556 เขาถึงไดจาก http://www.phrasiarn.com /?topic=151.0 หลักความเช่ือของชาวพุทธในศาสนา ในคําสอนของพระพุทธองค ในเร่ืองของบาปจากการทําผิดศีล ฆาสัตวตัดชีวิต ท่ีทําใหตกนรกและตองเกิดเปนเปรต มีนกกานกแรงรุมตะกรุม จิกเจาะเนื้อหนังอยูในอากาศ รองเจ็บปวดทรมาน ในคัมภีรเนมิราชชาดก ไดแต นรกสัญโชตินรก คือ นรกอาวุธเหล็กแดง พวกนายนิรยบาลผูกคอพวกสัตวนรกดวยเชือกเหล็กแดงอันลุกเปนเปลวไฟ ถูกแรเนื้อเฉือน

  • 9

     

    หนัง แทงดวยหอกตีดวยคอนเหล็กและโยนลงไปในนรกท่ีเต็มไปดวยน้ําแสบเค็ม นี้คือ กุศโลบายของพุทธศาสนาท่ีจะสอนใหคนกลัวบาปและไมใหทําผิดศีล 5 อิทธิพลท่ีไดรับจากแนวคิดในทางชีวิตและปรัชญา การกินก็เปนกิจกรรมหลักของชีวิตมนุษยท่ีเกี่ยวของกับประเด็นดานจริยธรรมที่ลึกซ้ึงหลายอยาง เราตองกินชีวิตของผูอ่ืน ไมกินก็ไมไดเพราะธรรมชาติสรางมาใหเปนอยางนั้น ชีวิตท่ีถูกบังคับมาตั้งแตเกิดเชนนี้ควรถือวาเปนบาปหรือไม เราจะมีเสรีภาพท่ีจะหลุดพนไปจากการถูกบงการดวยกระบวนการทางชีววิทยาเชนนี้ไดไหม ปรัชญาฝร่ังนั้นขาพเจาไมเห็นเขาสนใจท่ีจะถกกันดวยเรื่องท่ีใกลตัวมากๆอยางการกินชีวิตผูอ่ืน (หมายถึงเนื้อสัตว) เทาใดนัก จะมีบางก็ในหมูนักจริยศาสตรสมัยใหมไมกี่คนและวิธีการถกเถียงนั้นก็ยังใชเหตุผลเปนพื้นดังเชนท่ีเคยทํามากันตลอดประวัติศาสตรปรัชญาตะวันตก ระบบอุตสาหกรรมใดๆก็ตามแต เวลาเปนส่ิงท่ีมีคา คนงานในโรงงานตองทํางานอยางเปนเคร่ืองจักร คนฆาสัตวในโรงฆาสัตวก็เชนกัน เขาถูกนายจางกําหนดแลววาภายในหน่ึงช่ัวโมงจะตองเชือดใหไดกี่ตัว สัตวเหลานั้นจึงมีความหมายสําหรับคนเหลานี้แคเพียงวัตถุ พวกเขาไมมีเวลามาดูตัวนั้นตายหรือยัง เขามีหนาท่ีตองเชือดคอมันตามภาระงานท่ีถูกวางไวแลววาภายในหนึ่งช่ัวโมงจะตองเชือดใหไดกี่ตัว เพราะการฆาสัตวสมัยนี้เกิดภายในระบบ ทุนนิยมที่ทุกอยางตองรีบรอนและเปนเงินเปนทองหมด รัฐก็ไมมีกําลังคนพอท่ีจะควบคุม ขาพเจาเห็นขาวคนตะวันตกประทวงราน อาหารฟาสตฟูดดังๆท่ีเรารูจักกันดีวาฆาสัตวปอนรานอาหารตัวเองอยางโหดรายทารุณแลวก็อดคิดไมไดวา ปจจัยสําคัญอันหนึ่งท่ีทําใหเกิดทารุณกรรมแกสัตวเหลานี้ก็มาจากการที่เราชอบไปอุดหนุนรานอาหารเหลานี้นั่นเอง ยิ่งคนกินมาก รานก็ตองเรงผลิตใหทัน ท่ีถูกเล้ียงและฆาสงรานก็ตอง “รีบเรงตาย” มากยิ่งข้ึน แลวส่ิงท่ีขาพเจารูสึกอยูในใจกอนหนานั้นวามนุษยเราชางเอาเปรียบสัตวอ่ืนเสียเหลือเกินก็ประดังเขามาสูงสุด เม่ือเกิดการระบาดของไขหวัดนกในบานเราที่ทําใหรัฐบาลส่ังฆาไกท่ัวท้ังประเทศ ภาพไกเปนๆท่ีถูกจับยัดลงกระสอบมัดปากโยนข้ึนรถบรรทุกแลวเอาไปฝงท้ังเปนนั้นชวนใหเราหดหูใจเปนท่ีสุด ท้ังหลายท้ังปวงท่ีขาพเจาเลามาน้ีคือส่ิงท่ีเกิดข้ึนและกําลังเปนอยูและจะเปนตอไปอีกนานเทานาน จิตใจของมนุษยนั้นขาพเจาเช่ือวาพัฒนาไปมากตามวันเวลา เดิมนั้นเราอาจถูกสรางมาใหเปนผูลาเหมือนกับสัตวบางชนิดเชนเสือ แมวันนี้เราจะยังเปนผูลาท่ีไดปรับเปล่ียนรูปแบบการลาใหดูโหดรายนอยลง แตเราก็มีจิตใจท่ีพัฒนาไปถึงระดับท่ีพรอมจะรูสึกวาตอไปนี้เราจะตองถามคําถามกันตรงๆเกี่ยวกับส่ิงท่ีเราเปนอยู ไมวาส่ิงนั้นจะเกิดจากการบงการของธรรมชาติหรือไมก็ตาม พระพุทธศาสนาตามความรูสึกของขาพเจานั้นมีจุดแข็งตรงท่ีเปนศาสนาท่ีสอนใหเราตั้งคําถามเกี่ยวกับรากเหงาของเราเองชนิดถึงรากถึงโคน

  • 10

     

    ภาพท่ี 3 ภาพโปสเตอรท่ีมีใจความวา “ถาโรงงานฆาสัตวเปนผนังกระจก ทุกคนจะเปนมังสวิรัติ” ท่ีมา : Loud for animals, Slaughterhouses have NO glass walls! , accessed 1 January 2013.

    Available from http://www.piaberrend.org/slaughterhouse-what-you-are-not-supposed-to-see/

    ภาพท่ี 4 ภาพขาวรานอาหาร Fast Foodท่ีถูกกลุมตอตานการทารุณสัตวโจมตี ท่ีมา : Geofrey Giuliano, Ronald McDonald Turns Vegetarian, accessed 1 January 2013. Available

    from http://www.thenazareneway.com/vegetarian/ronald_mcdonald_is_now_a_vegetar.htm

  • 11

     

    ภาพท่ี 5 ภาพกลุมรณรงคการทารุณกรรมสัตวท่ัวโลก ท่ีมา : Steve Barnes, PETA stages meat-is-murder stunt in Times Square, accessed 1 January 2013. Available from http://blog.timesunion.com/tablehopping/16857/peta-stages-meat-is-murder-stunt-in-times-square/

    อิทธิพลท่ีไดรับจากศิลปกรรม 1 . ฟรานซิส เบคอน ( Francis Bacon ) ศิลปนชาวอังกฤษ เกิดวันท่ี 28 ตุลาคม ค.ศ.1909 เขาเคยเขารวมกลุม Surrealism ในอังกฤษอยูระยะหนึ่ง ผลงานของ Bacon แสดงถึงความรุนแรงซ่ึงอารมณภายใน ความกดดันอารมณในตัวตนออกมา โดยแสดงผานทัศนธาตุ เสน สี ท่ีรุนแรง และรูปทรงท่ีพิกลพิการ บิดเบ้ียว อยูภายใตบรรยากาศท่ีลึกลับ หลอกหลอน แฝงเรนซ้ึงสารท่ีเกี่ยวกับแรงปรารถนาทางเพศ ขาพเจาไดอิทธิพลจาก Bacon ในสวนของแนวทัศนธาตุวาดวย เสน สี รูปทรง ท่ีสะทอนใหรูสึกถึงอารมณความรุนแรง ความกดดัน เปนองคประกอบหลักท่ีขาพเจานําเขามาปรับใช

  • 12

     

    ภาพท่ี 6 ภาพ Figure with meat 1954, The Art Institute of Chicago, Harriott A Fox Fund ท่ีมา : Francis Bacon , Selected Paintings, accessed 1 January 2013. Available from http://www.francis-bacon.com/paintings/?c=54-55 ภาพท่ี 7 ภาพ Carcase of meat and bird of prey ท่ีมา : Francis Bacon , StudioPuki, accessed 1 January 2013. Available from http://studiopuki. myblog.arts.ac.uk/2012/10/10/man-animal-and-meat-francis-bacon/francis-bacon-carcase-of-meat-and-bird-of-prey/

  • 13

     

    ภาพท่ี 8 ภาพ Study for a Crucifixion, 1962, detail of the right panel ท่ีมา : Francis Bacon, Francis Bacon at the Met, accessed 1 January 2013. Available from http://counterlightsrantsandblather1.blogspot.com/2009/06/i-am-optimist-about-nothing-francis.html 2. Damien Hirst เปนศิลปนชาวอังกฤษคนหนึ่งท่ีตกเปนขาวอ้ือฉาว และถูกโจษจันไปทั่ววงการศิลปะ วามีทัศนะคติท่ีผิดแปลกแหวกแนวในการสรางสรรคผลงานเกินกวาท่ีมนุษยธรรมดาจะรับไดและนิยมปฏิบัติกัน เพียงเพราะเขานิยมชมชอบในส่ิงท่ีตรงกันขามกับความรูสึกของมนุษยสวนใหญในสังคม ดวยเหตุท่ีเขามีพื้นฐานทางความคิดท่ีวา มนุษยทุกคนยอมมีเกิดแกเจ็บตายเปนเร่ืองธรรมดา โดยท่ีทุกคนรูวาสักวันหนึ่งตนเองตองตายและไมมีใครหนีความตายพน แตกระน้ันแลวคนเราทุกคนก็ยังไมอยากตาย และแมวาคนสวนใหญจะมองความตายวาเปนส่ิงท่ีนากลัวแตสําหรับเขาแลวความตายเปนส่ิงท่ีเราใจและสวยงามนามอง ท้ังนี้ยังรวมไปถึงส่ิงปฏิกูลตางๆ หรือส่ิงท่ีคนเรารังเกรียจและไมอยากเห็น อยางเชน แมลงวัน เลือด หรือซากศพ โดยสวนตัวแลวเขาเช่ือวาศิลปะจะไมมีความหมายอะไรเลย หากขาดส่ิงท่ีเปนสัจธรรมในชีวิตคน หรือพูดงายๆ วาความจริงท่ีโหดรายและไมนามองอยางงานของเขา โดยท่ัวไปแลว Damien Hirst ถนัดในการใชวัสดุประเภท Provocative Material หรือส่ิงท่ีเปนปฏิกูล สารเคมีอันตราย ซากสัตวประเภทตางๆท้ังท่ีพบไดท่ัวไปและหายาก เขาตองการจะใหวัสดุเหลานี้มีผลตอความรูสึกของผูพบเห็น เอกลักษณท่ีเห็นไดชัดอยางหน่ึงก็คือการดองซากส่ิงมีชีวิตตางๆ

  • 14

     

    ในสารฟอรมาลดีไฮด รวมท้ังนิยมผาส่ิงตางๆ ออกเปนคร่ึง ราวกับวาตองการจะช้ีใหเห็นถึงแกนแทของส่ิงตางๆ ผลงานของเขานอกจากจะเดนในเร่ืองกระชากความรูสึกของผูชมไดดีแลว ยังถือวามีสาระแงคิดดีๆแทรกอยูอีกดวย ถึงแมวางานของเขาคอนขางจะนากลัว แตเขาก็รูตัวดีวาเขากําลังทําอะไร และเพื่ออะไร Damien Hirst เคยกลาวไววา “แมเขากําลังเลนกับส่ิงท่ีคนท่ัวไปไมอยากยุงเกี่ยวดวย แตส่ิงเหลานี้มันทําใหเขารูสึกวาตัวเองมีคุณคา เพราะเขากําลังจะแนะนําสัจจะธรรมแหงชีวิตใหกับผูท่ีเสพศิลปะดวยวิธีการแบบเฉพาะตัวในแนววิทยาศาสตร เขาเช่ือวาคนเราตองการความรูสึกวาตัวเองนั้นอยูหางไกลจากส่ิงท่ีเรารูสึกกลัวและไมชอบ โดยเฉพาะความตายตัวอยางเชน ถาเราเห็นแมลงวันตายเปนเบือเพราะบินเขาไปเลนแสงไฟในเคร่ืองดักยุง คนท่ัวไปมักไมคิดวามันคือชีวิตหนึ่งหรือหลายชีวิตท่ีตายไป อาจจะเปนเพราะเราคิดวามันไมใชความตายและเราไมกลัวมัน แตหากมีใครสักคนกําลังจะตาย แลวบังเอิญคุณไปเห็นเขา ส่ิงท่ีคุณกลัวก็คือความรูสึก รับรูวามีความตายอยูตรงนั้น จิตใตสํานึกกําลังบอกเราวาเรากําลังกลัวส่ิงนี้ สิ่งท่ีเรียกวาความตายเพราะเราไมอยากตาย ประโยคหลังนี้เปนจริงหรือ ท่ีเราไมอยากตาย ความตายควรเปนเร่ืองของความอยาก-ไมอยาก หรือควรจะเปนเร่ืองธรรมชาติกันแน ภาพท่ี 9 ภาพ This Little Piggy Went to Market, This Little Piggy Stayed at Home, 1996 ท่ีมา : Damien Hirst, This Little Piggy Went to Market, accessed 1 January 2013. Available from http://www.damienhirst.com/this-little-piggy-went-to-mark

  • 15

     

    ภาพท่ี 10 ภาพ “A Thousand Years.” 1990. ท่ีมา : Damien Hirst, A Thousand Years, accessed 1 January 2013. Available from http://michelleanstar.wordpress.com/2012/09/15/review-damien-hirst/

  • 16

     

    บทท่ี 3

    การดําเนินงานและองคประกอบในการสรางสรรค การดําเนินงานสรางสรรควิทยานิพนธนี้ เร่ิมตนจากการที่ขาพเจาตองการจะสรางใหเห็นถึงภาพและบรรยากาศของโรงฆาสัตว วิธีการท่ีมีมาต้ังแตเนิ่นนานหลายยุคหลายสมัย จนบัดนี้ก็ยังเชนเดิมอยู เปนวิธีการท่ีมีการพัฒนาท่ีชาเกินไป ดวยความท่ีมนุษยเราไมไดใสใจในปญหาดานนี้มากนัก รูปแบบการฆาและความทารุณจึงยังไมถูกเปล่ียน วิธีการทุบดวยทอเหล็กลงไปบนทายทอย เพื่อใหเกิดอาการชักและเคล่ือนไหวไมไดราวกับคนท่ีเปนอัมพาต การใชมีดปลายแหลมท่ีเต็มไปดวยสนิมเขรอะ แทงเขาไปท่ีคอใหทะลุตัดผานเสนเลือดใหญ จนเลือดอุนๆท่ีอยูในรางกายไหลออกจากรางจนหมดท้ังตัว แมสติจะยังไมหลับใหลแตรางกายก็โรยรา เลือดอุนๆท่ีไหลออกมาไดเททับไปท้ังพ้ืนและผนัง เปนภาพท่ีขาพเจาเห็นซํ้าไปซํ้ามา มันมากจนขาพเจาไมอยากจะคํานวณถึงส่ิงท่ีเกิดข้ึนตอช่ัวโมง เปนวัน หรือเปนป ขาพเจาจึงนําเอาภาพเหตุการณนี้ มาแสดงออกใหเห็นถึงอารมณของการทารุณกรรมออกมาใหมากท่ีสุด โดยเนื้อหาสวนใหญในตัวผลงานจะไดรับอิทธิพลมาจากคอกหมูในโรงฆาสัตว ซ่ึงขาพเจาไดมีการสะทอนถึงสภาพของการเอาชีวิตรอด และการกระทําอันโหดเหี้ยมจากฝมือมนุษย ดวยเคร่ืองมือท่ีใชในการฆาตางๆนาๆ และรองรอยของคราบความโหดรายท่ีขาพเจาไดไปสํารวจขอมูลมาจากสถานท่ีจริง ซ่ึงมีความนาสนใจท้ังเร่ืองลักษณะของบรรยากาศ สภาพแวดลอมและการกระทําท่ีเปนรองรอยของความเจ็บปวดและทรมานอยางแสนสาหัส กระบวนการดําเนินงาน ระยะท่ี 1 การศึกษาคนควาหาขอมูลเบ้ืองตนจากสถานที่จริง ระยะท่ี 2 กระบวนการความคิดสรางสรรค ภาพราง เพื่อสรุปหาผลทางความคิดใหออกมาเปนรูปธรรม ระยะท่ี 3 การดําเนินงานตามข้ันตอนของกระบวนการสรางสรรคผลงาน ดวยเทคนิคส่ือผสมในรูปแบบของงาน 2 มิติ ผสมเขากับงานในรูปแบบ 3 มิติ ระยะท่ี 4 วิเคราะหและพัฒนาผลงาน (รายละเอียดในบทที่4)

     

    16

  • 17

     

    ระยะท่ี 1 เปนข้ันตอนของการศึกษาคนควาหาขอมูลเบ้ืองตน ในชวงนี้จะเปนชวงท่ีจะตองมีการคนควา รวบรวมขอมูล จากสถานท่ีจริง อินเตอรเน็ต ประสานกับจินตนาการสวนตัวนํามาสรางสรรค ภาพราง ดัดแปลงแกไขจนเกิดเปนท่ีพอใจ แลวจึงนําไปขยายเปนภาพผลงานจริงเปนลําดับ ตอไป การศึกษาและคนควาขอมูล การหาขอมูลในการสรางสรรคภาพรางนั้นคอนขางมีหลากหลายแนวทาง เชน ทางส่ือส่ิงพิมพต