นาย สมนึก จรูญจิตเสถียร · 2020. 8. 6. · a thesis...

19
ยร รรม รม รรม รรม 2542 ISBN 974-332-834-3 TiçrkûO‘

Upload: others

Post on 29-Jul-2021

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: นาย สมนึก จรูญจิตเสถียร · 2020. 8. 6. · A Thesis Submitted in Partial Fulfilment of the Requirements for the Degree of Master of Engineering

การศึกษาการสั่นสะเทือนจากแรงไม่สมดุลของเครื่องจักรต่อโครงสร้างอาคาร

นาย สมนึก จรูญจิตเสถียร

วิทยานิพนธ์นีเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล

บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2542

ISBN 974-332-834-3ลิฃสิทธ์ของบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

TiçrkûO‘า

Page 2: นาย สมนึก จรูญจิตเสถียร · 2020. 8. 6. · A Thesis Submitted in Partial Fulfilment of the Requirements for the Degree of Master of Engineering

A STUDY OF VIBRATION INDUCED BY MACHINE UNBALANCED FORCEON A BUILDING STRUCTURE

MR. SOMNUK JAROONJITSATHIAN

A Thesis Submitted in Partial Fulfilment of the Requirements for the Degree of Master of Engineering in Mechanical Engineering

Department of Mechanical Engineering Graduate School

Chulalongkom University Academic Year 1999ISBN 974-332-834-3

Page 3: นาย สมนึก จรูญจิตเสถียร · 2020. 8. 6. · A Thesis Submitted in Partial Fulfilment of the Requirements for the Degree of Master of Engineering

หัวข้อวิทยานิพนธ์

โดยภาควิชาอาจารย์ที่ปรึกษา

การศึกษาการสั่นสะเทือนจากแรงไม่สมดุลของเครื่องจักรต่อโครงสร้างอาคารนาย สมนึก จรูญจิตเสถียรวิศวกรรมเครื่องกลรองศาสตราจารย์ ดร. วิทยา ยงเจริญ

บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อนุมัติให้นับวิทยานิพนธ์ฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของ การศึกษาตามหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต

(รองศาสตราจารย์ ดร.สุชาดา ถีระบันทน์)คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์

/ / . I '1,ประธานกรรมการ

( รองศาสตราจารย์ ดร. อิทธิพล ปานงาม )

„ ^ , / อาจารย์ที่ปรึกษา( รองศาสตราจารย์ ดร^วิทยา ยงเจริญ )

■ ■ _____ ____ _______ _ กรรมการ( รองศาสตราจารย์ ดร. สมศักด ไชยะภินันท์ )

‘เ ^( ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จิ,'ระสักด เมฆอัมพรพงษ์ )

กรรมการ

Page 4: นาย สมนึก จรูญจิตเสถียร · 2020. 8. 6. · A Thesis Submitted in Partial Fulfilment of the Requirements for the Degree of Master of Engineering

ส ม น ึก จ ร ูญ จ ิต เส ถ ีย ร : ก า ร ศ ึก ษ า ก า ร ส ั่น ส ะ เท ือ น จ า ก แ ร ง ไ ม ่ส ม ด ุล ข อ ง เค ร ือ ง จ ัก ร ต ่อ โ ค ร ง ส ร ้า ง อ า ค า ร (A

S T U D Y OF V IB R A T IO N IN D U C E D BY M A C H IN E U N B A L A N C E D FORCE ON A B U IL D IN G

STR U C TU R E) อ .ท ี่ป ร ึก ษ า :ร ศ .ด ร .ว ิท ย า ย ง เจ ร ิญ ; 181ห น ้า . ISBN 974-332-834-3.

ง า น ว ิจ ัย น ี้ศ ึก ษ า ก า ร ส ั่น ส ะ เท ือ น จ า ก แ ร ง ไ ม ่ส ม ด ุล ข อ ง เค ร ื่อ ง จ ัก ร ต ่อ โ ค ร ง ส ร ้า ง อ า ค า ร ป ร ะ ก อ บ ด ้ว ย 3 ส ่ว น

ส ่ว น แ ร ก ไ ด ้แ ก ่ก า ร พ ัฒ น า โ ป ร แ ก ร ม ค อ ม พ ิว เต อ ร ์ช ื่อ TFR A M E ส ำ ห ร ับ ว ิเค ร า ะ ห ์ค ว า ม ถ ี่ธ ร ร ม ช า ต ิแ ล ะ ผ ล ต อ บ ส น อ ง ส ูง ส ุด

ข อ ่ง โ ค ร ง ส ร ้า ง อ า ค า ร จ า ก แ ร ง ไ ม ่ส ม ด ุล ข อ ง เค ร ื่อ ง จ ัก ร ด ้ว ย โป ร แ ก ร ม ภ า ษ า ฟ อ ร ์แ ท ร น ส ่ว น ท ี่ส อ ง ใ ช ้โ ป ร แ ก ร ม T F R A M E

ศ ึก ษ า ก า ร ส ั่น ส ะ เท ือ น ข อ ง โ ค ร ง ส ร ้า ง อ า ค า ร 3 ช ั้น ท ี่ส ม ม ต ิข ึ้น เป ็น อ า ค า ร ท ำ จ า ก ว ัส ด ุค อ น ก ร ีต เส ร ิม เห ล ็ก ข น า ด ส ูง 12 เม ตร

ก ว ้าง 4 เม ต ร แ ล ะ ล ึก 4 เม ต ร ส ่ว น ส ูด ท ้า ย ท ำ ก า ร ท ค ล อ ง เป ร ีย บ เท ีย บ ผ ล ก า ร ค ำ น ว ณ ก ับ โ ป ร แ ก ร ม T F R A M E โ ด ย จ ำ ล อ ง

โ ค ร ง ส ร ้า ง 3 ช ั้น 2 เส า ท ำ จ า ก เห ล ็ก ม ีข น า ด ส ูง 1.80 เมตร แ ล ะ ก ว ้า ง 0.60 เม ตร ก ับ เค ร ื่อ ง จ ัก ร ไ ม ่ส ม ด ุล เป ็น พ ัด ล ม ด ูด อ า ก า ศ

ค ว า ม เร ็ว ร อ บ ป ร ะ ม า ณ 1300ร อ บ ต ่อ น า ท ี

โ ป ร แ ก ร ม ค อ ม พ ิว เต อ ร ์ T F R A M E ใ ช ้1ใ น ก า ร ว ิเค ร า ะ ห ์ป ีญ ห า ก า ร ส ั่น ส ะ เท ือ น ข อ ง โ ค ร ง ส ร ้า ง อ า ค า ร ท ี่

ป ร ะ ม า ณ เป ็น โ ค ร ง ข ่า ย แ บ บ 2 ม ิต ิ (Plane frame structure) อ า ศ ัย ร ะ เบ ีย บ ว ิธ ีท า ง ไ ฟ ไ น ต ์เอ ล ิเม น ต ์ป ร ะ ม า ณ ส ่ว น ป ร ะ ก อ บ

ห ล ัก ข อ ง โ ค ร ง ส ร ้า ง เป ็น ค า น แ บ บ อ อ ย เล อ ร ์ใ น 2 ม ิต ิ เพ ื่อ ส ร ้า ง ร ะ บ บ ส ม ก า ร เช ิง อ น ุพ ัน ธ ์แ ท น ก า ร ส ั่น ส ะ เท ือ น ข อ ง โ ค ร ง

ส ร ้า ง อ า ค า ร จ า ก น ัน ใ ช ้ว ิธ ีก า ร ค อ น เว น ช ัน (Conventional method) ร ว ม ร ะ บ บ ข อ ง ต ัว แ ย ก ก า ร ส ั่น ส ะ เท ือ น เข ้า ไ ป ใ น ร ะ บ บ

ส ม ก า ร ข อ ง โ ค ร ง ส ร ้า ง อ า ค า ร แ ล ้ว ห า ค ำ ต อ บ โ ด ย ใ ช ้ว ิธ ีก า ร แ ป ล ง ด ้ว ย เม ต ร ิก ซ ์โ ม แ ค ล (M odal analysis)

ก า ร ศ ึก ษ า ก า ร ส ั่น ส ะ เท ือ น ข อ ง โ ค ร ง ส ร ้า ง อ า ค า ร 3 ช ั้น โ ด ย ใช ้โป ร แ ก ร ม T F R A M E ซ ึ่ง แ บ ่ง โ ค ร ง ส ร ้า ง อ อ ก

เป ็น 39 เอ ล ิเม น ต ์ ข น าด 117 ร ะ ด ับ ช ั้น ค ว า ม เส ร ี (Degree o f freedoms) พ บ ว ่า โ ค ร ง ส ร ้า ง อ า ค า ร 3 ช ั้น ท ี่ส ม ม ต ิข ึ้น น ั้น ม ีค ่า

ค ว า ม ถ ี่ธ ร ร ม ช า ต ิข อ ง ก า ร ส ั่น ใ น 3 โห ม ด แ ร ก เป ็น ก า ร ส ั่น ท า ง ด ้า น ข ้า ง ข อ ง อ า ค า ร แ ล ะ 3 โ ห ม ด ล ัด ม า เป ็น ก า ร ส ั่น แ บ บ

ส ม ม า ต ร ใ น แ น ว ด ิ่ง ส ่ว น ก า ร เพ ิ่ม น ำ ห พ ัก เข ้า ไ ป ใ น โ ค ร ง ส ร ้า ง น ัน จ ะ ท ำ ใ ห ้ค ว า ม ถ ี่ธ ร ร ม ช า ต ิข อ ง อ า ค า ร ล ด ต ํ่า ล ง ใ น ท ุก ๆ

โ ห ม ด โ ด ย เฉ พ า ะ ใ น ต ำ แ ห น ่ง ท ี่โ ห ม ด เช พ ม ีข น า ด ก า ร ข จ ัด ส ูง ด ้ว ย แ ล ้ว ค ่า ค ว า ม ถ ี่ธ ร ร ม ช า ต ิโ ห ม ด น ั้น จ ะ ล ด ต ํ่า ล ง ม า ก

ส ำ ห ร ับ ก า ร ต ิด ต ั้ง เค ร ื่อ ง จ ัก ร ไ ม ่ส ม ด ุล ใ น โ ค ร ง ส ร ้า ง โ ด ย ต ร ง ผ ล ต อ บ ส น อ ง ส ูง ส ุด ข อ ง โ ค ร ง ส ร ้า ง จ ะ ข ึ้น อ ย ู่ก ับ ข น า ด แ ล ะ

ค ว า ม ถ ี่ข อ ง แ ร ง ไ ม ่ส ม ด ุล ข อ ง เค ร ื่อ ง จ ัก ร ค ว า ม ถ ี่ธ ร ร ม ช า ต ิแ ล ะ โ ห ม ด เช พ ข อ ง โ ค ร ง ส ร ้า ง อ า ค า ร แ ล ะ ต ำ แ ห น ่ง ท ี่ต ิด ต ั้ง

เค ร ื่อ ง จ ัก ร โ ด ย ผ ล ต อ บ ส น อ ง ส ูง ส ุด ข อ ง อ า ค า ร ใ น พ ิก ัด ต ่า ง ๆ จ ะ ม ีล ัก ษ ณ ะ ใ ก ล ้เค ีย ง ก ับ โ ห ม ด เช พ ข อ ง อ า ค า ร ใ น โ ห ม ด ท ี่ม ี

ค ว า ม ถ ี่ใ ก ล ้เค ีย ง ก ับ ค ว า ม ถ ี่ข อ ง แ ร ง ไ ม ่ส ม ด ุล แ ล ะ ก า ร ต ิด ต ั้ง เค ร ื่อ ง จ ัก ร ใ น ต ำ แ ห น ่ง ท ี่โ ห ม ด เช พ ณ ค ว า ม ถ ี่น ั้น ม ีค ่า ส ูง ด ้ว ย

แ ล ้ว จ ะ ท ำ ใ ห ้ผ ล ต อ บ ส น อ ง ส ูง ส ุด ใ น ท ุก ๆ พ ิก ัด ม ีค ่า ส ูง ข ึ้น ด ้ว ย ส ่ว น ก า ร ต ิด ต ั้ง เค ร ื่อ ง จ ัก ร บ น ช ุด แ ย ก ก า ร ส ั่น ส ะ เท ือ น ใ น

อ า ค า ร เป ็น ผ ล ใ ห ้ค ว า ม ถ ี่ธ ร ร ม ช า ต ิข อ ง อ า ค า ร ใ น ท ุก ๆ โ ห ม ด เป ล ี่ย น แ ป ล ง ไ ป ข ึ้น อ ย ู่ก ับ ค ่า ค ว า ม ถ ี่ธ ร ร ม ช า ต ิแ ล ะ ม ว ล ข อ ง

ช ุด แ ย ก ก า ร ส ั่น ส ะ เท ือ น โ ด ย เฉ พ า ะ เม ื่อ ค ว า ม ถ ี่ธ ร ร ม ช า ต ิข อ ง ช ุด แ ย ก ก า ร ส ั่น ส ะ เท ือ น ใ ก ล ้เค ีย ง ก ับ ค ่า ค ว า ม ถ ี่ธ ร ร ม ช า ต ิ

โ ห ม ด ใ ด โ ห ม ด ห น ึ่ง ข อ ง อ า ค า ร แ ล ้ว จ ะ ท ำ ใ ห ้ค ว า ม ถ ี่ธ ร ร ม ช า ต ิข อ ง โ ค ร ง ส ร ้า ง อ า ค า ร ร ว ม เค ร ื่อ ง จ ัก ร เป ล ี่ย น แ ป ล ง ไ ป ม า ก

แ น ว โ น ้ม ข อ ง ผ ล ต อ บ ส น อ ง ส ูง ส ุด เห ม ือ น ก ับ ก ร ณ ีท ี่ต ิด ต ั้ง เค ร ื่อ ง จ ัก ร โ ด ย ต ร ง แ ต ่จ ะ ม ีข น า ด น ้อ ย ก ว ่า ย ก เว ้น ใน ก ร ณ ีท ี่ค ว า ม

ถ ี่ธ ร ร ม ช า ต ิข อ ง ช ุด แ ย ก ก า ร ส ั่น ส ะ เท ือ น ม ีค ่า ใ ก ล ้เค ีย ง ก ับ ค ว า ม ถ ี่ธ ร ร ม ช า ต ิข อ ง อ า ค า ร ใ น โ ห ม ด ท ี่ม ีท ิศ ท า ง ก า ร ส ั่น ท า ง เด ีย ว

ก ัน จ ะ ท ำ ใ ห ้ผ ล ต อ บ ส น อ ง ส ูง ส ุด ข อ ง อ า ค า ร ม ีค ่า ส ูง ส ำ ห ร ับ ก า ร เพ ิ่ม ม ว ล ข อ ง เค ร ื่อ ง จ ัก ร บ น ช ุด แ ย ก ก า ร ส ั่น ส ะ เท ือ น น ั้น จ ะ

ช ่ว ย ล ด ข น า ด ข อ ง ผ ล ต อ บ ส น อ ง ส ูง ส ุด ไ ด ้

ภ า ค ว ิช า ..........วป .ี0 1 1 ม.เ ค ร ื่อ ง ก ล ...................................... ล า ย ม ือ ช อ น ิส ัต .............. ^ . ^ . . . . . ^ ร.........ส า ข า ว ิช า ..........ว.ิ?.?.โ1.'? .!!ใ โ ค.ว .ิว วิ กิ ล ...................................... ล า ย ม ือ ช อ อ า จ า ร ย ์ท ี่ป ร ึก ษ า ...........โ ^ ะ ^ . : . . . ^ : / . ,.C ^'.,

ป ีก า ร ศ ึก ษ า ................................. .2 5 4 2 ล า ย ม ือ ช อ อ า จ า ร ย ์ท ี่ป ร ึก ษ า ร ่ว ม ............................................

Page 5: นาย สมนึก จรูญจิตเสถียร · 2020. 8. 6. · A Thesis Submitted in Partial Fulfilment of the Requirements for the Degree of Master of Engineering

3 9 7 า 9 5 3 4 2 ^ ^ 01 ̂ M E C H A N IC A L E N G IN E E R IN G K D: S T R U C T U R A L V I B R A T I O N / V I B R A T IO N M E A S U R E M E N T / V I B R A T IO N

IS O L A T IO N / F I N I T E E L E M E N T M E TH O D

SO M N U K J A R O O N J IT S A T H IA N ะ A S T U D Y O F V I B R A T I O N IN D U C E D BY

M A C H IN E U N B A L A N C E D F O R C E ON A B U I L D I N G S T R U C T U R E . T H E S IS

A D V IS O R ะ A S S O C . P R O F . W IT T H A Y A Y O N G C H A R E O N , P h . D . 1 8 1 p p !

IS B N 9 7 4 - 3 3 2 - 8 3 4 - 3 .

The purpose o f this thesis was to study the effects o f vibration due to machine unbalanced force on a

bu ild ing structure. The thesis consists m ainly o f three parts. First, developing a computer program “ T F R A M E ” to

analyze the natural frequencies, mode shapes and m axim um responses o f general structures subjected to harmonic

loads by using FO R TRAN language. Second, calculating the vibration responses o f a 3-storey reinforcement concrete

building o f height 12 m., w id th 4 m. and depth 4 m. by using TFR A M E . Last , comparing the results between

program “ T F R A M E ” and experimental structure made from steel o f height 1.80 m. and w idth 0.60 m. w ith a small

fan having angular velocity about 1300 RPM.

“ T F R A M E ” has been developed fo r solving the force vibration problems on a plane frame structure, by

using the fin ite element method which divides the overall structure into several 2-D Eu ler’ s beam elements and

creates a system o f simultaneous differentia l equation representing vibration properties o f the structure. Then,

combines the equations o f the structure w ith the isolating properties by using the conventional method. Finally,

solves the simultaneous d ifferentia l equations by transform ing the generalize coordinates to the princip le coordinates

using modal matrix.

The assuming structure w ith 39 beam components and 117 degree o f freedoms analyzed by “ T F R A M E ”

showed that the structure has an fin ite number o f natural frequencies. The firs t three modes o f natural frequencies are

lateral vibrations and the next three modes are symmetrical vibrations. Adding more weight in the structure w ill lower

all natural frequencies especially where mode shape is higher. Next, direct installing o f unbalanced machines on the

structure indicated that the shape o f m axim um responses were sim ilar to the shape o f the nearest frequency between

machine and the structure. And installing machine on the position where mode shape is higher, w ill increase all

maxim um responses. Finally, installing machine on an isolation base w ill changing all natural frequencies especially

when the isolation frequency is tuned w ith the structural frequency in the same direction. The m axim um responses

behaved as same as direct installing but had less magnitude and higher weight o f isolation base w ill lower magnitude

o f vibration.

ภาควิชา.........................วิศวกรรมเครื่อ'»กลสาขาวิชา.......................วิศวกรรม.พรี่.อวโพ.

...2542.......

ลายม ือช ื่อน ิส ิต........ .โ?โ.วิ?.?.....^^™™™ Lลายม ือช ื่ออาจารย ์ท ี่ปร ึกษา.......... โ!Z Z ะ -X « V

ลายม ือ ช ื่อ อ าจ ารย ์ท ี่ป ร ึก ษ าร ่วมป ีก าร ศ ึก ษ า

Page 6: นาย สมนึก จรูญจิตเสถียร · 2020. 8. 6. · A Thesis Submitted in Partial Fulfilment of the Requirements for the Degree of Master of Engineering

วิทยานิพนธ์ฉบับนีสำเร็จลุล่วงได้ด้วยความช่วยเหลือเป็นอย่างดียิ่งของ รศ. ดร. วิทยา ยงเจริญ อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ซึ่งท่านได้ให้คำปรึกษา แนะนำ และหาแนวทางแก้ปีญหาที่เกิดขึ้นในการ ทำวิจัยมาโดยตลอด ในเรื่องของโปรแกรมคำนวณผลนั้น ผู้วิจัยได้รับคำแนะนำในการแก้ป็ญหาการ คำนวณเชิงตัวเลขจาก ศ. ดร. ปราโมทย์ เดชะอำไพ ผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณอย่างสูงต่อความ กรุณาของอาจารย์ทังสองท่าน งานวิจัยนี้ได้รับความกรุณาในด้านอุปกรณ์วัดการสั่นสะเทือน และ วิธี การวัด จากหน่วยปฏิบัติการวิจัยเทคโนโลยีการบำรุงรักษาเครื่องจักรกล ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยการควบคุมดูแลของ รศ. ดร. สมศักด ไชยะกิน ันท์ และ ผศ. ดร.ชัยโรจน ์คุณพนิชกิจ ผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณอาจารย์ทั้งสองท่านและหน่วยปฏิบัติการฯ เป็นอย่างยิ่ง

ขอขอบคุณนิสิตปริญญาโท สาขาวิศวกรรมโครงสร้าง ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรม ศาสตร์ ซึ่งผู้วิจัยได้รับคำแนะนำเป็นอย่างดีในส่วนของการทดลอง ขอขอบคุณเจ้าหน์าที่ห้องปฏิบัติการ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล ที่ให้ความช่วยเหลือในการสร้างและติดตั้งอุปกรณ์การทดลอง และเพื่อน ๆ นิสิตปริญญาโท ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกลที่ให้ความช่วยเหลือ และมีนำใจเสมอมาตลอดระยะเวลาที่ ได้ศึกษาอยู่

ขอขอบคุณ คุณสุระชัย ฉายินทุ ท ี่เอ ื้อเพ ึอเคร ื่องคอมพ ิวเตอร์ให ้แก ่ผ ู้ว ิจ ัยทำให ้หน ังส ือ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้สำเร็จลงได้ รวมทั้งความมีนั้าใจ กำลังใจจากพี่สาว พี่ชาย เพื่อน ๆ และสมาชิก ชมรมกีฬาพินดาบ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยทุกคน

ท้ายนีผู้วิจัยใคร่ขอขอบพระคุณบิดา มารดา ที่คอยให้การสนับสนุนในด้านต่างๆ และคอยให ้กำลังใจเสมอมา จนผู้วิจัยสำเร็จการศึกษา

ประโยชน์ที่จะพึงมีจากงานวิจัยนี้ ขอมอบให้แต่บิดา มารดา ครูอาจารย์ ตลอดจนผู้มีพระคุณ ทุกท่านเทอญ

กิตติกรรมประกาศ

Page 7: นาย สมนึก จรูญจิตเสถียร · 2020. 8. 6. · A Thesis Submitted in Partial Fulfilment of the Requirements for the Degree of Master of Engineering

หน้าบทคัดย่อภาษาไทย ...................................................................................................................... งบทคัดย่อภาษาอังกฤษ .................................................................................................................. จกิตติกรรมประกาศ ........................................................................................................................ ฉสารบัญ ........................................................................................................................................... ชสารบัญภาพ ................................................................................................................................... ญสารบัญตาราง ................................................................................................................................ ฒคำอธ ิบายส ัญล ักษณ ์..................................................................................................................... ณรายละเอียดเนื้อหาในแต่ละบทโดยย่อ.......................................................................................... ตบทที่

1 บทนำ ................................................................................................................................. 11.1 ความสำคัญและที่มา .............................................................................................. 11.2 วัตถุประสงค์ ........................................................................................................... 21.3 ขอบเขตของวิทยานิพนธ์ ...................................................................................... 21.4 วิธีการดำเนินงานวิจัยโดยสรุป ........................................................................ 21.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ .................................................................................. 3

2 ทฤษฎีพลศาสตร์ของโครงข่ายแบบระนาบโดยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ ........................ 42.1 สมมติฐานของโครงสร้างอาคาร .......................................................................... 42.2 การกำหนดเมตริกซ์มวล และเมตริกซ์ความแข็งเกร็งของเอลิเมนต์ ................. 52.3 การแปลงพิกัดของคาน .......................................................................................... 62.4 การประกอบระบบสมการของโครงสร้างจากสมการของเอลิเมนต์ ................ 92.5 เงื่อนไขขอบเขต ...................................................................................................... 112.6 การหาค่าความถี่ธรรมชาติและโหมดเชพของโครงสร้าง .................................. 112.7 การหาผลตอบสนองโดยวิธีการแปลงพิกัดด้วยเมตริกซ์โมแดล ....................... 13

3 คุณสมบัติทางพลศาสตร์ของระบบโครงสร้างอาคาร คับ เครื่องจักร ........................ 163.1 วิธีการคอนเวนชัน .................................................................................................. 173.2 การประมาณคุณสมบัติร่วม1ของระบบกรณีเครื่องจักรมีนื้าหนักเบา ................ 203.3 กรณีระบบของเครื่องจักรมีความถี่สอดคล้องคับระบบโครงสร้างอาคาร

อย่างสมบูรณ์ ........................................................................................................... 27

สารบัญ

Page 8: นาย สมนึก จรูญจิตเสถียร · 2020. 8. 6. · A Thesis Submitted in Partial Fulfilment of the Requirements for the Degree of Master of Engineering

สารบัญ (ต่อ)

บทที่4 ผลตอบสนองสภาวะคงตัวของระบบภายใต้ภาระกระทำ

จากการหมุนที่ไม่สมดุล ................................................................................................ 304.1 ผลตอบสนองสภาวะคงตัวภายใต้ภาระการกระทำ

จากการหมุนที่ไม่สมดุล ......................................................................................... 304.2 การแยกการสั่นสะเทือน ......................................................................................... 33

5 แบบจำลองการสั่นสะเทือนของโครงสร้างอาคารภายใต้ภาระกระทำแบบต่าง ๆ ....................................................................................... 385.1 ภาระที่กระทำต่อโครงสร้างแบบสถิตย์ ............................................................... 385.2 ภาระแบบฮาร์โมนิคจากแรงไม่สมดุลของเครื่องจักร........................................... 41

6 โปรแกรมคอมพิวเตอร์ TFRAME ............................................................................... 426.1 ขั้นตอนการคำนวณในโปรแกรม TFRAME ...................................................... 426.2 รายละเอียดของโปรแกรม TFRAME .................................................................. 456.3 ตัวอย่างการแก้ปีญหาด้วยโปรแกรมTFRAME .................................................. 486.4 การเปรียบเทียบผลการคำนวณจากโปรแกรมTFRAME กับวิธีการอื่น............ 55

7 การศึกษาการสั่นสะเทือนของโครงสร้างอาคารด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์TFRAME .................................................................................. 577.1 ความถี่ธรรมชาติและโหมดเซฟของโครงสร้างเสาและคาน.................................. 577.2 ความถี่ธรรมชาติและโหมดเชฟของโครงสร้างเสาและคาน

เมื่อรับภาระเฉลี่ยจากแผ่นพื้น................................................................................. 617.3 ความถี่ธรรมชาติของอาคารเมื่อมีภาระแบบสถิตย์กระทำโดยตรงเนื่องจาก

นํ้าหนักของเครื่องจักร.............................................................................................. 657.4 ผลตอบสนองของอาคารเมื่อรับภาระโดยตรงแบบไม่สมดุล

จากเครื่องจักกลแบบหมุน........................................................................................ 677.5 ความถี่ของระบบโครงสร้างอาคารเมื่อติดตั้งเครื่องจักร

ผ่านชุดแยกการสั่นสะเทือน............................................................. 697.6 ผลตอบสนองสูงสุดของอาคารเมื่อติดตังเครื่องจักรไม่สมดุล

ผ่านชุดแยกการสั่นสะเทือน.................................................................................. 71

Page 9: นาย สมนึก จรูญจิตเสถียร · 2020. 8. 6. · A Thesis Submitted in Partial Fulfilment of the Requirements for the Degree of Master of Engineering

สารบัญ (ต่อ)

บทที่8 การทดลองวิเคราะห์การสั่นสะเทือนของโครงสร้างอาคาร 3 ช้ัน จำลอง

8.1 ช ุดอุปกรณ์การทดลอง.........................................................................8.2 ช ั้นตอนการทคลอง.............................................................................8.3 ผลการทดลอง......................................................................................

9 สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ...............................................................9.1 สรุปผลการวิจัย.....................................................................................9.2 ข ้อเสนอแนะ.........................................................................................

รายการอ้างอิง ............................................................................................................ภาคผนวก ....................................................................................................................

ภาคผนวก ก........................................................................................................ภาคผนวก ข.........................................................................................................ภาคผนวก ค.........................................................................................................ภาคผนวก ง..........................................................................................................ภาคผนวก จ..........................................................................................................ภาคผนวก ฉ........................................................................................................ภาคผนวก ช........................................................................................................ภาคผนวก ซ........................................................................................................ภาคผนวก ณ........................................................................................................

ประวัติผู้วิจัย ...............................................................................................................

7474777984848688898994

101102104111116150160181

Page 10: นาย สมนึก จรูญจิตเสถียร · 2020. 8. 6. · A Thesis Submitted in Partial Fulfilment of the Requirements for the Degree of Master of Engineering

1 น ้า

479

162124303234353940414348565760636465757576787990

สารบัญภาพ

2-1 ตัวอย่างแบบจำลองของโครงสร้างอาคารที่ใช้ในแบบจำลองทางคณิตศาสตร.์....2-2 การเปลี่ยนแปลงจากพิกัดทั่วไปของคานเป็นพิกัดอ้างอิงหลักของโครงสร้าง ......2- 3 ตัวอย่างการกำหนดพิกัดหลักอ้างอิงของโครงสร้าง ............................................3 - 1 แสดงการประกอบชุดแยกการสั่นสะเทือนเข้ากับโครงสร้าง ..............................3-2 แสดงกลไกการเปลี่ยนแปลงความลี่ธรรมชาติของระบบร่วม ..................................3- 3 กำลังสองของความถี่ใหม่เทียบกับความถี่เดิมหลังจากมีการติดตั้งเครื่องจักร....4 - 1 แสดงแบบจำลองการสั่นสะเทือนของระบบที่มี 1 ระดับขั้นความเสรี ...............4-2 ขนาดของการสั่นสะเทือนจากการหมุนที่ไม่สมดุล .................................................4-3 แสดงแบบจำลองของการแยกการสั่นสะเทือน ........................................................4- 4 แสดงอัตราส่วนการส่งผ่านแรงของตัวแยกการสั่นสะเทือน ...............................5 - 1 แบบจำลองของเอลิเมนต์โครงสร้างที่รับภาระสถิตย์แบบกระจาย.......................5-2 แบบจำลองของเอลิเมนต์โครงสร้างที่รับภาระสถิตย์แบบจุด ..................................5- 3 แบบจำลองของเอลิเมนต์โครงสร้างที่รับภาระสถิตย์จากเครื่องจักรบน isolation..6 - 1 แผนภาพแสดงขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม TFRAME ..............................6- 2 แสดงตัวอย่างปีญหาการสั่นสะเทือนของโครงสร้าง ............................................6.3 รายละเอียดของป็ญหาที่ใช้ในการคำนวณเปรียบเทียบ..............................................7 - 1 แบบจำลองของโครงสร้างอาคารสมมติที่ใช้ในการวิเคราะห.์..............................7-2 โหมดเชพของโครงสร้างเสาและคานที่แต่ละค่าความถี่ธรรมชาต.ิ.........................7-3 โหมดเชพของโครงสร้างเมื่อรับภาระเฉลี่ยจากนํ้าหนักของพื้นคอนกรีต .............7-4 แบบจำลองของโครงสร้างอาคาร 3 ชั้นแบบอาคารรับแรงเฉือน...........................7- 5 แบบจำลองที่ใช้ในการคำนวณตำแหน่งที่ติดตั้งเครื่องจักร...................................8- 1 โครงสร้างของอาคารจำลอง 3 ชั้นที่ใช้ในการทดลอง............................................8-2 ชุดเครื่องจักรไม่สมดุล และสปริงที่ใช้ในชุดตัวแยกการสั่นสะเทือน......................8-3 เครื่องมือวัดการสั่นสะเทือนพร้อมหัววัดการสั่นสะเทือนแบบแม่เหล็ก.................8-4 การติดตั้งเครื่องจักรไม่สมดุลในโครงสร้างโดยตรง.................................................8-5 การติดตั้งเครื่องจักรไม่สมดุลในโครงสร้างอาคารผ่านชุดแยกการสั่นสะเทือน .... ก-! พิกัดการขจัดของคานแบบออยเลอร์ใน 2 มิติ 1 เอลิเมนต.์.......................................

Page 11: นาย สมนึก จรูญจิตเสถียร · 2020. 8. 6. · A Thesis Submitted in Partial Fulfilment of the Requirements for the Degree of Master of Engineering

สารบ ัญ เทพ (ต่อ)

รูปที่ ง-! แบบจำลองอาคารรับแรงเฉือนของโครงสร้างอาคาร3 ช ั้น ท ั่ว ๆ ไ ป .................... 102รูปที่ จ-! โครงสร้างตัวอย่างที่ใช้ในการคำนวณ........................................................................ 104รูปที่ จ-2 การประมาณรูปร่างของโครงสร้างจากการสั่นบังคับแบบสมมาตร....................... 105รูปที่ ช-! ผลต่างค่าความถี่ธรรมชาติของอาคารก่อน-หลังติดตั้งเครื่องจักรโดยตรง

ตำแหน่งคงที่................................................................................................................ 116รูปที่ ช-2 ผลต่างค่าความถี่ธรรมชาติของอาคารก่อน-หลังติดตั้งเครื่องจักรโดยตรง

ความถี่คงที่.................................................................................................................. 118รูปที่ ช-3 ผลตอบสนองสูงสุดของอาคารเมื่อติดตั้งเครื่องจักรไม่สมดุลในตำแหน่ง

ต ่างๆโด ยต รง........................................................................................................... 120รูปที่ ช-4 ผลต่างของความถี่ก่อนและหลังติดตั้งชุดแยกการสั่นสะเทือน ซึ่งมีมวล

1 0 ก ิโลกรัม................................................................................................................. 124รูปที่ ช-ร ผลต่างของความถี่ก่อนและหลังติดตังชุดแยกการสั่นสะเทือน ซึ่งมีมวล

100ก ิโลกรัม.............................................................................................................. 125รูปที่ ช-6.1 ผลตอบสนองสูงสุดของโครงสร้างอาคารและเครื่องจักรเมื่อติดตั้งชุด

แยกการสั่นสะเทือนตำแหน่งที่ 1 มวลของเครื่องจักร 1 0 กิโลกรัมขนาดของแรงไม่สมดุล 100 sin 50 t ....................................................................... 126

รูปที่ ช-6.2 ผลตอบสนองสูงสุดของโครงสร้างอาคารและเครื่องจักรเมื่อติดตั้งชุด แยกการสั่นสะเทือน ตำแหน่งที่ 1 มวลของเครื่องจักร 100 กิโลกรัมขนาดของแรงไม่สมดุล 100 sin 50 t ...................................................................... 127

รูปที่ ช-6.3 ผลตอบสนองสูงสุดของโครงสร้างอาคารและเครื่องจักรเมื่อติดตั้งชุด แยกการสั่นสะเทือน ตำแหน่งที่ 1 มวลของเครื่องจักร 10 กิโลกรัมขนาดของแรงไม่สมดุล 100 sin 200 t ..................................................................... 128

รูปที่ ช-6.4 ผลตอบสนองสูงสุดของโครงสร้างอาคารและเครื่องจักรเมื่อติดตั้งชุด แยกการสั่นสะเทือนตำแหน่งที่ 1 มวลของเครื่องจักร 100กิโลกรัมขนาดของแรงไม่สมดุล 100 sin 200 t .................................................................... 129

รูปที่ ช-?.1 ผลตอบสนองสูงสุดของโครงสร้างอาคารและเครื่องจักรเมื่อติดตั้งชุด แยกการสั่นสะเทือน ตำแหน่งที่ 2 มวลของเครื่องจักร 10 กิโลกรัม ขนาดของแรงไม่สมดุล 100 sin 50 t ....................................................................... 130

Page 12: นาย สมนึก จรูญจิตเสถียร · 2020. 8. 6. · A Thesis Submitted in Partial Fulfilment of the Requirements for the Degree of Master of Engineering

สารบัญภาพ (ต่อ)

รูปที่ ช-?.2 ผลตอบสนองสูงสุดของโครงสร้างอาคารและเครื่องจักรเมื่อติดตั้งชุด แยกการสั่นสะเทือน ตำแหน่งที่ 2 มวลของเครื่องจักร 100 กิโลกรัมขนาดของแรงไม่สมดุล 100 sin 50 t .......................................................................... 131

รูปที่ ช-?.3 ผลตอบสนองสูงสุดของโครงสร้างอาคารและเครื่องจักรเมื่อติดตั้งชุด แยกการสั่นสะเทือน ตำแหน่งที่ 2 มวลของเครื่องจักร 10 กิโลกรัมขนาดของแรงไม่สมดุล 100 sin 200 t ....................................................................... 132

รูปที่ ช-?.4 ผลตอบสนองสูงสุดของโครงสร้างอาคารและเครื่องจักรเมื่อติดตั้งชุด แยกการสั่นสะเทือน ตำแหน่งที่ 2 มวลของเครื่องจักร 100 กิโลกรัมขนาดของแรงไม่สมดุล 100 sin 200 t ...................................................................... 133

รูปที่ ช-ร.! ผลตอบสนองสูงสุดของโครงสร้างอาคารและเครื่องจักรเมื่อติดตั้งชุด แยกการสั่นสะเทือน ตำแหน่งที่ 3 มวลของเครื่องจักร 10 กิโลกรัมขนาดของแรงไม่สมดุล 100 sin 50 t ....................................................................... 134

รูปที่ ช-ร.2 ผลตอบสนองสูงสุดของโครงสร้างอาคารและเครื่องจักรเมื่อติดตั้งชุด แยกการสั่นสะเทือน ตำแหน่งที่ 3 มวลของเครื่องจักร 100 กิโลกรัมขนาดของแรงไม,สมดุล 100 sin 50 t ....................................................................... 135

รูปที่ ช-ร.3 ผลตอบสนองสูงสุดของโครงสร้างอาคารและเครื่องจักรเมื่อติดตั้งชุด แยกการสั่นสะเทือน ตำแหน่งที่ 3 มวลของเครื่องจักร 10 กิโลกรัมขนาดของแรงไม่สมดุล 100 sin 200 t ..................................................................... 136

รูปที่ ช-ร.4 ผลตอบสนองสูงสุดของโครงสร้างอาคารและเครื่องจักรเมื่อติดตั้งชุด แยกการสั่นสะเทือน ตำแหน่งที่ 3 มวลของเครื่องจักร 100 กิโลกรัมขนาดของแรงไม'สมดุล 100 sin 200 t ...................................................................... 137

รูปที่ ช-9.1 ผลตอบสนองสูงสุดของโครงสร้างอาคารและเครื่องจักรเมื่อติดตั้งชุด แยกการสั่นสะเทือน ตำแหน่งที่ 4 มวลของเครื่องจักร 10 กิโลกรัมขนาดของแรงไม่สมดุล 100 sin 50 t ......................................................................... 138

รูปที่ ช-9.2 ผลตอบสนองสูงสุดของโครงสร้างอาคารและเครื่องจักรเมื่อติดตั้งชุด แยกการสั่นสะเทือน ตำแหน่งที่ 4 มวลของเครื่องจักร 100 กิโลกรัม ขนาดของแรงไม่สมดุล 100 sin 50 t ...................................................................... 139

Page 13: นาย สมนึก จรูญจิตเสถียร · 2020. 8. 6. · A Thesis Submitted in Partial Fulfilment of the Requirements for the Degree of Master of Engineering

สารบัญภาพ (ต่อ)

รูปที่ ช-9.3 ผลตอบสนองสูงสุดของโครงสร้างอาคารและเครื่องจักรเมื่อติดตังชุด แยกการสั่นสะเทือน ตำแหน่งที่ 4 มวลของเครื่องจักร 10 กิโลกรัมขนาดของแรงไม่สมดุล 100 sin 200 t ..................................................................... 140

รูปที่ ช-9.4 ผลตอบสนองสูงสุดของโครงสร้างอาคารและเครื่องจักรเมื่อติดตังชุด แยกการสั่นสะเทือน ตำแหน่งที่ 4 มวลของเครื่องจักร 100 กิโลกรัมขนาดของแรงไม่สมดุล 100 sin 200 t ..................................................................... 141

รูปที่ ช -!0.1ผลตอบสนองสูงสุดของโครงสร้างอาคารและเครื่องจักรเมื่อติดตังชุด แยกการสั่นสะเทือน ตำแหน่งที่ 5 มวลของเครื่องจักร 10 กิโลกรัมขนาดของแรงไม,สมดุล 100 sin 50 t .................... :.................................................. 142

รูปที่ ช -!0.2 ผลตอบสนองสูงสุดของโครงสร้างอาคารและเครื่องจักรเมื่อติดตังชุด แยกการสั่นสะเทือน ตำแหน่งที่ 5 มวลของเครื่องจักร 100 กิโลกรัมขนาดของแรงไม่สมดุล 100 sin 50 t ....................................................................... 143

รูปที่ ช -!0.3 ผลตอบสนองสูงสุดของโครงสร้างอาคารและเครื่องจักรเมื่อติดตั้งชุด แยกการสั่นสะเทือน ตำแหน่งที่ 5 มวลของเครื่องจักร 10 กิโลกรัมขนาดของแรงไม่สมดุล 100 sin 200 t ..................................................................... 144

รูปที่ ช -!0.4 ผลตอบสนองสูงสุดของโครงสร้างอาคารและเครื่องจักรเมื่อติดตังชุด แยกการสั่นสะเทือน ตำแหน่งที่ 51 มวลของเครื่องจักร 100 กิโลกรัมขนาดของแรงไม่สมดุล 100 sin 200 t .................................................................... 145

รูปที่ ช -!1.1 ผลตอบสนองสูงสุดของโครงสร้างอาคารและเครื่องจักรเมื่อติดตั้งชุด แยกการสั่นสะเทือน ตำแหน่งที่ 6 มวลของเครื่องจักร 10 กิโลกรัมขนาดของแรงไม่สมดุล 100 sin 50 t ...................................................................... 146

รูปที่ ช -!1.2 ผลตอบสนองสูงสุดของโครงสร้างอาคารและเครื่องจักรเมื่อติดตั้งชุด แยกการสั่นสะเทือน ตำแหน่งที่ 6 มวลของเครื่องจักร 100 กิโลกรัมขนาดของแรงไม่สมดุล 100 sin 50 t ...................................................................... 147

รูปที่ ช -!1.3 ผลตอบสนองสูงสุดของโครงสร้างอาคารและเครื่องจักรเมื่อติดตั้งชุด แยกการสั่นสะเทือน ตำแหน่งที่ 6 มวลของเครื่องจักร 10 กิโลกรัม ขนาดของแรงไม่สมดุล 100 sin 200 t .................................................................... 148

Page 14: นาย สมนึก จรูญจิตเสถียร · 2020. 8. 6. · A Thesis Submitted in Partial Fulfilment of the Requirements for the Degree of Master of Engineering

สารบ ัญภาพ (ต่อ)

รูปที่ ช - !1.4 ผลตอบสนองสูงสุดของโครงสร้างอาคารและเครื่องจักรเมื่อติดตั้งชุด แยกการสั่นสะเทือน ตำแหน่งที่ 6 มวลของเครื่องจักร 100 กิโลกรัม ขนาดของแรงไม่สมดุล 100 sin 200 t ....................................................................... 149

Page 15: นาย สมนึก จรูญจิตเสถียร · 2020. 8. 6. · A Thesis Submitted in Partial Fulfilment of the Requirements for the Degree of Master of Engineering

สารบ ัญตาราง

ตารางที่ 6-1

ตารางที่ 7-1 ตารางที่ 7-2

ตารางที่ 7-3

ตารางที่ 7-4

ตารางที่ 8-1 ตารางที่ 8-2

ตารางที่ 8-3

ตารางที่ 8-4

ตารางที่ จ-! ตารางที่ จ-2 ตารางที่ จ-3 ตารางที่ จ-4 ตารางที่ จ-ร

เปรียบเทียบผลการคำนวณจาก TFRAME กับวิธีการ Slope DeflectionMethod..........................................................................................................ความถี่ธรรมชาติและโหมดเชพของโครงสร้างเสาและคาน ....................ความถี่ธรรมชาติและโหมดเชพของโครงสร้างเมื่อรับนํ้าหนักเฉลี่ยของพ ื้นคอนกรีต...................................................................................................เปรียบเทียบค่าความถี่ธรรมชาติ 3 โหมดแรก ระหว่างแบบShear building กับ FEM ..............................................................................จำแนกค่าความถี่ธรรมชาติของชุดแยกการสั่นสะเทือนที่สมมติติดตั้งในอาคาร..........................................................................................................เปรียบเทียบค่าความถี่ธรรมชาติของโครงสร้างจำลอง.............................ผลตอบสนองสูงสุดของโครงสร้างจำลองเมื่อติดตั้งเครื่องจักรโดยตรงในชั้นที่ 1 .......................................................................................................ผลตอบสนองสูงสุดของโครงสร้างติดตั้งเครื่องจักรบนตัวแยกการสั่นสะเทือนชุดที่ 1 .................................................................................ผลตอบสนองสูงสุดของโครงสร้างติดตั้งเครื่องจักรบนตัวแยกการสั่นสะเทือนชุดที่ 2 ........................ ........................................................ส ัญลักษณ์ของสัมประสิทธ์ท ี่ใช ้ในสมการ................................................ค ่าของสัมประสิทธ์ท ี่ใช ้ในสมการ.............................................................

สัญลักษณ์แทนสัมประสิทธ์ของการสั่นสะเทือนไม่สมมาตรแบบบังคับค่าแทนสัมประสิทธ์ของการสั่นสะเทือนไม่สมมาตรแบบบังคับ ..........เปรียบเทียบผลการคำนวณจากโปรแกรม TFRAME และวิธีการสโลป

ด ีเฟลคชัน.......................................................................................................

หน้า

5659

61

64

7480

81

82

82106107108 109

110

Page 16: นาย สมนึก จรูญจิตเสถียร · 2020. 8. 6. · A Thesis Submitted in Partial Fulfilment of the Requirements for the Degree of Master of Engineering

ค ำอ ธ ิบ าย ส ัญ ล ัก ษ ณ ์

คอ

T ค ือ

บ ค ือ

Q i ค ือ

ค ือ

E ค ือ

I ค ือ

7 ค ือ

r ค ือ

1 ค ือ

พ , ค ือ

[ r i . ค ือ

{ “ 1} . ค ือ

{f 1} . คอ

[/] ค ือ

[*] คอ

[™]. ค ือ

[ บ ิ. ค ือ

พ . ค ือ

M ค ือ

พ ค ือ

{̂ ) ค ือ

M ค ือ

CO ค ือ

[ O ] ค ือ

(^} ค ือ

พิกัดของการเคลื่อนที่ใด ๆพลังงานจลน์รวมของทังระบบพลังงานศักย์รวมของทั้งระบบแรง หรือโมเมนต์ภายนอกที่มากระตุ้นระบบ

พื้นที่หน้าตัดของเอลิเมนต ์ค่ามอดุลัสความยืดหยุ่นของวัสดุ โมเมนต์ความเฉื่อยแบบพื้นที่ของเอลิเมนต ์มวลต่อหนึ่งหน่วยความยาวของเอลิเมนต์ รัศมีไจ่เรชัน รอบแกนการโค่งของเอลิเมนต ์ความยาวของเอลิเมนต์ เมตริกซ์มวลย่อยของคาน วางตัวในแนวระดับ เมตริกซ์ความแข็งเกร็งย่อยของคาน วางตัวในแนวระดับ การขจัดของจุดต่อประกอบด้วยการขจัดตามแนวแกน การขจัดตามแนวดิ่ง และ การหมุนแรง หรือโมเมนต์ภายนอกที่กระทำ ณ จุดต่อ เมตริกซ์เอกลักษณ์ (Identity matrix)เมตริกซ์ที่ใช้แปลงเมตริกซ์มวลและเมตริกซ์ความแข็งเกร็งย่อยที่วางตัวอยู่ในแนวระดับ ให้วางตัวทำมุมที่ต้องการเมตริกซ์มวลย่อยของคาน วางตัวทำมุมใด ๆเมตริกซ์ความแข็งเกร็งย่อยของคาน วางตัวทำมุมใด ๆเมตริกซ์สี่เหลี่ยมผืนผ้าที่ใช้ประกอบกันเป็นเมตริกซ์ของโครงสร้างเมตริกซ์มวลรวมของทั้งระบบในเทอมของพิกัดทั่วไปเมตริกซ์ความแข็งเกร็งรวมของทั้งระบบในเทอมของพิกัดทั่วไปแรงภายนอกที่กระทำกับโครงสร้างทังหมดในเทอมของพิกัดทั่วไปเวคเตอร์ของโหมดเชพ ณ ความถี่ธรรมชาติโหมดที่ iค่าความถี่ธรรมชาติของระบบ (Natural frequencies )เมตริกโมแดลได้มาจากการนำโหมดเชพทุก ๆ โหมดมาเขียนเรียงต่อกัน เวคเตอร์การขจัดในเทอมของพิกัดหลัก

Page 17: นาย สมนึก จรูญจิตเสถียร · 2020. 8. 6. · A Thesis Submitted in Partial Fulfilment of the Requirements for the Degree of Master of Engineering

[ c ]\ M , \[ c r ]

พ ุพ }

[C -] ย ท

m e

G>i

col

COeP i

YiA

rt-M

คือ เมตริกซ์ความหน่วงโดยประมาณของทั้งระบบ คือ เมตริกซ์แยงมุมของเมตริกซ์มวลในเทอมของพิกัดหลัก คือ เมตริกซ์ทแยงมุมของเมตริกซ์ความหน่วง ประมาณความหน่วงแบบสัดส่วน คือ เมตริกซ์ทแยงมุมของเมตริกซ์ความแข็งเกร็งในเทอมของพิกัดหลัก คือ เมตริกซ์มวลที่มีการรวมคุณสมบัติของชุดแยกการสั่นสะเทือน คือ เมตริกซ์ความหน่วงที่มีการรวมคุณสมบัติของชุดแยกการสั่นสะเทือน คือ เมตริกซ์ความแข็งเกร็งที่มีการรวมคุณสมบัติของชุดแยกการสั่นสะเทือน คือ แฟคเตอร์การขยายตัวสำหรับโหมดเชพของชุดแยกการสั่นสะเทือนเทียบกับตำแหน่ง

ที่ติดตั้งคือ มวลของชุดแยกการสั่นสะเทือนคือ ค่าความถี่ธรรมชาติของระบบโครงสร้าง-อาคาร ซึ่งเปีนค่าที่มาจากโหมดเติมของ

โครงสร้างโหมดที่ iคือ ค่าความถี่ธรรมชาติของระบบโครงสร้าง-อาคาร ซึ่งเป็นค่าที่มาจากโหมดของชุดแยก

การสั่นสะเทือนคือ ค่าความถี่ธรรมชาติของชุดแยกการสั่นสะเทือนคือ พารามิเตอร์ความถี่ไม่สอดคล้อง (Detaining parameter) เป็นตัวที่แสดงให้เห็นว่าค่า

ความถี่ของอาคารแตกต่างจากค่าความถี่ของชุดแยกการสั่นสะเทือนมากน้อยเท่าไหร่ คอ ค่าอัตราส่วนมวลประสทธผล (Effective mass ratio)คือ ค่าเจาะจงของการสั่นสะเทือน (Eigenvalue) มีค่าเท่ากับส่วนกลับของความถี่ธรรมชาติ

ยกกำลังสองคือ พิงก์ชันรูปร่างที่ใช้ในการปร ะมาณลักษณะ1ของพิงก์'ชันภาย'ในเอลิเมนต์

Page 18: นาย สมนึก จรูญจิตเสถียร · 2020. 8. 6. · A Thesis Submitted in Partial Fulfilment of the Requirements for the Degree of Master of Engineering

รายละเอ ียดของเน ื้อหาในแต่ละบทโดยย่อ

บทที่ 1 บทนำ

ที่มาของงานวิจัย วัตถุประสงค์ ขอบเขตของงานวิจัย ขันตอนการดำเนินงาน และ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

บทที่ 2 ทฤษฎีพลศาสตร์ของโครงข่ายแบบระนาบโดยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์

ทฤษฎีพื้นฐานของวิธีการไฟไนต์เอลิเมนต์สำหรับคานแบบออยเลอร์ใน 2 มิติ เพื่อสร้าง ระบบสมการซึ่งใช้เป็นตัวแทนการสั่นสะเทือนของโครงข่ายแบบระนาบ ( Plane frame structure ) การหาค่าความถี่ธรรมชาติ และโหมดเชพของโครงข่าย ตลอดจนการแก้ระบบสมการดิฟเฟอเรน เชียลด้วยวิธีการโมแดลเพื่อหาผลเฉลยในรูปการขจัดสูงสุด

บทที่ 3 คุณสมบัติทางพลศาสตร์ของระบบโครงสร้างอาคารกับเครื่องจักร

ว ิธ ีการเพอเทอร์เบช ัน ( Perturbation Method ) สำหรับสร้างแบบจำลองทาง คณิตศาสตร์ของระบบโครงสร้างกับเครื่องจักรเมื่อติดตั้งชุดเครื่องจักรบนตัวแยกการสั่นสะเทือน ณ ตำแหน่งใด ๆ ในโครงสร้าง และการประมาณคุณสมบัติการสั่นสะเทือนของ โครงสร้างที่เปลี่ยน ไปหลังจากติดตั้งชุดแยกการสั่นสะเทือน

บทที่ 4 ผลตอบสนองสภาวะคงตัวของระบบภายใต้ภาระกระทำจากการหมุนที่ไม่สมดุล

วิเคราะห์ผลเฉลยเฉพาะของสมการการสั่นสะเทือนแบบที่มีแรงกระทำอยู่ในรูป F sin cot หรือ F cos COt รวมไปถึงการใช้ตัวแยกการสั่นสะเทือน ( Vibration isolation )

บทที่ 5 แบบจำลองการสั่นสะเทือนของโครงสร้างอาคารภายใต้ภาระกระทำแบบต่าง ๆ

วิธีการประยุกต์ภาระกระทำแบบต่าง ๆ เพิ่มเข้าไปในแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของ ระบบสมการการสั่นสะเทือนของโครงสร้างอาคาร

Page 19: นาย สมนึก จรูญจิตเสถียร · 2020. 8. 6. · A Thesis Submitted in Partial Fulfilment of the Requirements for the Degree of Master of Engineering

บทที่ 6 โปรแกรมคอมพ ิวเตอร ์ TFRAME

อธิบายส่วนประกอบของโปรแกรม TFRAME ซึ่งพัฒนาขึนจากพืนฐานของวิธีการไฟ ไนต์เอลิเมนต์สำหรับวิเคราะห์ปีญหาการสั่นสะเทือนของโครงสร้างแบบคาน รายละเอียดของไฟล ์ข้อมูลป้อนเข้า รายละเอียดของไฟล์แสดงผลลัพธ์ และตัวอย่างการคำนวณด้วยโปรแกรม TFRAME

บทที่ 7 การศึกษาการสั่นสะเทือนของโครงสร้างอาคารจากแบบจำลองทางคณิตศาสตร์

ว ิเคราะห ์ผลการคำนวณ จากโครงสร้างอาคาร 3 ช ั้นด ้วยโปรแกรมคอมพ ิวเตอร ์ TFRAME สมมติให้มีขนาดกว้าง 4 เมตร สูง 12 เมตร และลึก 4 เมตร คำนวณค่าความถี่ธรรมชาต ิและโหมดเชพของโครงสร้างอาคารกำหนดเงื่อนไขการติดตั้งเครื่องจ ักรไม ่สมดุลแบบหมุน ใน ตำแหน่งและรูปแบบต่าง ๆ ( ติดตังโดยตรงหรือติดตังบนตัวแยกการสั่นสะเทือน ) เพื่อศึกษาผลตอบ สนองสูงสุดสำหรับพิกัด ต่าง ๆ ในโครงสร้าง

บทที่ 8 การทดลองวัดการสั่นสะเทือนของโครงสร้างอาคาร 3 ชันจำลอง

จำลองโครงสร้างอาคาร 3 ชั้นขึ้นโดยใช้เหล็กหน้าตัดแบบ Channel มาตรฐาน JIS G 3192 มีขนาดความสูงประมาณ 1.80 เมตร และกว้างประมาณ 0.65 เมตร ทำการวัดค่าความถี่ธรรม ชาติและผลตอบสนองสูงสุดเมื่อติดตั้งพัดลมดูดอากาศที่หมุนด้วยอัตราเร็วรอบประมาณ 1300รอบ ต่อนาที ซึ่งติดมวลเยืองศูนย์ขนาดประมาณ 15.5 กรัม ทั้งแบบติดตั้งโดยตรง และติดตั้งบนตัวแยก การสั่นสะเท ือนที่ตำแหน่งก ึ่งกลางของชันท ี่ 1 เปรียบเท ียบกับผลการคำนวณจากโปรแกรมคอมพิวเตอร์ TFRAME

บทที่ 9 สรุปผลการทดลอง

สรุปผลการศึกษาการสั่นสะเทือนของโครงสร้างอาคาร