ปัญหาพิเศษ ปริญญาตรี - kasetsart...

28
ปัญหาพิเศษ ปริญญาตรี ผลของ BA PBZ TDZ หรือ CPPU ต่อการชักนําการออกดอกของกล้วยไม้ หวาย Dendrobium bigibbum var. compactum ในสภาพปลอดเชืÊอ Effects of BA PBZ TDZ or CPPU on In Vitro Flower Induction of Dendrobium bigibbum var. compactum นางสาวศุภกาญจน์ หล่ายแปด ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกําแพงแสน พ.ศ.2557

Upload: others

Post on 22-Nov-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ปัญหาพิเศษ ปริญญาตรี - Kasetsart Universitylib.kps.ku.ac.th/SpecialProject/Horticulture/2557/Bs/...เรลล น ไซโตไคน น

ปัญหาพเิศษ ปริญญาตรี

ผลของ BA PBZ TDZ หรือ CPPU ต่อการชักนําการออกดอกของกล้วยไม้

หวาย Dendrobium bigibbum var. compactum ในสภาพปลอดเชือ

Effects of BA PBZ TDZ or CPPU on In Vitro Flower Induction of Dendrobium bigibbum var. compactum

นางสาวศุภกาญจน์ หล่ายแปด

ภาควชิาพืชสวน

คณะเกษตร กําแพงแสน

มหาวทิยาลัยเกษตรศาสตร์ วทิยาเขตกําแพงแสน

พ.ศ.2557

Page 2: ปัญหาพิเศษ ปริญญาตรี - Kasetsart Universitylib.kps.ku.ac.th/SpecialProject/Horticulture/2557/Bs/...เรลล น ไซโตไคน น

ผลของ BA PBZ TDZ หรือ CPPU ต่อการชักนําการออกดอกของกล้วยไม้หวาย Dendrobium bigibbum var. compactum ในสภาพปลอดเชือ นางสาวศภุกาญจน์ หลา่ยแปด พ.ศ.2557

Page 3: ปัญหาพิเศษ ปริญญาตรี - Kasetsart Universitylib.kps.ku.ac.th/SpecialProject/Horticulture/2557/Bs/...เรลล น ไซโตไคน น

ปัญหาพิเศษปริญญาตรี

ภาควิชาพืชสวน

เร่ือง

Effects of BA PBZ TDZ or CPPU on In Vitro Flower Induction of Dendrobium bigibbum var. compactum

โดย

นางสาวศภุกาญจน ์หล่ายแปด

ควบคมุและอนมุติัโดย

...................................................................... วนัท่ี 27 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2557

(อ.ดร. ศภุธิดา อบัดลุลากาซิม)

...................................................................... วนัท่ี 27 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2557

(ผศ.ดร. เสริมศิริ จนัทร์เปรม)

ผลของ BA PBZ TDZ หรือ CPPU ตอ่การชกันําการออกดอกของกล้วยไม้หวาย

Dendrobium bigibbum var. compactum ในสภาพปลอดเชือ้

Page 4: ปัญหาพิเศษ ปริญญาตรี - Kasetsart Universitylib.kps.ku.ac.th/SpecialProject/Horticulture/2557/Bs/...เรลล น ไซโตไคน น

ผลของ BA PBZ TDZ หรือ CPPU ต่อการชักนําการออกดอกของกล้วยไม้หวาย

Dendrobium bigibbum var. compactum ในสภาพปลอดเชือ

ศุภกาญจน์ หล่ายแปด

บทคัดย่อ

การชกันําให้เกิดดอกในกล้วยไม้หวาย Dendrobium bigibbum var. compactum ในสภาพปลอดเชอื

โดยนํากล้วยไม้หวายทีมีอายปุระมาณ 1 ปีมาตดัรากแล้วย้ายลงอาหารแข็งสูตร MS ทีดดัแปลงโดยเพิมฟอสฟอรสั

(P) ในรูปของ KH2PO4 ขึน 5 เทา่ และลดไนโตรเจน (N) ในรูปของ KNO3 ลง 20 เทา่ ร่วมกบัการเติมสารควบคมุ

การเจริญเติบโตพืช 4 ชนิดทีระดบัความเข้มข้นตา่ง ๆ คือ benzyladenine (BA) ความเข้มข้น 0.5 1 และ 2

มิลลิกรัมตอ่ลิตร paclobutrazol (PBZ) ความเข้มข้น 0.25 0.5 และ 1 มิลลิกรัมตอ่ลิตร thidiazuron (TDZ) ความ

เข้มข้น 0.05 0.1 และ 0.5 มิลลิกรัมตอ่ลิตร และ forchlorfenuron (CPPU) ความเข้มข้น 1 และ 5 มิลลิกรัมตอ่ลิตร

ใช้อาหารแข็งสูตร MS ทีไมเ่ติมสารควบคมุการเจริญเติบโตพืชเป็นชดุควบคมุ วางแผนการทดลองแบบ

Completely Randomized Design (CRD) ทรีทเมนต์ละ 6 ซาํ ซําละ 1 ต้น พบวา่อาหารแข็งสูตร MS ทีดดัแปลง

ร่วมกบัการเติม CPPU 5 มิลลิกรัมตอ่ลิตร สามารถชกันําให้เกิดชอ่ดอกได้ 100 เปอร์เซ็นต์ พบชอ่ดอกแรกหลงัจาก

ย้ายลงอาหารเป็นเวลา 66 วนัโดยเฉลีย อาหารแข็งสูตร MS ทีดดัแปลงร่วมกบัการเติม TDZ 0.5 มิลลิกรัมตอ่ลิตร

สามารถชกันําให้เกิดชอ่ดอกได้ 100 เปอร์เซ็นต์ พบชอ่ดอกแรกหลงัจากย้ายลงอาหารเป็นเวลา 96 วนัโดยเฉลีย

และอาหารแข็งสูตร MS ทีดดัแปลงร่วมกบัการเติม CPPU 1 มิลลิกรัมตอ่ลิตร สามารถชกันําให้เกิดชอ่ดอกได้ 100

เปอร์เซ็นต์ พบชอ่ดอกแรกหลงัจากย้ายลงอาหารเป็นเวลา 126 วนัโดยเฉลีย ดอกทีพบมีลกัษณะเป็นดอกตมู ยงั

พฒันาได้ไมเ่ต็มที เกิดการฝ่อกอ่นดอกบาน และสามารถสงัเกตเหน็สีของกลีบดอกได้ในกล้วยไม้ทีเพาะเลียงใน

อาหารแข็งสูตร MS ทดีดัแปลงร่วมกบัการเติม CPPU 5 มิลลิกรัมตอ่ลิตร

คําสําคญั : กล้วยไม้ สภาพปลอดเชอื การออกดอก สารควบคมุการเจริญเติบโต

สาขาวิชา : การปรับปรุงพนัธ์ุพืชและเทคโนโลยีชีวภาพ

ปัญหาพิเศษ : ปริญญาตรี ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กําแพงแสน มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร์

อาจารย์ทีปรึกษา : ดร. ศภุธิดา อบัดลุลากาซิม

ปีทีพิมพ์ : 2557

จํานวนหน้า : 23

Page 5: ปัญหาพิเศษ ปริญญาตรี - Kasetsart Universitylib.kps.ku.ac.th/SpecialProject/Horticulture/2557/Bs/...เรลล น ไซโตไคน น

Effects of BA PBZ TDZ or CPPU on In Vitro Flower Induction of

Dendrobium bigibbum var. compactum

Suphakarn Laipad

Abstract

In vitro flower induction has been conducted in Dendrobium bigibbum var. compactum. The

one-year-old explants were pruned roots and cultured on modified MS with high phosphorus (5-fold

KH2PO4) and low nitrogen (1/20-fold NH4NO3) supplemented with four different plant growth regulators

i.e. benzyladenine (BA) at 0.5, 1, 2 mgl-1, paclobutrazol (PBZ) at 0.25, 0.5, 1 mgl-1, thidiazuron (TDZ) at

0.05, 0.1, 0.5 mgl-1 or forchlorfenuron (CPPU) at 1, 5 mgl-1. The control treatments were grown on

growth regulator-free modified MS medium. The experiment was completely randomized with six

replications per treatment and one plant per replication. The results showed that seedlings of

Dendrobium bigibbum var. compactum produced flower bud (100%) on the modified MS containing

CPPU at 5 mgl-1 or TDZ at 0.5 mgl-1 or CPPU at 1 mgl-1 within the average of 66, 96 and 126 days of

culturing. However, the flower buds became fully senescence before blooming. Only flower buds of

Dendrobium bigibbum var. compactum grown on the modified MS containing CPPU at 5 mgl-1 could

observed for their coloration.

Key word : orchid, in vitro, flowering, plant growth regulators

Field : Crop Improvement and Biotechnology

Degree : B.S. (Agric.), Department of Horticulture,

Faculty of Agriculture at Kamphaeng Saen, Kasetsart University

Advisor : Dr.Supatida Abdullakasim

Year : 2014

Pages : 23

Page 6: ปัญหาพิเศษ ปริญญาตรี - Kasetsart Universitylib.kps.ku.ac.th/SpecialProject/Horticulture/2557/Bs/...เรลล น ไซโตไคน น

1

คาํนํา

กล้วยไม้หวายแคระ (Dendrobium bigibbum var. compactum) มีลกัษณะลําต้นเตีย มีความ

สูงของลําต้นเพียง 15 เซนติเมตร มีดอกขนาดเล็กประมาณ 2-3 เซนติเมตร ดอกมีสีมว่งหรือสีขาว ระยะ

เยาว์วยั (juvenile) ของกล้วยไม้นนัมีระยะเวลาทียาวนานอยา่งน้อย 1.5 - 2 ปี ตงัแตร่ะยะต้นกล้าจนถงึ

ระยะออกดอก ซงึทาํให้การปรับปรุงพนัธ์ุและการขยายพนัธ์ุของกล้วยไม้คอ่นข้างใช้เวลายาวนาน จงึได้มี

ผู้ทําการศกึษาค้นคว้าปัจจยัทีมีผลตอ่การออกดอกของกล้วยไม้ และพบวา่สารควบคมุการเจริญเติบโต

พืชเป็นปัจจยัอยา่งหนงึทสีามารถชกันาํให้กล้วยไม้ออกดอกได้กอ่นเวลา โดยเฉพาะการเพาะเลียงใน

สภาพปลอดเชอื (in vitro) ซงึสารควบคมุการเจริญเติบโตพืชแตล่ะชนิด ทรีะดบัความเข้มข้นตา่งๆมี

คณุสมบติัในการชกันาํการเจริญเติบโตของพืชทีแตกตา่งกนั โดยผลการทดลองในครังนีคาดวา่จะ

สามารถลดระยะเวลาของระยะเยาว์วยั (juvenile) ให้สนัลงได้ เพือให้กล้วยไม้ออกดอกได้เร็วขึน และ

สามารถใช้เป็นข้อมลูพืนฐาน สําหรับการศกึษาการขยายพนัธ์ุและการปรับปรุงพนัธ์ุกล้วยไม้ โดยใช้

เทคนิคการเพาะเลียงเนือเยือตอ่ไป

Page 7: ปัญหาพิเศษ ปริญญาตรี - Kasetsart Universitylib.kps.ku.ac.th/SpecialProject/Horticulture/2557/Bs/...เรลล น ไซโตไคน น

2

ตรวจเอกสาร

กล้วยไม้หวายแคระ (Dendrobium bigibbum var. compactum) จดัอยูใ่นวงศ์ Orchidaceae

เป็นกล้วยไม้ทีแพร่กระจายมาจากคาบสมทุร Cape York ประเทศออสเตรเลียซงึอยูท่างตอนเหนือของ

รัฐควีนส์แลนด์ มีลกัษณะลําลูกกล้วยเป็นรูปทรงกระบอกมีสีเขียวหรือสีมว่ง มีใบ 3 - 5 ใบตอ่ลําลูกกล้วย

ใบมีสีเขียวหรือสีมว่ง ขนาดลําต้นสงู 15 เซนติเมตร กว้าง 2.5 เซนติเมตร มีชอ่ดอกแบบ racemes ยาว

ประมาณ 20 - 40 เซนติเมตร มีดอกได้มากถงึ 20 ดอก ดอกมีสีมว่งออ่นถงึมว่ง บางครังอาจเป็นสีขาว สี

นําเงิน หรือสีชมพ ู ดอกมีขนาดกว้าง 3 เซนติเมตร กลีบดอกใหญ่เหลือมซ้อนกนั (Minister, 2008)

กล้วยไม้โดยทวัไปเป็นพืชทีมีระยะเยาว์วยั (juvenile) ทียาวนานอยา่งน้อย 3 - 5 ปี นบัจากระยะต้นกล้า

จนถงึระยะการออกดอก ตวัอยา่งเชน่ Dendrobium nobile ความลา่ช้าในการออกดอกนีเป็นปัญหาหลกั

ในการขยายพนัธ์ุและการปรับปรุงพนัธ์ุของกล้วยไม้หวาย (Wang, 2009)

การออกดอกของพืช เป็นการเปลียนแปลงการเจริญเติบโตทางด้านลําต้นและใบ (vegetative

growth) ไปสู่การเจริญเติบโตทางด้านการสืบพนัธ์ุ (reproductive growth) ซงึประกอบด้วย 3 ระยะ คือ

1.ระยะเยาวว์ยั (juvenile phase) ยงัไมมี่ดอก

2.ระยะการเจริญเต็มวยั (mature phase) ได้รับการกระตุ้นจากสภาพแวดล้อมทีเหมาะสมทจีะ

ทําให้เกิดการออกดอก

3.ระยะการเจริญเติบโตทางด้านการเจริญพนัธ์ุ (reproductive phase) เกิดการออกดอก

(Helgi and Rolfe, 2005)

Ziv and Naor (2006) กล่าววา่ การทําให้พืชออกดอกในสภาพปลอดเชือนนัเป็นเหมือน

เครืองมือสําคญัทีใช้ในการศกึษาการชกันาํการออกดอก ระยะเริมต้นและการพฒันาของดอก การ

ควบคมุสภาพแวดล้อมและส่วนประกอบของอาหารสามารถใช้บงัคบัให้เกิดดอกได้และสามารถนาํไปใช้

กบัพืชทีมีระยะเยาว์วยั (juvenile) ทียาวนานให้สนัลงได้ เนืองจากเทคนิคการเพาะเลียงเนือเยือนนั

สามารถควบคมุสภาพแวดล้อม ส่วนประกอบของอาหาร คือ ธาตอุาหาร วิตามิน และสารควบคมุการ

เจริญเติบโตพืชได้ และชินส่วนทนีํามาใช้ในการเพาะเลียงเนือเยือยงัมีผลตอ่การตอบสนองทางด้าน

สณัฐานวิทยาของพืชอีกด้วย

ปัจจยัทีมีผลตอ่การออกดอกของพืชประกอบด้วย 2 ปัจจยัคือ ปัจจยัภายใน ได้แก ่พนัธ์ุพืช อายขุอง

พืช และปัจจยัภายนอก ได้แก ่ สภาพแวดล้อมตา่ง ๆ เชน่ อณุหภูมิ ความชืนในดิน แสง การตดัแตง่กิง

และฮอร์โมน

Page 8: ปัญหาพิเศษ ปริญญาตรี - Kasetsart Universitylib.kps.ku.ac.th/SpecialProject/Horticulture/2557/Bs/...เรลล น ไซโตไคน น

3

พีรเดช (2529) กลา่ววา่สารควบคมุการเจริญเติบโตพืช (plant growth regulators:PGRs) เป็น

ฮอร์โมนพืชและสารทีมนษุย์สงัเคราะหข์ึนมาเพือใช้ประโยชน ์ โดยใช้ในปริมาณเพียงเล็กน้อยก็สามารถ

กระตุ้น ยบัยงั หรือเปลียนแปลงสภาพทางสรีรวทิยาของพืชได้ แบง่ออกเป็น 7 กลุ่ม คือ ออกซิน จิบเบอ

เรลลิน ไซโตไคนิน กรดแอบไซซิค เอทลีิน สารชะลอการเจริญเติบโตพืช และสารยบัยงัการเจริญเติบโต

พืช

ไซโตไคนิน (cytokinin) เป็นกลุ่มสารทีมีผลตอ่การแบง่เซลล์และกระตุ้นการเจริญทางด้านลําต้น

ของพืช กระตุ้นการเจริญของตาข้าง ใช้ประโยชนใ์นทางการเกษตรน้อยกวา่สารกลุ่มอืน ๆ ส่วนมากใช้ใน

งานทางด้านเพาะเลียงเนือเยือ สารสงัเคราะห์ในกลุ่มนี ได้แก ่Kinetin BA เป็นต้น

6-[N-benzyl]adenine (BA) เป็นสารสงัเคราะหใ์นกลุ่มของไซโตไคนิน มีคณุสมบติัชว่ยส่งเสริม

การแบง่เซลล์ สง่เสริมการเจริญเติบโตและการยืดขนาดของเซลล์ ส่งเสริมการเจริญของตาข้าง ส่งเสริม

การพฒันาของตาดอกและสง่เสริมการออกดอก ยบัยงักระบวนการเสือมชราของใบและการสลายตวัของ

คลอโรฟิลล์ ควบคมุการทํางานของเอนไซม์ (CCA Biochemical Co., Inc, 1998) ซงึมีรายงานวิจยัที

เกียวข้องกบัการนํา BA มาใช้ในการชกันําให้เกิดดอก ตวัอยา่งเชน่ Hee et al. (2007) เพาะเลียง

กล้วยไม้หวาย Dendrobium Chao Praya Smile ในสภาพปลอดเชือบนอาหารสูตร KC (Knudson C)

ร่วมกบัการเติม BA ความเข้มข้น 1.1 µM พบวา่ สามารถชกันําการออกดอกได้ 45 เปอร์เซ็นต์ ภายใน

เวลา 6 เดือนและพฒันาเป็นเมล็ดได้ในเวลา 11 เดือน และในปีเดียวกนันี Sim et al. (2007) ประสบ

ความสําเร็จในการพฒันาวธีิการชกันาํการออกดอกในสภาพปลอดเชือของกล้วยไม้หวาย Dendrobium

Madame Thong-In โดยใช้โพรโทคอร์มเพาะเลียงบนอาหารสตูร KC (Knudson C) ดดัแปลงร่วมกบัการ

เติม BA ความเข้มข้น 4.4 µM ตอ่มา Tee et al. (2008) ศกึษาการออกดอกในสภาพปลอดเชือของ

กล้วยไม้หวาย Dendrobium Sonia 17 โดยเพาะเลียงลงบนอาหารสูตร ½ MS (Murashige and

Skoog) ร่วมกบัการเติม BA ความเข้มข้น 20 µM และมีการดดัแปลงสูตรอาหารโดยลดไนโตรเจนให้

น้อยลงและเพิมฟอสฟอรัสให้มากขึน พบวา่ มีประสิทธิภาพในการชกันําให้เกิดชอ่ดอกได้

thidiazuron (TDZ) เป็นสารสงัเคราะห์ทีออกฤทธิ ตอ่การเจริญเติบโตของพืชใกล้เคียงกบัสารใน

กลุ่มของไซโตไคนิน ใช้อยา่งกว้างขวางในงานเพาะเลียงเนือเยือพืช เป็นสารทลีะลายได้ดีในเอทานอล

ละลายในนาํได้น้อย มีคณุสมบติัสามารถกระตุ้นให้พืชเกิดการเปลียนแปลงทางสรีรวิทยาได้แม้ใช้ใน

ปริมาณทีตํา (วราภรณ์, 2552) ซงึมีรายงานวิจยัทีเกียวข้องกบัการนํา TDZ มาใช้ในการชกันาํให้เกิดดอก

ตวัอยา่งเชน่ Wang et al. (2009) ศกึษาการออกดอกในสภาพปลอดเชอืของกล้วยไม้หวาย

Dendrobium nobile โดยเพาะเลียงลงบนอาหารสูตร ½ MS ร่วมกบัการเติม PBZ ความเข้มข้น 0.5

Page 9: ปัญหาพิเศษ ปริญญาตรี - Kasetsart Universitylib.kps.ku.ac.th/SpecialProject/Horticulture/2557/Bs/...เรลล น ไซโตไคน น

4

มิลลิกรัมตอ่ลิตร หรือ TDZ ความเข้มข้น 0.1 มิลลิกรัมตอ่ลิตร ในเวลา 4 เดือน พบวา่ เกิดตาดอกได้

33.3-34.8 เปอร์เซ็นต์

forchlorfenuron (CPPU) เป็นสารสงัเคราะห์ทีออกฤทธิ ตอ่การเจริญเติบโตของพืชใกล้เคียงกบั

สารในกลุ่มของไซโตไคนิน มีคณุสมบติัส่งเสริมการแบง่เซลล์ เพิมจํานวนเซลล์ เพิมขนาดและปรับปรุง

คณุภาพของผล ปัจจบุนัยงัไมท่ราบกลไกในการทํางาน มีประสิทธิภาพมากกวา่ BA ถงึ 10 เทา่ (CCA

Biochemical Co., Inc, 1998) ซงึมีรายงานวิจยัทเีกียวข้องกบัการนํา CPPU มาใช้ในการชกันําให้เกิด

ดอก ตวัอยา่งเชน่ Harada and Murai (1998) ชกันําการออกดอกของแพร์ (Pyrus communis L.)

ภายใต้สภาพปลอดเชือโดยใช้สว่นยอดมาเพาะเลียงบนอาหารแข็งสูตร VW (Vacin and Went) ร่วมกบั

การเติม BA ความเข้มข้น 1 มิลลิกรัมตอ่ลิตร เป็นเวลา 6 ปี จากนนัย้ายลงอาหารสูตร MS ร่วมกบัการ

เติม CPPU ความเข้มข้น 1 หรือ 5 มิลลิกรัมตอ่ลิตร พบวา่ สามารถเกิดดอกได้ 4 – 12 เปอร์เซ็นต์

สารชะลอการเจริญเติบโตพืช (plant growth retardants) เป็นสารทสีงัเคราะห์ขึนมาเพือใช้

ประโยชนใ์นทางการเกษตร มีคณุสมบติัชะลอการแบง่เซลล์และชะลอการยืดตวัของเซลล์ในบริเวณใต้

ปลายยอดของกิงพืช ทําให้พืชทีได้รับสารมีความสูงน้อยลงกวา่ปกติ และมกัจะมีใบหนาและสีเขียวเข้ม

กวา่ปกติ มีผลทางอ้อมคือชว่ยการติดผล เร่งการออกดอก สารสงัเคราะหใ์นกลุ่มนี ได้แก ่ chlormequat

daminozide และ paclobutrazol เป็นต้น (พีรเดช, 2529)

paclobutrazol (PBZ) มีคณุสมบติัชว่ยเพิมความแข็งแรงให้พืช เร่งการออกดอก ลดความยาว

ของปล้อง ยบัยงัการสงัเคราะห์จิบเบอเรลลิน เคลือนย้ายในลําต้นผ่านทางทอ่ลําเลียงนาํ ซงึมีราย

งานวิจยัทีเกียวข้องกบัการนํา PBZ มาใช้ในการชกันําให้เกิดดอก ตวัอยา่งเชน่ Te-chato et al. (2009)

เพาะเลียงส่วนยอดของกล้วยไม้หวาย Dendrobium Friederick ในสภาพปลอดเชอืบนอาหารสูตร MS

ร่วมกบัการเติม PBZ ความเข้มข้น 0.025, 0.05, 0.075 หรือ 0.1 มิลลิกรัมตอ่ลิตร พบวา่ PBZ ความ

เข้มข้น 0.05 มิลลิกรัมตอ่ลิตร สามารถชกันําให้เกิดตาดอกได้ 29 เปอร์เซ็นต์

ดงันนัการทดลองนีจงึมีวตัถปุระสงค์เพือศกึษาชนิดและระดบัของสารควบคมุการเจริญเติบโต

พืชชนิดตา่ง ๆ ได้แก ่benzyladenine paclobutrazol thidiazuron และ forchlorfenuron ในการชกันํา

กล้วยไม้หวาย Dendrobium bigibbum var. compactum ให้ออกดอกในขวดภายใต้สภาพปลอดเชือ

Page 10: ปัญหาพิเศษ ปริญญาตรี - Kasetsart Universitylib.kps.ku.ac.th/SpecialProject/Horticulture/2557/Bs/...เรลล น ไซโตไคน น

5

อุปกรณ์และวิธีการ

นํากล้วยไม้หวาย Dendrobium bigibbum var. compactum ทีได้จากการเพาะเมล็ดในสภาพ

ปลอดเชือ ในอาหารสูตร VW (Vacin and Went) ทีอายปุระมาณ 1 ปี ความสงูประมาณ 4 - 7 เซนติเมตร

มีใบ 4 - 6 ใบ ทําการคดัเลือกต้นทีมีลกัษณะความสมบรูณ์ใกล้เคียงกนั นํามาตดัรากออกแล้วย้ายลง

เพาะเลียงบนอาหารแข็งสูตร MS (Murashige and Skoog, 1962) ทีดดัแปลงโดยเพิมฟอสฟอรสั (P) ใน

รูปของ KH2PO4 ขึน 5 เทา่ และลดไนโตรเจน (N) ในรูปของ KNO3 ลง 20 เทา่ ร่วมกบัการเติมสารควบคมุ

การเจริญเติบโตพืช 4 ชนิดทีระดบัความเข้มข้นตา่ง ๆ คือ benzyladenine (BA) ทีระดบัความเข้มข้น 0.5

1 และ 2 มิลลิกรัมตอ่ลิตร paclobutrazol (PBZ) ทีระดบัความเข้มข้น 0.25 0.5 และ 1 มิลลิกรัมตอ่ลิตร

thidiazuron (TDZ) ทีระดบัความเข้มข้น 0.05 0.1 และ 0.5 มิลลิกรัมตอ่ลิตร และ forchlorfenuron

(CPPU) ทีระดบัความเข้มข้น 1 และ 5 มิลลิกรัมตอ่ลิตร เพาะเลียง 1 ต้นตอ่ 1 ขวด เพาะเลียงเป็นเวลา 6

เดือน อาหารในแตล่ะสูตรเติมนาํตาลซูโครส 30 กรัมตอ่ลิตร ผงวุ้น 8.5 กรัมตอ่ลิตร ปรับคา่ pH เทา่กบั

5.7 ตวงใสข่วดทดลองขนาด 8 ออนซ์ ขวดละ 40 มิลลิลิตร เพาะเลียงทอีณุหภูมิ 25±2 องศาเซลเซียส

สภาพแสง 55 ไมโครโมล/ตารางเมตร/วินาที เปลียนย้ายอาหารทกุ 1 เดือน สงัเกตการเปลียนแปลงและ

บนัทกึผล

วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design;CRD ทําการทดลองทงัหมด 12

ทรีทเมนต์ ทรีทเมนต์ละ 6 ซํา ซําละ 1 ต้น วิเคราะห์ทางสถิติด้วยวิธี Analysis of variance (ANOVA)

และเปรียบเทียบคา่เฉลียด้วยวธีิ Duncan’s Multiple Range Test (DMRT) โดยกําหนดทรีทเมนต์ตา่งๆ

ดงัน ี

Page 11: ปัญหาพิเศษ ปริญญาตรี - Kasetsart Universitylib.kps.ku.ac.th/SpecialProject/Horticulture/2557/Bs/...เรลล น ไซโตไคน น

6

ตารางที 1 อาหารสูตรตา่ง ๆ ทีใช้ในการเพาะเลียงเนอืเยือกล้วยไม้หวาย Dendrobium bigibbum

var. compactum เพือชกันําการออกดอก

ทรีทเมนต์ สูตรอาหาร

1. MS+P5N/20 (Control) ไมเ่ติมสารควบคมุการเจริญเติบโตพืช

2. MS+P5N/20+BA0.5 เติม BA ทีระดบัความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมตอ่ลิตร

3. MS+P5N/20+ BA1 เติม BA ทีระดบัความเข้มข้น 1.0 มิลลิกรัมตอ่ลิตร

4. MS+P5N/20+BA2 เติม BA ทีระดบัความเข้มข้น 2.0 มิลลิกรัมตอ่ลิตร

5. MS+P5N/20+PBZ0.25 เติม PBZ ทีระดบัความเข้มข้น 0.25 มิลลิกรัมตอ่ลิตร

6. MS+P5N/20+PBZ0.5 เติม PBZ ทีระดบัความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมตอ่ลิตร

7. MS+P5N/20+PBZ1 เติม PBZ ทีระดบัความเข้มข้น 1.0 มิลลิกรัมตอ่ลิตร

8. MS+P5N/20+TDZ0.05 เติม TDZ ทรีะดบัความเข้มข้น 0.05 มิลลิกรัมตอ่ลิตร

9. MS+P5N/20+TDZ0.1 เติม TDZ ทีระดบัความเข้มข้น 0.1 มิลลิกรัมตอ่ลิตร

10. MS+P5N/20+TDZ0.5 เติม TDZ ทีระดบัความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมตอ่ลิตร

11. MS+P5N/20+CPPU1 เติม CPPU ทีระดบัความเข้มข้น 1.0 มิลลิกรัมตอ่ลิตร

12. MS+P5N/20+CPPU5 เติม CPPU ทีระดบัความเข้มข้น 5.0 มิลลิกรัมตอ่ลิตร

การบันทกึผลการทดลอง

สงัเกตการออกดอกตงัแตเ่ริมทําการทดลอง

- บนัทกึจํานวนวนัทีกล้วยไม้เริมแทงชอ่ดอกแรก (วนั)

เก็บผลการทดลองเมือเพาะเลียงครบ 6 เดือน

- วดัความสงูของลําต้น (เซนติเมตร)

- บนัทกึจํานวนใบ (ใบ) และจํานวนลําลูกกล้วย (ลํา)

- วดัเส้นผา่นเส้นศนูย์กลางลําต้น (มิลลิเมตร)

- ชงันําหนกัสดและนําหนกัแห้งของลําต้น (กรัม)

- คํานวณเปอร์เซน็ต์การออกดอก (เปอร์เซ็นต์)

สถานทแีละระยะเวลาในการทาํการทดลอง

ทําการทดลอง ณ ห้องปฏิบติัการเพาะเลียงเนือเยือพืช ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร

กําแพงแสน มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกําแพงแสน จงัหวดันครปฐม ระยะเวลาทําการทดลอง

ระหวา่งเดือนเมษายน - ตลุาคม 2556

Page 12: ปัญหาพิเศษ ปริญญาตรี - Kasetsart Universitylib.kps.ku.ac.th/SpecialProject/Horticulture/2557/Bs/...เรลล น ไซโตไคน น

7

ผลการทดลอง

ผลของการชกันําให้กล้วยไม้หวาย Dendrobium bigibbum var. compactum ออกดอกภายใน

ขวดทดลอง โดยเพาะเลียงบนอาหารแข็งสูตร MS ดดัแปลงร่วมกบัการเติมสารควบคมุการเจริญเติบโต

พืช BA ทีระดบัความเข้มข้น 0.5 1 และ 2 มิลลิกรัมตอ่ลิตร หรือ PBZ ทีระดบัความเข้มข้น 0.25 0.5 และ

1 มิลลิกรัมตอ่ลิตร หรือ TDZ ทีระดบัความเข้มข้น 0.05 0.1 และ 0.5 มิลลิกรัมตอ่ลิตร หรือ CPPU ที

ระดบัความเข้มข้น 1 และ 5 มิลลิกรัมตอ่ลิตร เพาะเลียงเป็นเวลา 6 เดือน พบวา่การใช้สารควบคมุการ

เจริญเติบโตพืชชนิดตา่ง ๆ มีผลตอ่การเจริญเติบโตและการออกดอกของกล้วยไม้หวายแคระดงันี

ความสงูลาํต้น

จากการวเิคราะห์ทางสถิติพบวา่ ความสูงเฉลียของลําต้นของกล้วยไม้หวายแคระมีความ

แตกตา่งกนัอยา่งมีนยัสําคญั โดยกล้วยไม้หวายแคระทีเพาะเลียงบนอาหารแข็งสูตร MS ดดัแปลงทไีมมี่

การเติมสารควบคมุการเจริญเติบโตพืช (ชดุควบคมุ) มีความสงูเฉลียของลําต้นมากทสีุดคือ 10.50

เซนติเมตร กล้วยไม้หวายแคระทีเพาะเลียงบนอาหารแข็งสูตร MS ดดัแปลงร่วมกบัการเติมสารควบคมุ

การเจริญเติบโตพืช BA ทีระดบัความเข้มข้น 0.5 - 2 มิลลิกรัมตอ่ลิตร PBZ ทรีะดบัความเข้มข้น 0.25 - 1

มิลลิกรัมตอ่ลิตร และ CPPU ทีระดบัความเข้มข้น 1 – 5 มิลลิกรัมตอ่ลิตร มีความสงูเฉลียอยูใ่นชว่ง 8.08

- 10.33 เซนติเมตร, 5.25 - 6.00 เซนติเมตร และ 2.25 - 3.33 เซนติเมตร ตามลําดบั ส่วนกล้วยไม้หวาย

แคระทเีพาะเลียงบนอาหารแข็งสูตร MS ดดัแปลงร่วมกบัการเติมสารควบคมุการเจริญเติบโตพืช TDZ ที

ระดบัความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมตอ่ลิตร มีความสงูเฉลียของลําต้นน้อยทสีุดคือ 2.25 เซนติเมตร (ตาราง

ที 1)

เส้นผ่านศูนย์กลางลาํต้น

จากการวเิคราะห์ทางสถิติพบวา่ เส้นผ่านศนูย์กลางลําต้นโดยเฉลียของกล้วยไม้หวายแคระมี

ความแตกตา่งกนัอยา่งมีนยัสําคญั โดยกล้วยไม้หวายแคระทีเพาะเลียงบนอาหารแข็งสูตร MS ดดัแปลง

ร่วมกบัการเติมสารควบคมุการเจริญเติบโตพืช PBZ ทีระดบัความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมตอ่ลิตร มีขนาด

เส้นผ่านศนูย์กลางลําต้นเฉลียมากทสีุดคือ 77.17 มิลลิเมตร ส่วนกล้วยไม้หวายแคระทเีพาะเลียงบน

อาหารแข็งสูตร MS ดดัแปลงร่วมกบัการเติมสารควบคมุการเจริญเติบโตพืช BA ทีระดบัความเข้มข้น 2

มิลลิกรัมตอ่ลิตร มีขนาดเส้นผ่านศนูย์กลางลําต้นเฉลียน้อยทสีุดคือ 32.50 มิลลิเมตร (ตารางที 1)

Page 13: ปัญหาพิเศษ ปริญญาตรี - Kasetsart Universitylib.kps.ku.ac.th/SpecialProject/Horticulture/2557/Bs/...เรลล น ไซโตไคน น

8

จาํนวนใบและจาํนวนลาํลกูกล้วย

จากการวเิคราะห์ทางสถิติพบวา่ จํานวนใบเฉลียและจาํนวนลําลูกกล้วยเฉลียของกล้วยไม้หวาย

แคระมีความแตกตา่งกนัอยา่งมีนยัสําคญั โดยกล้วยไม้หวายแคระทเีพาะเลียงบนอาหารแข็งสูตร MS

ดดัแปลงทีไมมี่การเติมสารควบคมุการเจริญเติบโตพืช (ชดุควบคมุ) มีจํานวนใบเฉลียมากทีสุดคือ 52.67

ใบ และมีจํานวนลําลูกกล้วยเฉลียมากทีสุดคือ 10.17 ลํา ส่วนกล้วยไม้หวายแคระทีเพาะเลียงบนอาหาร

แข็งสูตร MS ดดัแปลงร่วมกบัการเติมสารควบคมุการเจริญเติบโตพืช CPPU ทีระดบัความเข้มข้น 1

มิลลิกรัมตอ่ลิตร มีจํานวนใบเฉลียน้อยทสีุดคือ 15.67 ใบและมีจํานวนลําลกูกล้วยเฉลียน้อยทสีุดคือ

4.50 ลํา (ตารางที 2)

นําหนักสดส่วนต้นและใบ

จากการวเิคราะห์ทางสถิติพบวา่ นําหนกัสดส่วนต้นและใบของกล้วยไม้หวายแคระทีเพาะเลียง

ในอาหารสูตรตา่ง ๆ มีความแตกตา่งกนัอยา่งมีนยัสําคญั โดยกล้วยไม้หวายแคระทีเพาะเลียงบนอาหาร

แข็งสูตร MS ดดัแปลงร่วมกบัการเติมสารควบคมุการเจริญเติบโตพืช PBZ ทีระดบัความเข้มข้น 0.25

มิลลิกรัมตอ่ลิตร มีนาํหนกัสดสว่นต้นและใบเฉลียมากทีสุดคือ 11.53 กรัม ส่วนกล้วยไม้หวายแคระที

เพาะเลียงบนอาหารแข็งสูตร MS ดดัแปลงร่วมกบัการเติมสารควบคมุการเจริญเติบโตพืช CPPU ทีระดบั

ความเข้มข้น 1 มิลลิกรัมตอ่ลิตร มีนําหนกัสดส่วนต้นและใบเฉลียน้อยทสีุดคือ 1.22 กรัม (ตารางที 3)

นําหนักแห้งส่วนต้นและใบ

จากการวเิคราะห์ทางสถิติพบวา่ นําหนกัแห้งสว่นต้นและใบของกล้วยไม้หวายแคระมีความ

สอดคล้องกบัคา่เฉลียของนําหนกัสดสว่นต้นและใบ โดยกล้วยไม้หวายแคระทีเพาะเลียงบนอาหารแข็ง

สูตร MS ดดัแปลงร่วมกบัการเติมสารควบคมุการเจริญเติบโตพืช PBZ ทีระดบัความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัม

ตอ่ลิตร มีนําหนกัแห้งส่วนต้นและใบเฉลียมากทสีุดคือ 1.76 กรัม ส่วนกล้วยไม้หวายแคระทเีพาะเลียงบน

อาหารแข็งสูตร MS ดดัแปลงร่วมกบัการเติมสารควบคมุการเจริญเติบโตพืช CPPU ทีระดบัความเข้มข้น

1 มิลลิกรัมตอ่ลิตร มีนําหนกัแห้งส่วนต้นและใบเฉลียน้อยทสีดุคือ 0.13 กรัม (ตารางที 3)

Page 14: ปัญหาพิเศษ ปริญญาตรี - Kasetsart Universitylib.kps.ku.ac.th/SpecialProject/Horticulture/2557/Bs/...เรลล น ไซโตไคน น

9

การออกดอก

กล้วยไม้หวายแคระทีเพาะเลียงบนอาหารแข็งสูตร MS ดดัแปลงร่วมกบัการเติมสารควบคมุการ

เจริญเติบโตพืช TDZ ทีระดบัความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมตอ่ลิตร หรือ CPPU ทีระดบัความเข้มข้น 1

มิลลิกรัมตอ่ลิตร หรือ CPPU ทีระดบัความเข้มข้น 5 มิลลิกรัมตอ่ลิตร มีเปอร์เซ็นต์การเกิดชอ่ดอกมาก

ทีสุดคือ 100 เปอร์เซ็นต์ ส่วนกล้วยไม้หวายแคระทีเพาะเลียงบนอาหารแข็งสูตร MS ดดัแปลงร่วมกบัการ

เติมสารควบคมุการเจริญเติบโตพืช BA ทีระดบัความเข้มข้น 2 มิลลิกรัมตอ่ลิตร หรือ PBZ ทีระดบัความ

เข้มข้น 0.25 มิลลิกรัมตอ่ลิตร มีเปอร์เซ็นต์การเกิดชอ่ดอกน้อยทีสุดคือ 16.67 เปอร์เซ็นต์ และกล้วยไม้

หวายแคระทเีพาะเลียงบนอาหารแข็งสูตร MS ดดัแปลงทไีมมี่การเติมสารควบคมุการเจริญเติบโตพืช

(ชดุควบคมุ) ไมพ่บการเกิดชอ่ดอก (ตารางที 4)

จาํนวนวันทเีริมแทงช่อดอก

กล้วยไม้หวายแคระทีเพาะเลียงบนอาหารแข็งสูตร MS ดดัแปลงร่วมกบัการเติมสารควบคมุการ

เจริญเติบโตพืช CPPU ทีระดบัความเข้มข้น 5 มิลลิกรัมตอ่ลิตร มีการเกิดชอ่ดอกเร็วทสีุดคือ 66 วนัหลงั

เพาะเลียง ส่วนกล้วยไม้หวายแคระทเีพาะเลียงบนอาหารแข็งสูตร MS ดดัแปลงร่วมกบัการเติมสาร

ควบคมุการเจริญเติบโตพืช PBZ ทีระดบัความเข้มข้น 0.25 มิลลิกรัมตอ่ลิตร มีการเกิดชอ่ดอกช้าทสีุดคือ

144 วนัหลงัเพาะเลียง (ตารางที 4)

ลักษณะช่อดอก

ดอกกล้วยไม้หวายแคระทเีพาะเลียงบนอาหารแข็งสูตร MS ดดัแปลงร่วมกบัการเติมสารควบคมุ

การเจริญเติบโตพืช BA ทีระดบัความเข้มข้น 2 มิลลิกรัมตอ่ลิตร หรือ PBZ ทีระดบัความเข้มข้น 0.25

มิลลิกรัมตอ่ลิตร มีลกัษณะเป็นตุม่ดอกเล็ก ๆ อยูเ่ดียว ๆ บนก้านชอ่ดอกทียาว ดอกมีอาการฝ่อไปไม่

พฒันาไปเป็นดอกทสีมบรูณ์ (ภาพที 1 A และ B) ดอกกล้วยไม้หวายแคระทเีพาะเลียงบนอาหารแข็งสูตร

MS ดดัแปลงร่วมกบัการเติมสารควบคมุการเจริญเติบโตพืช CPPU ทีระดบัความเข้มข้น 1 หรือ 5

มิลลิกรัมตอ่ลิตร มีลกัษณะเป็นชอ่ดอก ดอกเป็นตุม่เล็ก ๆ อยูบ่นชอ่ดอกทสีนั (ภาพที 1 C และ D) และ

ดอกกล้วยไม้หวายแคระทเีพาะเลียงบนอาหารแข็งสูตร MS ดดัแปลงร่วมกบัการเติมสารควบคมุการ

เจริญเติบโตพืช TDZ ทีระดบัความเข้มข้นทกุระดบั มีลกัษณะดอกเป็นชอ่ดอก ดอกมีลกัษณะคล้ายใบ

ซ้อน ๆ กนั ชอ่ดอกสนั (ภาพที 2 A - C) ส่วนดอกกล้วยไม้หวายแคระทีสามารถสงัเกตเห็นสีของกลีบดอก

เป็นสีมว่งออ่น ๆ นนัพบในกล้วยไม้หวายแคระทเีพาะเลียงบนอาหารแข็งสูตร MS ดดัแปลงร่วมกบัการ

เติมสารควบคมุการเจริญเติบโตพืช CPPU ทีระดบัความเข้มข้น 5 มิลลิกรัมตอ่ลิตร (ภาพที 3)

Page 15: ปัญหาพิเศษ ปริญญาตรี - Kasetsart Universitylib.kps.ku.ac.th/SpecialProject/Horticulture/2557/Bs/...เรลล น ไซโตไคน น

10

ตารางที 1 ความสงูและขนาดเส้นผา่นศนูย์กลางของลําต้นของ Dendrobium bigibbum var.

compactum หลงัเพาะเลียงบนอาหารแข็งสูตร MS ดดัแปลงร่วมกบัการเติมสารควบคมุ

การเจริญเติบโตพืชทีระดบัความเข้มข้นตา่ง ๆ เป็นระยะเวลา 6 เดือน

สูตรอาหาร ความสงูเฉลียของลําต้น (ซม.)1/ เส้นผ่านศนูย์กลาง (มม.)1/

1.MS+P5N/20 (Control) 10.50 a 45.67 bc

2.MS+P5N/20+BA0.5 5.67 c 42.33 bc

3.MS+P5N/20+BA1 5.25 c 33.50 bc

4.MS+P5N/20+BA2 6.08 c 32.50 c

5.MS+P5N/20+PBZ0.25 10.33 a 74.33 a

6.MS+P5N/20+PBZ0.5 8.08 b 77.17 a

7.MS+P5N/20+PBZ1 8.75 b 68.67 a

8 MS+P5N/20+TDZ0.05 3.50 d 47.50 b

9.MS+P5N/20+TDZ0.1 3.08 d 41.50 bc

10.MS+P5N/20+TDZ0.5 2.25 d 34.33 bc

11.MS+P5N/20+CPPU1 3.33 d 41.50 bc

12.MS+P5N/20+CPPU5 2.25 d 42.00 bc

F-Test ** **

** คา่เฉลียมีความแตกตา่งกนัทางสถิติทีระดบัความเชือมนั 99 เปอร์เซน็ต์ 1/ คา่เฉลียทีมีอกัษรตา่งกนัมีความแตกตา่งกนัอยา่งมีนยัสําคญัทางสถิติ เมือเปรียบเทียบคา่เฉลียด้วยวธีิ

Duncan's New Multiple Range Test (DMRT) ทีระดบัความเชือมนั 99 เปอร์เซ็นต์

Page 16: ปัญหาพิเศษ ปริญญาตรี - Kasetsart Universitylib.kps.ku.ac.th/SpecialProject/Horticulture/2557/Bs/...เรลล น ไซโตไคน น

11

ตารางที 2 จํานวนใบเฉลียและจํานวนลําลูกกล้วยเฉลียของ Dendrobium bigibbum var.

compactum หลงัเพาะเลียงบนอาหารแข็งสูตร MS ดดัแปลงร่วมกบัการเติมสารควบคมุ

การเจริญเติบโตพืชทีระดบัความเข้มข้นตา่ง ๆ เป็นระยะเวลา 6 เดือน

สูตรอาหาร จํานวนใบเฉลีย (ใบ)1/ จํานวนลําลูกกล้วยเฉลีย (ลํา)1/

1.MS+P5N/20 (Control) 52.67 a 10.17 a

2.MS+P5N/20+BA0.5 34.83 bcd 8.33 abc

3.MS+P5N/20+BA1 28.17 de 6.17 cde

4.MS+P5N/20+BA2 26.50 de 5.50 de

5.MS+P5N/20+PBZ0.25 39.83 b 9.17 ab

6.MS+P5N/20+PBZ0.5 31.00 cde 6.50 cde

7.MS+P5N/20+PBZ1 29.00 cde 7.00 bcde

8 MS+P5N/20+TDZ0.05 27.83 de 7.67 abcd

9.MS+P5N/20+TDZ0.1 25.33 e 5.50 de

10.MS+P5N/20+TDZ0.5 31.67 bcde 7.83 abcd

11.MS+P5N/20+CPPU1 15.67 f 4.50 e

12.MS+P5N/20+CPPU5 37.00 bc 8.33 abc

F-Test ** **

** คา่เฉลียมีความแตกตา่งกนัทางสถิติทีระดบัความเชือมนั 99 เปอร์เซน็ต์ 1/ คา่เฉลียทีมีอกัษรตา่งกนัมีความแตกตา่งกนัอยา่งมีนยัสําคญัทางสถิติ เมือเปรียบเทียบคา่เฉลียด้วยวธีิ

Duncan's New Multiple Range Test (DMRT) ทีระดบัความเชือมนั 99 เปอร์เซ็นต์

Page 17: ปัญหาพิเศษ ปริญญาตรี - Kasetsart Universitylib.kps.ku.ac.th/SpecialProject/Horticulture/2557/Bs/...เรลล น ไซโตไคน น

12

ตารางที 3 นําหนกัสดสว่นต้นและใบและนาํหนกัแห้งส่วนต้นและใบของ Dendrobium bigibbum

var. compactum หลงัเพาะเลียงบนอาหารแข็งสูตร MS ดดัแปลงร่วมกบัการเติมสาร

ควบคมุการเจริญเติบโตพืชทีระดบัความเข้มข้นตา่ง ๆ เป็นระยะเวลา 6 เดือน

สูตรอาหาร นําหนกัสดสว่นต้นและใบ (กรัม)1/ นําหนกัแห้งส่วนต้นและใบ (กรัม)1/

1.MS+P5N/20 (Control) 10.66 a 0.81 bc

2.MS+P5N/20+BA0.5 3.66 bc 0.37 c

3.MS+P5N/20+BA1 2.26 c 0.22 c

4.MS+P5N/20+BA2 2.64 bc 0.32 c

5.MS+P5N/20+PBZ0.25 11.53 a 1.73 a

6.MS+P5N/20+PBZ0.5 8.96 a 1.76 a

7.MS+P5N/20+PBZ1 5.17 b 1.16 ab

8 MS+P5N/20+TDZ0.05 3.04 bc 0.25 c

9.MS+P5N/20+TDZ0.1 2.12 c 0.17 c

10.MS+P5N/20+TDZ0.5 2.29 c 0.22 c

11.MS+P5N/20+CPPU1 1.22 c 0.13 c

12.MS+P5N/20+CPPU5 2.15 c 0.16 c

F-Test ** **

** คา่เฉลียมีความแตกตา่งกนัทางสถิติทีระดบัความเชือมนั 99 เปอร์เซน็ต์ 1/ คา่เฉลียทีมีอกัษรตา่งกนัมีความแตกตา่งกนัอยา่งมีนยัสําคญัทางสถิติ เมือเปรียบเทียบคา่เฉลียด้วยวธีิ

Duncan's New Multiple Range Test (DMRT) ทีระดบัความเชือมนั 99 เปอร์เซ็นต์

Page 18: ปัญหาพิเศษ ปริญญาตรี - Kasetsart Universitylib.kps.ku.ac.th/SpecialProject/Horticulture/2557/Bs/...เรลล น ไซโตไคน น

13

ตารางที 4 เปอร์เซ็นต์การออกดอกและจาํนวนวนัออกดอกเฉลียของ Dendrobium bigibbum var.

compactum หลงัเพาะเลียงบนอาหารแข็งสูตร MS ดดัแปลงร่วมกบัการเติมสารควบคมุ

การเจริญเติบโตพืชทีระดบัความเข้มข้นตา่ง ๆ เป็นระยะเวลา 6 เดือน

สูตรอาหาร เปอร์เซ็นต์การออกดอก (เปอร์เซ็นต์) จํานวนวนัออกดอกเฉลีย (วนั)

1.MS+P5N/20 (Control) 0 0

2.MS+P5N/20+BA0.5 0 0

3.MS+P5N/20+BA1 0 0

4.MS+P5N/20+BA2 16.67 117

5.MS+P5N/20+PBZ0.25 16.67 144

6.MS+P5N/20+PBZ0.5 0 0

7.MS+P5N/20+PBZ1 0 0

8 MS+P5N/20+TDZ0.05 50 118

9.MS+P5N/20+TDZ0.1 66.67 116

10.MS+P5N/20+TDZ0.5 100 96

11.MS+P5N/20+CPPU1 100 126

12.MS+P5N/20+CPPU5 100 66

Page 19: ปัญหาพิเศษ ปริญญาตรี - Kasetsart Universitylib.kps.ku.ac.th/SpecialProject/Horticulture/2557/Bs/...เรลล น ไซโตไคน น

14

ภาพที 1 ลกัษณะชอ่ดอกของกล้วยไม้หวาย Dendrobium bigibbum var. compactum ทเีพาะเลียง

บนอาหารแข็งสูตร MS ดดัแปลงโดยเพิมฟอสฟอรัส (P) ขึน 5 เทา่ และลดไนโตรเจน (N) ลง

20 เทา่ร่วมกบัการเติม benzyladenine (BA) paclobutrazol (PBZ) หรือ forchlorfenuron

(CPPU) เป็นระยะเวลา 6 เดือน

A. Benzyladenine (BA) ทีระดบัความเข้มข้น 2 มิลลิกรัมตอ่ลิตร

B. paclobutrazol (PBZ) ทีระดบัความเข้มข้น 0.25 มิลลิกรัมตอ่ลิตร

C. forchlorfenuron (CPPU) ทีระดบัความเข้มข้น 1 มิลลิกรัมตอ่ลิตร

D. forchlorfenuron (CPPU) ทีระดบัความเข้มข้น 5 มิลลิกรัมตอ่ลิตร

A B

C D

Page 20: ปัญหาพิเศษ ปริญญาตรี - Kasetsart Universitylib.kps.ku.ac.th/SpecialProject/Horticulture/2557/Bs/...เรลล น ไซโตไคน น

15

ภาพที 2 ลกัษณะชอ่ดอกของกล้วยไม้หวาย Dendrobium bigibbum var. compactum ทีเพาะเลียง

บนอาหารแข็งสูตร MS ดดัแปลงโดยเพิมฟอสฟอรัส (P) ขึน 5 เทา่ และลดไนโตรเจน (N) ลง

20 เทา่ร่วมกบัการเติม thidiazuron (TDZ) ทีระดบัความเข้มข้นตา่งๆ เป็นระยะเวลา 6 เดือน

A. thidiazuron (TDZ) ทีระดบัความเข้มข้น 0.05 มิลลิกรัมตอ่ลิตร

B. thidiazuron (TDZ) ทีระดบัความเข้มข้น 0.1 มิลลิกรัมตอ่ลิตร

C. thidiazuron (TDZ) ทีระดบัความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมตอ่ลิตร

A B

C

Page 21: ปัญหาพิเศษ ปริญญาตรี - Kasetsart Universitylib.kps.ku.ac.th/SpecialProject/Horticulture/2557/Bs/...เรลล น ไซโตไคน น

16

ภาพที 3 ลกัษณะชอ่ดอกทสีามารถสงัเกตเห็นสีได้ของกล้วยไม้หวาย Dendrobium bigibbum var.

compactum ทเีพาะเลียงบนอาหารแข็งสูตร MS ดดัแปลงโดยเพิมฟอสฟอรสั (P) ขึน 5 เทา่

และลดไนโตรเจน (N) ลง 20 เทา่ร่วมกบัการเติมสารควบคมุการเจริญเติบโตพืช

forchlorfenuron (CPPU) ทรีะดบัความเข้มข้น 5 มิลลิกรัมตอ่ลิตร เป็นระยะเวลา 6 เดือน

Page 22: ปัญหาพิเศษ ปริญญาตรี - Kasetsart Universitylib.kps.ku.ac.th/SpecialProject/Horticulture/2557/Bs/...เรลล น ไซโตไคน น

17

วิจารณ์ผลการทดลอง

จากการชกันาํให้กล้วยไม้หวาย Dendrobium bigibbum var. compactum ให้ออกดอกภายใน

ขวดทดลอง โดยเพาะเลียงบนอาหารแข็งสูตร MS ดดัแปลงร่วมกบัการเติมสารควบคมุการเจริญเติบโต

พืชตา่งกนั 4 ชนิด คือ BA PBZ TDZ และ CPPU เพาะเลียงเป็นเวลา 6 เดือน พบวา่ กล้วยไม้หวายแคระ

ทีเพาะเลียงบนอาหารแข็งสูตร MS ดดัแปลงร่วมกบัการเติมสารควบคมุการเจริญเติบโตพืช TDZ ทีระดบั

ความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมตอ่ลิตร หรือ CPPU ทีระดบัความเข้มข้น 1 มิลลิกรัมตอ่ลิตร หรือ 5 มิลลิกรัม

ตอ่ลิตร มีเปอร์เซ็นต์การเกิดชอ่ดอกมากทสีุดคือ 100 เปอร์เซน็ต์ ระยะเวลาในการเกิดชอ่ดอก 96 วนัโดย

เฉลีย 126 วนัโดยเฉลียและ 66 วนัโดยเฉลียตามลําดบัดงัตารางที 4 เนืองจาก TDZ ทีระดบัความเข้มข้น

ตํา ๆ มีประสิทธิภาพในการส่งเสริมการพฒันาของตาดอก (Wang, 2009) ในปัจจบุนัยงัไมพ่บรายงาน

การวิจยัทเีกียวข้องกบัการนํา CPPU มาใช้ในการชกันําการออกดอกกล้วยไม้ในสภาพปลอดเชือ แต่

พบวา่มีการนาํมาใช้ในแพร์ โดยใช้สว่นยอดมาเพาะเลียง และใช้ร่วมกบั CPPU ความเข้มข้น 1 หรือ 5

มิลลิกรัมตอ่ลิตร แล้วพบวา่ สามารถชกันําให้เกิดดอกได้ 4 - 12 เปอร์เซ็นต์ (Harada and Murai, 1998)

ในกล้วยไม้หวายแคระทีเพาะเลียงบนอาหารแข็งสูตร MS ดดัแปลงร่วมกบัการเติมสารควบคมุการ

เจริญเติบโตพืช BA ทีระดบัความเข้มข้น 2 มิลลิกรัมตอ่ลิตร พบวา่มีเปอร์เซ็นต์การเกิดชอ่ดอกน้อยทสีุด

คือ 16.67 เปอร์เซ็นต์ อาจเป็นเพราะระดบัความเข้มข้นของ BA ทีใช้นนัตําเกินไปประสิทธิภาพในการชกั

นําให้เกิดชอ่ดอกจงึตํา ซงึสอดคล้องกบัที Wang (2009) ได้กล่าวไว้วา่การเพาะเลียงเนอืเยือโดยใช้ BA ที

ความเข้มข้นระดบัสงู ๆ จะมีประสิทธิภาพในการชกันาํตาดอกได้มากกวา่ BA ทีความเข้มข้นระดบัตํา ๆ

ส่วนกล้วยไม้หวายแคระทีไมไ่ด้รับการชกันําด้วยสารควบคมุการเจริญเติบโต พบวา่ไมส่ามารถออกดอก

ได้ภายในระยะเวลา 6 เดือน

ด้านการเจริญเติบโตทางด้านลําต้นและใบนนั พบวา่กล้วยไม้หวายแคระทเีพาะเลียงบนอาหาร

แข็งสูตร MS ดดัแปลงร่วมกบัการเติมสารควบคมุการเจริญเติบโตพืชทีตา่งชนิดกนันนัมีการเจริญเติบโตที

แตกตา่งกนัอยา่งมีนยัสําคญัทางสถิติ โดยกล้วยไม้หวายแคระทเีพาะเลียงบนอาหารแข็งสูตร MS

ดดัแปลงทีไมมี่การเติมสารควบคมุการเจริญเติบโตพืช (ชดุควบคมุ) มีความสูง จํานวนลําลูกกล้วย

จํานวนใบ และนําหนกัสดมากทสีุด เมือเปรียบเทียบกล้วยไม้หวายแคระทีเพาะเลียงในชดุควบคมุกบั

กล้วยไม้หวายแคระทีเพาะเลียงในสูตรอาหารทีเติมสารควบคมุการเจริญเติบโตพืช PBZ พบวา่กล้วยไม้

หวายแคระในสูตรอาหารทเีติมสารควบคมุการเจริญเติบโตพืช PBZ มีความสูงใกล้เคียงกบัชดุควบคมุ มี

ขนาดเส้นผ่านศนูย์กลางลําต้นและนําหนกัแห้งส่วนต้นและใบทีมากกวา่ชดุควบคมุดงัตารางที 1 และ 3

ทีเป็นเชน่นีเนอืงจาก PBZ มีคณุสมบติัส่งเสริมให้พืชมีการสะสมคาร์โบไฮเดรต จงึทําให้มีความสูงและ

ขนาดเส้นผ่านศนูย์ลําต้นมาก และทําให้พืชมีการสะสมของนําในลําต้นและใบน้อย (Wendy, 1985)

Page 23: ปัญหาพิเศษ ปริญญาตรี - Kasetsart Universitylib.kps.ku.ac.th/SpecialProject/Horticulture/2557/Bs/...เรลล น ไซโตไคน น

18

ส่งผลให้กล้วยไม้หวายแคระมีนําหนกัแห้งส่วนต้นและใบมากกวา่พืชทีไมไ่ด้รับสารควบคมุการ

เจริญเติบโตพืช PBZ

และเมือเปรียบเทียบกล้วยไม้หวายแคระทีเพาะเลียงในชดุควบคมุกบักล้วยไม้หวายแคระที

เพาะเลียงในสูตรอาหารทีเติมสารควบคมุการเจริญเติบโตพืช TDZ หรือ CPPU พบวา่กล้วยไม้หวาย

แคระในสูตรอาหารทเีติมสารควบคมุการเจริญเติบโตพืช TDZ หรือ CPPU มีความสงู จํานวนใบ จํานวน

ลําลูกกล้วย นําหนกัสดและแห้งของลําต้นและใบน้อยกวา่ชดุควบคมุดงัตารางที 1, 2 และ 3 ทีเป็นเชน่นี

เนืองจากกล้วยไม้หวายแคระทีเพาะเลียงในสูตรอาหารทีเติมสารควบคมุการเจริญเติบโตพืช TDZ หรือ

CPPU มีการเกิดชอ่ดอกขึน โดยการออกดอกของพืชเป็นการเปลียนสภาพจากการเจริญเติบโตทางด้าน

ลําต้นไปเป็นการเจริญเติบโตทางด้านการสืบพนัธ์ุ ซงึพืชโดยทวัไปนนัไมส่ามารถทีจะเจริญได้พร้อมกนัทงั

2 ด้าน ดงันนัเมือมีการเจริญเติบโตทางด้านการสืบพนัธ์ุก็จะชะลอการเจริญเติบโตทางด้านลําต้นและใบ

(พีรเดช, 2529)

จากการสงัเกตลกัษณะของชอ่ดอกทเีกิดขึน พบวา่สามารถสงัเกตเห็นสีของกลีบดอกได้ใน

กล้วยไม้หวายแคระทีเพาะเลียงในสูตรอาหารทีเติมสารควบคมุการเจริญเติบโตพืช CPPU ทีระดบัความ

เข้มข้น 5 มิลลิกรัมตอ่ลิตร ซงึมีสีมว่งอยูต่รงบริเวณโคนของกลีบดอก แตด่อกไมพ่ฒันาตอ่ไปเป็นดอกที

สมบรูณ์ได้เชน่เดียวกนักบัชอ่ดอกทเีกิดในทรีทเมนต์อืน ๆ เมือเวลาผ่านไปชอ่ดอกทเีกิดขึนจะมีสีนําตาล

แล้วเกิดอาการฝ่อไป อาจมีสาเหตมุาจากชนิดและปริมาณของธาตอุาหารหรือสารควบคมุการ

เจริญเติบโตพืชไมเ่หมาะสมตอ่การพฒันาของดอก จงึควรมีการปรับสูตรอาหารให้มีความเหมาะสมกบั

ระยะการพฒันาของกล้วยไม้หวายแคระ เพือให้ชอ่ดอกมีการพฒันาไปเป็นดอกทสีมบรูณ์ได้

ผลการทดลองนีได้สอดคล้องกบัการรายงานของ Harada and Murai (1998) ทีนําส่วนยอด

ของแพร์มาเพาะเลียงบนอาหารแข็งสูตร MS ร่วมกบัการเติม CPPU ความเข้มข้น 1 หรือ 5 มิลลิกรัมตอ่

ลิตร แล้วพบวา่ สามารถเกิดดอกได้ 4 - 12 เปอร์เซ็นต์ และชนิดของสารควบคมุการเจริญเติบโตพืชทีมี

ประสิทธิภาพในการชกันําให้เกิดชอ่ดอกได้ดีนอกจาก CPPU คือ TDZ รองลงมาคือ PBZ และ BA

สอดคล้องกบัการรายงานของ Wang et al. (2009) ทีกลา่ววา่ TDZ ทรีะดบัความเข้มข้นตํา (0.05 – 0.1

มิลลิกรัมตอ่ลิตร) และ PBZ ทรีะดบัความเข้มข้นสงู (0.5 - 1.0 มิลลิกรัมตอ่ลิตร) ส่งเสริมการพฒันาของ

ตาดอกได้ดีกวา่การใช้ BA (1 มิลลิกรัมตอ่ลิตร) ในการชกันําการออกดอกของ Dendrobium nobile

Page 24: ปัญหาพิเศษ ปริญญาตรี - Kasetsart Universitylib.kps.ku.ac.th/SpecialProject/Horticulture/2557/Bs/...เรลล น ไซโตไคน น

19

อยา่งไรก็ตามการเกิดดอกของกล้วยไม้หวายแคระนนัไมไ่ด้มีปัจจยักระตุ้นเพียงแคส่ารควบคมุ

การเจริญเติบโตพืชเพียงอยา่งเดียวเทา่นนั แตย่งัขึนอยูก่บัตวัของพืชเองด้วยวา่มีความพร้อมในการออก

ดอกมากน้อยเพียงใด และยงัมีปัจจยัอืน ๆ อีกทีสามารถกระตุ้นให้กล้วยไม้หวายแคระออกดอกได้

อยา่งเชน่ ชนิดและปริมาณธาตอุาหาร แสง อณุหภูมิ ความชนื

Page 25: ปัญหาพิเศษ ปริญญาตรี - Kasetsart Universitylib.kps.ku.ac.th/SpecialProject/Horticulture/2557/Bs/...เรลล น ไซโตไคน น

20

สรุปผลการทดลอง

กล้วยไม้หวาย Dendrobium bigibbum var. compactum สามารถชกันําให้เกิดชอ่ดอกได้ 100

เปอร์เซ็นต์ในอาหารแข็งสูตร MS ดดัแปลงโดยเพิมฟอสฟอรสั (P) ในรูปของ KH2PO4 ขึน 5 เทา่ และลด

ไนโตรเจน (N) ในรูปของ KNO3 ลง 20 เทา่ ร่วมกบัการเติมสารควบคมุการเจริญเติบโตพืชดงันี

1. forchlorfenuron (CPPU) ทีระดบัความเข้มข้น 5 มิลลิกรัมตอ่ลิตร สามารถสงัเกตเห็นชอ่ดอก

แรกได้เมือ 66 วนัโดยเฉลีย

2. thidiazuron (TDZ) ทีระดบัความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมตอ่ลิตร สามารถสงัเกตเห็นชอ่ดอกแรก

ได้เมือ 96 วนัโดยเฉลีย

3. forchlorfenuron (CPPU) ทีระดบัความเข้มข้น 1 มิลลิกรัมตอ่ลิตร สามารถสงัเกตเห็นชอ่ดอก

แรกได้เมือ 126 วนัโดยเฉลีย

สามารถสงัเกตเหน็สีของกลีบดอกได้บริเวณโคนของกลีบดอก ซงึพบในกล้วยไม้หวายแคระที

เพาะเลียงบนอาหารแข็งสูตร MS ดดัแปลงร่วมกบัการเติมสารควบคมุการเจริญเติบโตพืช CPPU ทีระดบั

ความเข้มข้น 5 มิลลิกรัมตอ่ลิตร แตด่อกพฒันาได้ไมส่มบรูณ์เกิดการฝ่อไป

Page 26: ปัญหาพิเศษ ปริญญาตรี - Kasetsart Universitylib.kps.ku.ac.th/SpecialProject/Horticulture/2557/Bs/...เรลล น ไซโตไคน น

21

เอกสารอ้างอิง

พีรเดช ทองอําไพ. 2529. ฮอร์โมนพืชและสารสงัเคราะห์แนวทางการใช้ประโยชนใ์นประเทศไทย. พิมพ์

ครังที1. หจก. ไดนามิคการพิมพ์, กรุงเทพฯ.

วราภรณ์ ฉุยฉาย. 2552. บทบาทของไทเดียซูรอนกบัการเพาะเลียงเนือเยือพืช. วารสารมหาวิทยาลยั

ราชภฏัยะลา. 4 (2), 123-135

CCA Biochemical Co., Inc. 1998. User Guide of Plant Growth Regulators. 1st ed. n.p.

Harada, H. and Y. Murai. 1998. In vitro flowering on long-term subcultured pear shoots.

Journal of Horticultural Science & Biotechnology 73(2): 225-228.

Hee, K.H., C.S. Loh. and H.H. Yeoh. 2007. Early in vitro flowering and seed production in

culture in Dendrobium Chao Praya Smile (Orchidaceae). Plant Cell Reports 26: 2055-

2062.

Minister. 2008. Approved conservation advice for Dendrobium bigibbum. the Environment

Protection and Biodiversity Conservation Act 1999. 1 p.

Öpik, H. and S. Rolfe. 2005. The Physiology of Flowering Plants. 4th e.d. Markono Print

Media Pte Ltd, Singapore

Sim, G.E., C.S. Loh and C.J. Goh. 2007. High frequency early in vitro flowering of

Dendrobium Madame Thong-In (Orchidaceae). Plant Cell Reports 26: 383-393.

Te-chato, S., P. Nijeen and S. Muangsorn. 2009. Paclobutrazol enhance budbreak and

flowering of Friederick’s Dendrobium orchid In vitro. Journal of Agricultural

Technology 5(1): 157-165.

Page 27: ปัญหาพิเศษ ปริญญาตรี - Kasetsart Universitylib.kps.ku.ac.th/SpecialProject/Horticulture/2557/Bs/...เรลล น ไซโตไคน น

22

Tee, C.S., M. Maziah and C.S. Tan. 2008. Induction of in vitro flowering in the orchid

Dendrobium Sonia 17. Biologia Planntarum 52(4): 723-726

Wang, Z.H., L. Wang and Q.S. Ye. 2009. High frequency early flowering from in vitro

seedlings of Dendrobium nobile. Scientia Horticulturae 122: 328-331.

Wieland, W.F. and R. L. Wample. 1985. Effects of paclobutrazol on growth photosynthesis

and carbohydrate content of ‘Delicious’ apples. Scientia Horticulturae 26: 139-147.

Ziv, M. and V. Naor. 2006. Flowering of geophytes in vitro. Propagation of Ornamental

Plants 6(1): 3-16.

Page 28: ปัญหาพิเศษ ปริญญาตรี - Kasetsart Universitylib.kps.ku.ac.th/SpecialProject/Horticulture/2557/Bs/...เรลล น ไซโตไคน น

23

ภาคผนวก

อาหารแข็งสูตร MS (Murashige and Skoog, 1962)

ชนิดสาร ความเข้มข้นในสูตรอาหาร (มิลลิกรัมตอ่ลิตร)

อาหารแข็งสูตร MS อาหารแข็งสูตร MS ดดัแปลง

ธาตุอาหารหลัก

NH4NO3

KNO3

CaCl2.2H2O

MgSO4. 7H2O

KH2PO4

(NH4)2SO4

Ca3(PO4)2

1650

1900

440

370

170

-

-

1650

95

440

370

850

-

-

ธาตุอาหารรอง

KI

H3BO3

MnSO4.4H2O

MnSO4.H2O

ZnSO4.7SO4

Na2MoO4.2H2O

CuSO4.5H2O

CoCl2.6H2O

Na2.EDTA

FeSO4.7H2O

0.83

6.2

22.3

-

8.6

0.25

0.025

0.025

37.2

27.8

0.83

6.2

22.3

-

8.6

0.25

0.025

0.025

37.2

27.8

วิตามินและสารอินทรีย์

Myo-ionsitol

Nicotinic acid

Pyridoxine.HCl

Thiamine.HCl

Glycine

100

0.5

0.5

0.1

2.0

100

0.5

0.5

0.1

2.0