สํานักงานชลประทานที่ 8 - ridkmcenter.rid.go.th › kmc08 ›...

13

Upload: others

Post on 24-Jun-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: สํานักงานชลประทานที่ 8 - RIDkmcenter.rid.go.th › kmc08 › km_59 › rec_59 › pdf › water_report.pdf · 2016-09-14 · มีล าห้วยสาขากระจายอยู่โดยรอบ
Page 2: สํานักงานชลประทานที่ 8 - RIDkmcenter.rid.go.th › kmc08 › km_59 › rec_59 › pdf › water_report.pdf · 2016-09-14 · มีล าห้วยสาขากระจายอยู่โดยรอบ

สํานักงานชลประทานท่ี 8

กรมชลประทาน มิถุนายน 2559

Page 3: สํานักงานชลประทานที่ 8 - RIDkmcenter.rid.go.th › kmc08 › km_59 › rec_59 › pdf › water_report.pdf · 2016-09-14 · มีล าห้วยสาขากระจายอยู่โดยรอบ

ค ำน ำ

จากปัญหาการเกิดอุทกภัยครั้งใหญ่ในพ้ืนที่จังหวัดสุรินทร์ โดยเฉพาะในเขตเทศบาลเมืองสุรินทร์ ก่อให้เกิดความเสียหายอย่างรุนแรงทั้งชีวิตทรัพย์สิน บ้านเรือนราษฎร สิ่งปลูกสร้าง สาธารณประโยชน์ และพ้ืนที่การเกษตร ส านักงานชลประทานที่ 8 ได้ด าเนินการบริหารจัดการน้ าล าห้วยทัพพล โดยอาศัยข้อมูลจากการตรวจสอบสภาพภูมิประเทศในสนาม และข้อมูลจากรายงานการศึกษาความเหมาะสมของโครงการพัฒนาแหล่งน้ าและโครงการปรับปรุงเพ่ิมประสิทธิภาพระบบชลประทานต่างๆ ที่ได้มีการศึกษาความเหมาะสมของโครงการและแนวทางการแก้ไขปัญหาไว้ในพ้ืนที่ห้วยทัพพล เพ่ือรวบรวมและน าข้อมูลมาสรุปจัดท ารายงานการบริหารจัดการน้ าห้วยทัพพลอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพ่ือบรรจุเข้าในคลังความรู้ สชป.8 (KM)

คณะผู้จัดท ารายงานหวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานฉบับดังกล่าวนี้จะเป็นแนวทางในการบริหารจัดการน้ าล าห้วยทัพพล ต่อไป หากมีข้อเสนอแนะเพ่ือให้เกิดความสมบูรณ์ของรายงาน กรุณาจัดส่งข้อคิดเห็นดังกล่าวมายังคณะผู้จัดท ารายงานเพ่ือที่จะได้ปรับปรุงรายงานให้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น คณะผู้จัดท ารายงานขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ ด้วย

ขอขอบพระคุณท่านผู้อ านวยการส านักงานชลประทานที่ 8 (นายชิตชนก สมประเสริฐ) ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านวิศวกรรมชลประทาน (ด้านการพัฒนาแหล่งน้ าและจัดการน้ าในพ้ืนที่ลุ่มน้ า ส านักงานชลประทานที่ 8) (นายประหยัด กมลพัฒนะ) ผู้อ านวยการส่วนวิศวกรรม (นายสุนัย กล่ ามอญ) ผู้อ านวยการโครงชลประทานสุรินทร์ (นายเจษฎา บุญสุยา) หัวหน้าฝ่ายวิศวกรรม โครงชลประทานสุรินทร์(นายพัฒนศักดิ์ แก้วหอม) และผู้เกี่ยวข้องทุกท่าน ที่อนุเคราะห์ข้อมูลตลอดทั้งให้ค าแนะน าในการจัดท ารายงานฉบับนี้เพ่ือใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ จนส าเร็จลุล่วงไปด้วยดี

ฝ่ายพิจารณาโครงการ ส่วนวิศวกรรม

ส านักงานชลประทานที่ 8

Page 4: สํานักงานชลประทานที่ 8 - RIDkmcenter.rid.go.th › kmc08 › km_59 › rec_59 › pdf › water_report.pdf · 2016-09-14 · มีล าห้วยสาขากระจายอยู่โดยรอบ

สารบัญ หน้า

1. ความเป็นมา 1 2. วัตถุประสงค์ 1 3. สภาพปัญหา 1 4. แนวทางการแก้ไขปัญหา 2 5. ข้อมูลด้านวิศวกรรม เพ่ือการออกอแบบงานปรับปรุงระบบน ้าล้าห้วยทัพพล 5 6. การประมาณราคาก่อสร้าง 6 7. ผลประโยชน์ของโครงการ 6 8. สรุปการพิจารณาโครงการเบื องต้น 6 9. ข้อเสนอแนะ 7 10. ผู้ให้ข้อมูลเพ่ิมเติม 8

Page 5: สํานักงานชลประทานที่ 8 - RIDkmcenter.rid.go.th › kmc08 › km_59 › rec_59 › pdf › water_report.pdf · 2016-09-14 · มีล าห้วยสาขากระจายอยู่โดยรอบ

1

โครงการบริหารจัดการน ้าล้าห้วยทัพพล

จังหวัดสุรินทร์

1. ความเป็นมา

ตามที่ได้เกิดปัญหาอุทกภัยในเขตพ้ืนที่รอบนอกและในเขตเทศบาลเมืองสุรินทร์ เมื่อเกิดฝนตกหนักติดต่อกันในพ้ืนที่ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ก่อให้เกิดความเสียหายแก่พ้ืนที่เศรษฐกิจและชุมชนเมืองที่มีราษฎรอาศัยอยู่หนาแน่น โครงการชลประทานสุรินทร์ได้ประสานมายังฝ่ายพิจารณาโครงการ ส่วนวิศวกรรม ส านักงานชลประทานที่ 8 เพ่ือเข้าพิจารณาตรวจสอบสภาพภูมิประเทศ ศึกษา วิเคราะห์ปัญหา เพ่ือก าหนดแนวทาง ที่เหมาะสมในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว ต่อไป

2. วัตถุประสงค์

เพ่ือเป็นการแก้ไขปัญหาการระบายน้ าของเขตชุมชนเทศบาลเมืองสุรินทร์และบริเวณโดยรอบ ให้สามารถระบายน้ าลงสู่ล าห้วยทัพพลได้อย่างคล่องตัว ลดปัญหาน้ าท่วมขัง ลดความสูญเสียอันเกิดจากภัยน้ าท่วม ตลอดจนเป็นการจัดการระบบบริหารจัดการน้ าในล าห้วยทัพพลทั้งระบบ

3. สภาพปัญหา

จากการตรวจสอบข้อมูลในสนามพบว่า สาเหตุน้ าท่วมในบริเวณเขตชุมชนเทศบาลเมืองสุรินทร์และบริเวณโดยรอบมีสาเหตุ ดังนี้

3.1 เกิดจากความสามารถในการระบายน้ าภายในพ้ืนที่ชุมชนเมือง ระบายน้ าได้จ ากัด เมื่อปริมาณน้ าท่าที่เกิดจากฝนตกภายในพ้ืนที่มีปริมาณมาก เนื่องจากฝนที่ตกในพ้ืนที่ติดต่อกันในช่วงระยะเวลาหนึ่ง จะเกิดการสะสมของปริมาณน้ าในพ้ืนที่ระบบระบายน้ าที่จะรวบรวมและน าน้ าออกจากเขตเทศบาลเมืองสุรินทร์ยังมีความสามารถในการรองรับอัตราการไหลของน้ าที่น้อยกว่าปริมาณน้ าฝนที่ตกลงมา ท าให้เกิดปัญหาน้ าเอ่อล้นจากบริเวณถนนที่มีระดับต่ าเข้าสู่เขตชุมชน ประกอบกับพ้ืนที่เขตชุมชนเทศบาลเมืองสุรินทร์มีพ้ืนที่ติดกับที่ราบลุ่ม มีล าห้วยสาขากระจายอยู่โดยรอบ รวมทั้งล าห้วยเสนงและล าห้วยทัพพล ซึ่งในฤดูน้ าหลากจะมีปริมาณน้ าจากที่ลุ่มดังกล่าวไหลเข้ามาสมทบกับปริมาณน้ าหลากท่ีเกิดจากพ้ืนที่รับน้ าของตัวเองด้วย ตลอดจนสภาพโดยทั่วไปของเขตชุมชนเทศบาลเมืองสุรินทร์ มีพ้ืนที่การเกษตร ชุมชน โรงงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ เป็นจ านวนมาก มีการตัดถนนสายต่าง ๆ หลายเส้นทาง ในบางเส้นทางมีอาคารท่อลอดถนนไม่เพียงพอต่อการระบายน้ าในพ้ืนที่รับน้ า ท าให้มีปริมาณน้ าท่าในพื้นที่มาก จึงเป็นสาเหตุของน้ าท่วม

3.2 เกิดจากความสามารถในการระบายน้ าในล าน้ าธรรมชาติระบายน้ าได้จ ากัด ล าน้ าธรรมชาติที่เป็นเส้นทางระบายน้ าหลักที่จะน าน้ าออกจากเขตชุมชนเมืองสุรินทร์และพ้ืนที่รอบนอก คือ ล าห้วยทัพพล

ล าห้วยทัพพลเป็นล าน้ าขนาดเล็ก มีน้ าไหลไม่ตลอดปี จะมีปริมาณน้ าหลากมาในช่วงเดือนสิงหาคมถึงเดือนตุลาคมเป็นประจ าทุกปีซึ่งเป็นช่วงฤดูฝน ส่วนในฤดูแล้งจะมีปริมาณน้ าไหลน้อยหรือไม่มีน้ าไหลเลย

Page 6: สํานักงานชลประทานที่ 8 - RIDkmcenter.rid.go.th › kmc08 › km_59 › rec_59 › pdf › water_report.pdf · 2016-09-14 · มีล าห้วยสาขากระจายอยู่โดยรอบ

2

ล าห้วยทัพพลมีต้นน้ าเกิดจากที่ราบลุ่ม ทุ่งนา บริเวณบ้านตระเกียด ต าบลส าโรง ไหลจากทิศตะวันออกเฉียงใต้ขึ้นไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือผ่านต าบลสลักได ต าบลนอกเมือง ต าบลในเมือง ต าบลแกใหญ่ ต าบลท่าสว่าง ไปลงสู่ล าชีน้อย ซึ่งจะไหลต่อเนื่องลงสู่ล าน้ ามูลที่บริเวณบ้านโดนแบน ต าบลนาดี ระยะทางรวมทั้งสิ้นประมาณ 40 กม. มีพ้ืนที่รับน้ าฝนประมาณ 178 ตารางกิโลเมตร มีปริมาณน้ าท่าไหลผ่านประมาณ 48 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี จากการตรวจสอบพบว่า ล าห้วยทัพพลมีประสิทธิภาพในการระบายน้ าน้อยกว่าที่ควรจะเป็น เนื่องจากในล าห้วยทัพพลตลอดความยาวล าน้ ามีการก่อสร้างอาคารกีดขวางทางน้ าเป็นจ านวนมาก ทั้งที่สร้างโดยหน่วยงานราชการและองค์การบริหารส่วนท้องถิ่น การก่อสร้างฝายในล าน้ าเพ่ือเก็บกักน้ าไว้ ใช้ในฤดูแล้ง อาคารเหล่านี้จะลดความสามารถในการระบายน้ าผ่านล าน้ าธรรมชาติลงไปเป็นอันมาก การออกแบบสร้างฝายหากมีการยกฝายสูงหรือความยาวสั้นจนเกินไป ซึ่งไม่เป็นไปตามหลักวิศวกรรม ก็จะมีส่วนท าให้ความสามารถในการระบายน้ าลดลง เมื่อน้ ามีปริมาณการไหลในอัตราที่มากขึ้นอาคารเหล่านี้จะไม่สามารถระบายน้ าในช่วงเกิดน้ าหลากไปยังด้านท้ายน้ าได้ทัน และยังท าให้น้ าในล าน้ าไหลช้าลงเกิดการตกตะกอนในล าน้ ามากขึ้น ท าให้สภาพล าห้วยทัพพลบางช่วงมีสภาพตื้นเขินความจุของล าน้ ามีปริมาณลดลงและมีวัชพืชขึ้นเป็นจ านวนมาก เป็นสาเหตุท าให้การระบายน้ า ได้น้อย ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งของน้ าท่วม และนอกจากนี้ยังมีสาเหตุจากการรุกล้ าเขตล าห้วยทัพพลโดยชุมชนเมือง ที่ขยายตัวมีหมู่บ้านจัดสรรสร้างบ้านพักเข้าใกล้ล าน้ า ท าให้ล าน้ าแคบบางช่วงก่อให้เกิดปัญหาน้ าท่วมนานอาทิเช่น ช่วงสะพานถนนหมายเลข 226 สายสุรินทร์-ศรีสะเกษ ขนาดสะพานกว้าง 10 เมตร 3 ช่วง แต่ด้านหน้าสะพาน ก้นล าห้วยมีความกว้างเพียง 4 เมตร จากเดิมมีความกว้างเฉลี่ยประมาณ 10 ถึง 15 เมตร เนื่องจากมีอาคารพาณิชย์สร้างใกล้ตลิ่งมีผลท าให้อัตราการไหลและความสามารถในการระบายน้ าของล าห้วยทัพพลลดลงในบริเวณดังกล่าว เป็นต้น

4. แนวทางการแก้ไขปัญหา

Page 7: สํานักงานชลประทานที่ 8 - RIDkmcenter.rid.go.th › kmc08 › km_59 › rec_59 › pdf › water_report.pdf · 2016-09-14 · มีล าห้วยสาขากระจายอยู่โดยรอบ

3

เพ่ือเป็นการแก้ไขปัญหาการระบายน้ าในล าน้ าธรรมชาติและการระบายน้ าภายในพ้ืนที่ชุมชนเมืองที่เกิดจากปริมาณฝนที่ตกในพ้ืนที่ ได้พิจารณามาตรการแก้ไขปัญหา ดังนี้

4.1 ปรับปรุงเพิ่มอัตราการระบายน้ าของล าน้ า ล าน้ าที่ไหลผ่านเข้าเขตชุมชนต่าง ๆ มักจะมีลักษณะเป็นคอขวด กล่าวคือ มีอัตราการไหลของน้ า

ที่น้อยลง เนื่องจากมีการบุกรุกทางน้ า การพัฒนาใช้ประโยชน์ที่ดินท าให้น้ าไหลล้นและเอ่อท่วม ควรขุดลอกปรับปรุงขยายล าน้ าเพ่ิมเติมเพ่ือเพ่ิมอัตราการระบายน้ าให้สูงขึ้น ตลอดจนเป็นการเพ่ิมความจุของล าน้ าในการรองรับปริมาณน้ าหลาก และหากในบางช่วงไม่สามารถขุดขยายได้อาจออกแบบเป็นทางน้ ารูปตัวยู (lU-Shape) คอนกรีตเสริมเหล็กทดแทน และหากไม่สามารถขยายเพิ่มความจุล าน้ าได้ให้พิจารณาตั้งจุดสูบน้ าเพ่ือเพ่ิมอัตราการระบายน้ าลงท้ายน้ า ซึ่งจะช่วยผลักดันน้ าที่เอ่อท่วมเหนือน้ าของคอขวด

4.2 ปรับปรุงแก้ไขสิ่งกีดขวางทางน้ า ปัจจุบันมีสิ่งก่อสร้างกีดขวางทางน้ าที่ท าให้อัตราการไหลของน้ าลดลง จึงเกิดน้ าเอ่อท่วมเข้ามา ในพ้ืนที่สองฝั่งล าห้วยทัพพล เช่น การก่อสร้างฝายทดน้ า ท านบชั่วคราว ฝายประชาอาสา และอาคารในล าน้ า ที่ไม่ได้มาตรฐาน การก่อสร้างถนนที่ตัดขวางทางน้ าหลากจึงควรปรับปรุงเพ่ิมอัตราการระบายน้ าของท่อลอด หรือรื้อถอนสิ่งก่อสร้างที่ไม่ได้มาตรฐานสร้างอาคารระบายน้ าใหม่ทดแทนของเดิมในกรณีเพ่ือให้เกิดการใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์เดิมตามความจ าเป็นหรือรื้อทิ้ง เช่น รื้อฝายเดิมและก่อสร้างประตูระบายน้ าทดแทน ปรับปรุงฝายโดยการก่อสร้างอาคารระบายน้ าลงล าน้ าธรรมชาติเพ่ิมเติม เป็นต้น 4.3 ปรับปรุงระบบระบายน้ าภายในพ้ืนที่ชุมชน ได้แก่ ขุดลอกและปรับปรุงท่อระบายน้ าและคลองระบายน้ าในเขตหมู่บ้าน ต าบล หรือเขตชุมชนหนาแน่น การเตรียมเครื่องสูบน้ าและกระสอบทรายไว้ในพ้ืนที่ลุ่มต่ าที่มีปัญหาน้ าท่วม เพื่อเร่งการระบายน้ าออกจากพ้ืนที่ชุมชน

Page 8: สํานักงานชลประทานที่ 8 - RIDkmcenter.rid.go.th › kmc08 › km_59 › rec_59 › pdf › water_report.pdf · 2016-09-14 · มีล าห้วยสาขากระจายอยู่โดยรอบ

4

4.4 พัฒนาการเก็บกักน้ าในพ้ืนที่ลุ่มต่ า ได้แก่ โครงการแก้มลิง สระน้ า หนองน้ าในพ้ืนที่ที่มีศักยภาพสามารถด าเนินการได้ เพื่อเก็บกักน้ าไว้ในพ้ืนที่ลุ่ม ลดปริมาณน้ าหลากเข้าไปในพ้ืนที่ชุมชน 4.5 การวางระบบผังเมืองให้มีความเหมาะสม การก่อสร้างสิ่งกีดขวางทางน้ า การถมท่ีและการพัฒนาใช้ประโยชน์พื้นที่ลุ่มริมล าน้ า ท าให้เกิดปัญหาในการระบายน้ า ควรมีการวางระบบผังเมืองให้มีความเหมาะสมและมีการบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด

4.6 การบริหารจัดการน้ า ควรมีการด าเนินการพร่องน้ าในแม่น้ าล าคลองก่อนช่วงเวลาที่จะมีฝนตกหนัก เพ่ือเป็นการเตรียมความพร้อมของล าน้ าไว้รองรับน้ าหลาก ซึ่งจะช่วยลดความเสียหายจากน้ าท่วม

Page 9: สํานักงานชลประทานที่ 8 - RIDkmcenter.rid.go.th › kmc08 › km_59 › rec_59 › pdf › water_report.pdf · 2016-09-14 · มีล าห้วยสาขากระจายอยู่โดยรอบ

5

5. ข้อมูลด้านวิศวกรรม เพื่อการออกแบบงานปรับปรุงระบบระบายน ้าล้าห้วยทัพพล

จากมาตรการดังกล่าวในข้อ 4 ข้างต้น ฝ่ายพิจารณาโครงการได้ด าเนินการในส่วนรายละเอียด แนวทางการปรับปรุงระบบระบายน้ าล าห้วยทัพพล จากข้อมูลด้านอุทกวิทยา สภาพอาคารเดิม สภาพล าน้ าเดิม และการค านวณความสามารถในการระบายน้ าของอาคารเดิมในล าน้ า จึงก าหนดแนวทางดังนี้

1. รื้อฝายเดิมและก่อสร้างอาคารบังคับน้ าชนิดมีบานควบคุมทดแทน

2. อาคารเดิมที่ไม่มีประตูระบายน้ า หรือมี แต่ไม่เพียงพอ ให้ปรับปรุงก่อสร้างอาคารระบายน้ าเพ่ิมเติมลงล าน้ าธรรมชาติ

3. ขุดลอกล าห้วยทัพพล ขจัดสิ่งกีดขวางทางน้ า ขยายล าน้ าเพ่ิมเติมเพ่ือเพ่ิมอัตราการระบายน้ า ให้สูงขึ้น ตลอดจนเป็นการเพิ่มความจุของล าน้ าในการรองรับปริมาณน้ าหลากและเก็บกักน้ าไว้ใช้

4. ก่อสร้างคลองระบายน้ าคอนกรีตเสริมเหล็ก ทางน้ ารูปตัวยู (U-Shape) ที่พิกัด 48 PUB 0341137 E – 1645055N ถึง พิกัด 0341095 E – 1645353 N ระยะทางประมาณ 300 เมตร เพ่ือเร่งอัตราการระบายน้ า เนื่องจากเป็นจุดที่ทางน้ าแคบ ทั้งนี้ต้องมีความชัดเจนเรื่องขอบเขตที่ดินของล าห้วยสาธารณะก่อนด าเนินการออกแบบและก่อสร้าง เพ่ือให้ได้หน้าตัดทางน้ าที่สามารถรองรับอัตราการระบายน้ าได้สูงที่สุด ตามศักยภาพของล าน้ า

ในการออกแบบเบื้องต้นได้ก าหนดรูปร่างลักษณะ และชนิดของอาคาร ส าหรับแนวทางการแก้ไขปัญหาเพ่ือบรรเทาอุทกภัย โดยมีรายละเอียดตามตารางข้อมูลด้านวิศวกรรมเพ่ือการออกแบบงานปรับปรุงระบบระบายน้ าล าห้วยทัพพล ทั้งนี้ข้อมูลประกอบการออกแบบสามารถเปลี่ยนแปลงได้ หลังจากที่มีผลส ารวจสภาพภูมิประเทศแล้ว โดยขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้ออกแบบอีกครั้งหนึ่ง

6. การประมาณราคาค่าก่อสร้าง

Page 10: สํานักงานชลประทานที่ 8 - RIDkmcenter.rid.go.th › kmc08 › km_59 › rec_59 › pdf › water_report.pdf · 2016-09-14 · มีล าห้วยสาขากระจายอยู่โดยรอบ

6

ล าดับที่ รายการ ปริมาณงาน ราคาค่าก่อสร้าง (บาท )

หมายเหตุ

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15.

ก่อสร้างอาคารบังคับน้ าบ้านปวงตึก ก่อสร้างอาคารบังคับน้ าบ้านสลักได ก่อสร้างอาคารบังคับน้ าบ้านโคกน้อย ก่อสร้างสะพานบ้านโคกปลัด ก่อสร้างคลองระบายน้ าคอนกรีตเสริมเหล็ก ก่อสร้างอาคารบังคับน้ าบ้านโสน ก่อสร้างฝายห้วยส าโรง ก่อสร้างอาคารบังคับน้ าบ้านแกใหญ่ ก่อสร้างอาคารบังคับน้ าบ้านโคกยาง ก่อสร้างอาคารบังคับน้ าบ้านอังกัญ ก่อสร้างอาคารบังคับน้ าบ้านอาม็อง ก่อสร้างอาคารระบายน้ าฝายบ้านประทัดบุ ก่อสร้างอาคารระบายน้ าฝายห้วยทัพพล ขุดลอกล าห้วยทัพพล ค่าด าเนินการงานด้านวิศวกรรม และ Contingencies (15%)

1 แห่ง 1 แห่ง 1 แห่ง 1 แห่ง 1 แห่ง 1 แห่ง 1 แห่ง 1 แห่ง 1 แห่ง 1 แห่ง 1 แห่ง 1 แห่ง 1 แห่ง 40 กม. L.S.

7,000,000 7,000,000 7,000,000 1,500,000 8,500,000 15,000,000 7,000,000 23,000,000 23,000,000 23,000,000 23,000,000 5,000,000 5,000,000 60,000,000 32,250,000

รวม ขอเป็น

247,250,000 250,000,000

7. ผลประโยชน์ของโครงการ

ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ เมื่อด าเนินการปรับปรุงระบบระบายน้ าล าห้วยทัพพลมีดังนี้ 7.1 ช่วยในการระบายน้ าจากพ้ืนที่ชุมชนเขตเทศบาลเมืองสุรินทร์ และบริเวณโดยรอบเป็นไปอย่างมี

ประสิทธิภาพ สามารถบรรเทาปัญหาน้ าท่วมขังพ้ืนที่ในเขตเทศบาลเมืองสุรินทร์ ช่วงฤดูน้ าหลากให้มีระยะเวลาท่วมขังน้อยลง

7.2 ช่วยบรรเทาปัญหาการขาดแคลนน้ าเพ่ือการอุปโภค บริโภค และเกษตรกรรมของประชาชน ตลอดสองฝั่งล าห้วยทัพพลพ้ืนที่รับประโยชน์ประมาณ 9,000 ไร่

7.3 ท าให้สามารถบริหารจัดการน้ าในล าห้วยทัพพลได้อย่างเป็นระบบ

8. สรุปการพิจารณาโครงการเบื องต้น

ฝ่ายพิจารณาโครงการ ส่วนวิศวกรรม ส านักงานชลประทานที่ 8 ได้ร่วมกับเจ้าหน้าที่โครงการชลประทานสุรินทร์ เข้าพิจารณาตรวจสอบสภาพพ้ืนที่โครงการดังกล่าวในสนาม ประกอบกับแผนที่มาตราส่วน 1:50,000

Page 11: สํานักงานชลประทานที่ 8 - RIDkmcenter.rid.go.th › kmc08 › km_59 › rec_59 › pdf › water_report.pdf · 2016-09-14 · มีล าห้วยสาขากระจายอยู่โดยรอบ

7

และเครื่องตรวจสอบพิกัด (GPS) พบว่าโครงการดังกล่าวมีความเหมาะสมที่จะด าเนินการปรับปรุงระบบระบายน้ าล าห้วยทัพพล โดยจะท าการปรับปรุงเพ่ิมประสิทธิภาพการระบายน้ าของล าน้ ารื้อฝายเดิมและก่อสร้างอาคารบังคับน้ าชนิดมีบานควบคุมทดแทนปรับปรุงก่อสร้างอาคารระบายน้ าลงล าน้ าเดิมเพ่ิมเติม พร้อมขุดลอก ขจัดสิ่งกีดขวางทางน้ า ขุดขยายล าน้ าเพ่ิมเติมเพ่ือเพ่ิมอัตราการระบายน้ าให้สูงขึ้นเมื่อก่อสร้างแล้วเสร็จจะช่วยบรรเทาความเสียหายที่จะเกิดขึ้นจากกรณีเกิดฝนตกหนักในพ้ืนที่รับน้ า ราคาค่าก่อสร้างประมาณ 250 ล้านบาท ระยะเวลาในการก่อสร้าง 2 ปี

9. ข้อเสนอแนะ

9.1 จากการพิจารณาโครงการในเบื้องต้น อาจมีความจ าเป็นต้องใช้พ้ืนที่ เพ่ือการก่อสร้างอาคารประกอบต่าง ๆ ดังนั้นในชั้นต้นนี้เห็นควรให้โครงการชลประทานที่รับผิดชอบในการก่อสร้างประสานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นท่ีเป็นเจ้าของพ้ืนที่ และชี้แจงท าความเข้าใจกับราษฎรในพ้ืนที่ที่เกี่ยวข้อง เพ่ือขอใช้ที่ดินในการก่อสร้างข้างต้น โดยให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น น าโครงการเข้ าสู่ที่ประชุม เพ่ือขอความเห็นชอบโครงการและท าหนังสือยืนยันไปที่โครงการชลประทานที่รับผิดชอบเพื่อทราบและเก็บไว้เป็นหลักฐานต่อไป

9.2 กรณีท่ีรื้อสิ่งก่อสร้างที่กีดขวางทางน้ าเดิมออกและก่อสร้างอาคารบังคับน้ าชนิดมีบานควบคุมทดแทน เนื่องจากในการบริหารจัดการน้ าจ าเป็นต้องควบคุมเรื่องการเปิด – ปิดประตูระบายน้ าเพ่ือการพร่องน้ าและ การระบายน้ า จึงต้องมีการปรับปรุงการค านวณการเตือนภัยล่วงหน้า การคาดการณ์ พยากรณ์ และการประสานงานบูรณาการระหว่างหน่วยงานของรัฐกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่จะต้องรับหน้าที่ดูแลอาคารดังกล่าวต่อไป

9.3 กรณีจุดตัดล าห้วยทัพพลกับถนนที่เป็นสะพานรถยนต์ พบว่าช่องทางน้ าไหลลอดผ่านสะพานไม่เต็มหน้าตัดทางน้ า ท าให้เกิดปัญหาคอขวด เห็นควรให้หน่วยงานที่รับผิดชอบด าเนินการปรับปรุง ขจัดสิ่งกีดขวาง ทางน้ า เช่น ซากอาคารเก่าใต้สะพานที่เป็นอุปสรรคต่อการไหลของน้ า ขยายทางน้ าบริเวณทางน้ าเข้าสะพาน และทางน้ าออกสะพานที่มีลักษณะบีบหน้าตัดการไหลของน้ าแคบลง ให้กว้างขึ้นเพ่ือที่น้ าจะได้ไหลได้สะดวก ดังนี้

- สะพานถนนสาย 226 ทีพิ่กัด 48 PUB 0341103 E – 1645351 N - สะพานข้ามห้วยทัพพล ที่พิกัด 48 PUB 0339735 E – 1646523 N - สะพานหน้าแขวงการทางสุรินทร์ ที่พิกัด 48 PUB 0338826 E – 1647860 N - สะพานสถานที่บ าบัดน้ าเสียเทศบาลเมืองสุรินทร์ ที่พิกัด 48 PUB 0337250 E – 1650640 N 9.4 เนื่องจากโครงการปรับปรุงระบบระบายน้ าล าห้วยทัพพลใช้งบประมาณในการด าเนินการทั้งระบบ

ค่อนข้างสูง และต้องมีความชัดเจนเรื่องเขตล าห้วยสาธารณะ ในกรณีต้องแก้ไขปัญหาในระยะเร่งด่วน เห็นควรด าเนินการปรับปรุง 2 จุดก่อน ซึ่งจะช่วยบรรเทาปัญหาน้ าท่วมได้ในระดับหนึ่ง ดังนี้

- จุดที่ 1 อาคารบังคับน้ าบ้านโสน ต.นอกเมือง อ.เมือง จ.สุรินทร์ - จุดที่ 2 อาคารบังคับน้ าบ้านแกใหญ่ ต.ท่าสว่าง อ.เมือง จ.สุรินทร์

Page 12: สํานักงานชลประทานที่ 8 - RIDkmcenter.rid.go.th › kmc08 › km_59 › rec_59 › pdf › water_report.pdf · 2016-09-14 · มีล าห้วยสาขากระจายอยู่โดยรอบ

8

10. ผู้ให้ข้อมูลเพิ่มเติม

1. นายศรัณยู ประทุมศาลา วิศวกรชลประทานปฏิบัติการ โครงการชลประทานสุรินทร์ 2. นายอุชัย ก าลัง ช่างฝีมือสนาม ช 3 โครงการชลประทานสุรินทร์ 3. นายเฉลา แนบทางดี พนักงานส่งน้ า ส 2 โครงการชลประทานสุรินทร์

Page 13: สํานักงานชลประทานที่ 8 - RIDkmcenter.rid.go.th › kmc08 › km_59 › rec_59 › pdf › water_report.pdf · 2016-09-14 · มีล าห้วยสาขากระจายอยู่โดยรอบ

9