common problems in trauma of elderly

7
Page | 1 Common Problems in Trauma of Elderly ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล อุบัติเหตุไมไดเปนสาเหตุการตายที่สําคัญของผูสูงอายุไทย สาเหตุการตายในลําดับตนของผูสูง อายุ ไทยเกิดจากโรคภัยไขเจ็บ เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงดานรางกายที่เปนไปอยางตอเนื่องทั้งจากความ ผิดปกติ ของเซลลที่ตางไปจากเซลลเดิม การยับยั้งการเกิดอนุมูลอิสระเพราะการขัดขวางการรับออกซิเจนและสาร อาหารของเซลล ความเสื่อมและการถดถอย และการเชื่อมไขวของคอลลาเจนทําใหเซลลขาดความยืดหยุเปนผลใหการทํางานของอวัยวะตางๆ ลดลง จึงทําใหเกิดโรคมะเร็ง หัวใจ ตับ ไต เบาหวาน ปอดอักเสบ ผูสูงอายุบางรายมองเห็นไมชัด หูตึง ทรงตัวไมดี กลามเนื้อชวยพยุงตัวไมแข็งแรง ระบบประสาทสัมผัสเสื่อม รวมกับปจจัยสิ่งแวดลอม เชน แสงสวางไมเพียงพอ พื้นไมเรียบ เปยกลื่น เสื้อผาที่สวมใสรุมราม รองเทาที่ไม กระชับ และผลขางเคียงของยาที่รับประทาน ทําใหเกิดอุบัติเหตุในผูสูงอายุ การใหการดูแลรักษาผูสูงอายุทีไดรับอุบัติเหตุจึงเปนสิ่งที่ตองระมัดระวังเปนอยางมาก หากไมไดรับการดูแลรักษาที่ถูกตองเหมาะสมและทัน ทวงที จะทําใหผูสูงอายุที่มีการบาดเจ็บมีอาการรุนแรงมากขึ้น เนื่องจากความผิดปกติในระบบตางๆ ของ รางกายที่มีอยูกอนเกา และอีกทั้งอัตราตายเนื่องจากการบาดเจ็บของผูสูงอายุจะสูงตามอายุที่มากขึ้น 1 การ บาดเจ็บของผูสูงอายุที่มีอายุมากกวา 65 ป จะมีความสัมพันธกับคะแนนความรุนแรงของการบาดเจ็บ (Injury severity Score : ISS) กลไกการบาดเจ็บ ตําแหนงการบาดเจ็บ และเวลาที่ไดรับบาดเจ็บนอยกวา 24 ชั่วโมง และมากกวา 24 ชั่วโมง 2 ทั้งยังสามารถทํานายจํานวนวันการพักรักษาตัวในโรงพยาบาล ดังนั้นแนวปฏิบัติใน การดูแลผูปวยอุบัติเหตุที่เปนมาตรฐานในระดับสากล จึงระบุไววาผูสูงอายุที่ไดรับอุบัติเหตุควรไดรับการดูแล รักษาในศูนยบริบาลผูบาดเจ็บ (trauma center) เพราะมีความพรอมทั้งอุปกรณ เครื่องมือ และบุคลากร ใน การใหการดูแลรักษาตลอด 24 ชั่วโมง และตลอด 7 วันตอสัปดาห 3 ในการจําแนกความรุนแรงของการบาดเจ็บ (triage) ผูสูงอายุที่ไดรับอุบัติเหตุ ในหนวยอุบัติเหตุ ฉุกเฉินจะใช Trauma Score (TS) และ Revised Trauma Score (RTS) เปนเครื่องมือในการประเมินการ บาดเจ็บของผูสูงอายุ การประเมินดวย TS ประกอบดวย การประเมินคาความดันโลหิต (blood pressure) อัตราการหายใจ (respiratory rate) การใชแรงในการหายใจ (respiratory effort) คะแนนกลาสโกว (Glasgow coma score) และการไหลกลับของหลอดเล็กสวนปลาย (capillary refill) มีคะแนนระหวาง 0- 16 สวนการประเมินดวย RTS จะประเมินคลายคลึงกับ TS เพียงแตไมมีการประเมิน respiratory effort และ respiratory capillary refill คะแนนรวมจึงมีคาระหวาง 0-8 คะแนน โดยพบวา ผูสูงอายุที่ไดรับอุบัติเหตุทีมีคะแนน TS นอยกวา 12 คะแนน จะมีอัตราตายสูงถึง 65% และหากพบวามีอัตราการหายใจนอยกวา 10 ครั้ง/นาที จะมีอัตราตายสูงถึง 100% ผูสูงอายุที่ไดรับบาดเจ็บปานกลาง (ISS 16-24) จะมีอัตราตาย 30% และมีอัตราตายสูงเปน 5 เทาของวัยหนุมสาว 2 แนวทางในการดูแลผูสูงอายุที่ไดรับอุบัติเหตุของ The American College of Surgeons จึงระบุไววาผูสูงอายุที่มีอายุมากกวา 55 ป ควรสงไปรับการรักษาที

Upload: krongdai-unhasuta

Post on 21-Jul-2015

59 views

Category:

Documents


15 download

TRANSCRIPT

P a g e | 1

Common Problems in Trauma of Elderly

ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต

คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลยัมหิดล

อุบัติเหตุไมไดเปนสาเหตุการตายท่ีสําคัญของผูสูงอายุไทย สาเหตุการตายในลําดับตนของผูสูง อายุ

ไทยเกิดจากโรคภัยไขเจ็บ เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงดานรางกายท่ีเปนไปอยางตอเนื่องท้ังจากความ ผิดปกติ

ของเซลลท่ีตางไปจากเซลลเดิม การยับยั้งการเกิดอนุมูลอิสระเพราะการขัดขวางการรับออกซิเจนและสาร

อาหารของเซลล ความเสื่อมและการถดถอย และการเชื่อมไขวของคอลลาเจนทําใหเซลลขาดความยืดหยุน

เปนผลใหการทํางานของอวัยวะตางๆ ลดลง จึงทําใหเกิดโรคมะเร็ง หัวใจ ตับ ไต เบาหวาน ปอดอักเสบ

ผูสูงอายุบางรายมองเห็นไมชัด หูตึง ทรงตัวไมดี กลามเนื้อชวยพยุงตัวไมแข็งแรง ระบบประสาทสัมผัสเสื่อม

รวมกับปจจัยสิ่งแวดลอม เชน แสงสวางไมเพียงพอ พ้ืนไมเรียบ เปยกลื่น เสื้อผาท่ีสวมใสรุมราม รองเทาท่ีไม

กระชับ และผลขางเคียงของยาท่ีรับประทาน ทําใหเกิดอุบัติเหตุในผูสูงอายุ การใหการดูแลรักษาผูสูงอายุท่ี

ไดรับอุบัติเหตุจึงเปนสิ่งท่ีตองระมัดระวังเปนอยางมาก หากไมไดรับการดูแลรักษาท่ีถูกตองเหมาะสมและทัน

ทวงที จะทําใหผูสูงอายุท่ีมีการบาดเจ็บมีอาการรุนแรงมากข้ึน เนื่องจากความผิดปกติในระบบตางๆ ของ

รางกายท่ีมีอยูกอนเกา และอีกท้ังอัตราตายเนื่องจากการบาดเจ็บของผูสูงอายุจะสูงตามอายุท่ีมากข้ึน1 การ

บาดเจ็บของผูสูงอายุท่ีมีอายุมากกวา 65 ป จะมีความสัมพันธกับคะแนนความรุนแรงของการบาดเจ็บ (Injury

severity Score : ISS) กลไกการบาดเจ็บ ตําแหนงการบาดเจ็บ และเวลาท่ีไดรับบาดเจ็บนอยกวา 24 ชั่วโมง

และมากกวา 24 ชั่วโมง2 ท้ังยังสามารถทํานายจํานวนวันการพักรักษาตัวในโรงพยาบาล ดังนั้นแนวปฏิบัติใน

การดูแลผูปวยอุบัติเหตุท่ีเปนมาตรฐานในระดับสากล จึงระบุไววาผูสูงอายุท่ีไดรับอุบัติเหตุควรไดรับการดูแล

รักษาในศูนยบริบาลผูบาดเจ็บ (trauma center) เพราะมีความพรอมท้ังอุปกรณ เครื่องมือ และบุคลากร ใน

การใหการดูแลรักษาตลอด 24 ชั่วโมง และตลอด 7 วันตอสัปดาห3

ในการจําแนกความรุนแรงของการบาดเจ็บ (triage) ผูสูงอายุท่ีไดรับอุบัติเหตุ ในหนวยอุบัติเหตุ

ฉุกเฉินจะใช Trauma Score (TS) และ Revised Trauma Score (RTS) เปนเครื่องมือในการประเมินการ

บาดเจ็บของผูสูงอายุ การประเมินดวย TS ประกอบดวย การประเมินคาความดันโลหิต (blood pressure)

อัตราการหายใจ (respiratory rate) การใชแรงในการหายใจ (respiratory effort) คะแนนกลาสโกว

(Glasgow coma score) และการไหลกลับของหลอดเล็กสวนปลาย (capillary refill) มีคะแนนระหวาง 0-

16 สวนการประเมินดวย RTS จะประเมินคลายคลึงกับ TS เพียงแตไมมีการประเมิน respiratory effort และ

respiratory capillary refill คะแนนรวมจึงมีคาระหวาง 0-8 คะแนน โดยพบวา ผูสูงอายุท่ีไดรับอุบัติเหตุท่ี

มีคะแนน TS นอยกวา 12 คะแนน จะมีอัตราตายสูงถึง 65% และหากพบวามีอัตราการหายใจนอยกวา 10

ครั้ง/นาที จะมีอัตราตายสูงถึง 100% ผูสูงอายุท่ีไดรับบาดเจ็บปานกลาง (ISS 16-24) จะมีอัตราตาย 30%

และมีอัตราตายสูงเปน 5 เทาของวัยหนุมสาว2 แนวทางในการดูแลผูสูงอายุท่ีไดรับอุบัติเหตุของ The

American College of Surgeons จึงระบุไววาผูสูงอายุท่ีมีอายุมากกวา 55 ป ควรสงไปรับการรักษาท่ี

P a g e | 2

Trauma center ท้ังนี้ใหพิจารณาถึงความรุนแรงของการบาดเจ็บ โดยเฉพาะผูสูงอายุท่ีมีอายุมากกวา 75 ป

จะตองประเมินการเปลี่ยนแปลงทางสรีระกอนนําสงโรงพยาบาลรวมดวยเสมอ

จากการศึกษาพบวาผูสูงอายุท่ีไดรับอุบัติเหตุท่ีมีอายุมากข้ึน มักไดรับ triage ต่ํากวาท่ีเปนจริง

(under triage)4 และยังพบวาผูสูงอายุท่ีไมไดรับการดูแลรักษาใน Trauma center ไดรับ triage เปน

under triage เนื่องจากผูสูงอายุสามารถเดินได พูดคุยตอบคําถามได ทีมการรักษาจึงไมตระหนักถึงภาวะ

สุขภาพและปญหาสุขภาพของผูสูงอายุท่ีมีกอนการบาดเจ็บ อีกท้ังผูพบเห็นและใหการชวยเหลือ (first

responder) หรือผูนําสงผูปวยสูงอายุท่ีไดรับอุบัติเหตุไปโรงพยาบาล ไมไดนึกถึงการเปลี่ยนแปลงทางดาน

รางกายของผูสูงอายุ ทําใหผูสูงอายุท่ีไดรับอุบัติเหตุมีอาการรุนแรงและสาหัส การฟนหายจากการบาดเจ็บ

เปนไปไดชา และบางรายเสียชีวิตหลังจากจําหนายกลับไปอยูท่ีบาน5 โดยเฉพาะผูสูงอายุพลัดตกหกลมท่ีมีอายุ

มากกวา 65 ป มักจะมีการบาดเจ็บท่ีศีรษะ ไขสันหลัง และกระดูกสะโพกหัก1

อุบัติเหตุท่ีพบบอยในผูสูงอายุ

อุบัติเหตุของผูสูงอายุท่ีพบบอยและทําใหเกิดการบาดเจ็บ มีท้ังอุบัติเหตุในบานและอุบัติเหตุนอกบาน

ดังนี้

1. ลื่นหกลม เปนอุบัติเหตุท่ีเกิดข้ึนกับผูสูงอายุมากท่ีสุด โดยเฉพาะลื่นลมในหองน้ํา มีสาเหตุเกิด

จากลื่นหกลมเอง และจากภาวะโรคท่ีเปนอยู6 เชน ชัก หนามืด ออนแรง ทําใหลื่นหกลม บางรายทําใหกระดูก

ตะโพกหัก ในขณะท่ีบางรายอาจทําใหเสียชีวิตได เชน รายท่ีมีความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเสนเลือดสูง

โรคหัวใจ ไตวายเรื้อรัง ทําใหการดูแลรักษาซับซอน และเสี่ยงตอการเกิดภาวะแทรกซอนเม่ือตองนอนพักรักษา

ในโรงพยาบาล การลื่นหกลมนี้มักเกิดข้ึนในหองน้ํา บันได ซ่ึงเปนอุบัติเหตุซ่ึงสามารถปองกันได

2. พลัดตกหกลม เปนอุบัติเหตุท่ีเกิดกับผูสูงท่ีมีอายุระหวาง 65-75 ป มักเกิดจากตกเตียง บันได

ตกจากเกาอ้ี ระเบียงบาน ตนไม หรือตกหลุม และตกทอ เปนอุบัติเหตุท่ีเกิดข้ึนภายในบานเปนสวนใหญท่ี

สามารถปองกันได

3. ไฟไหม น้ํารอนลวก เปนอุบัติเหตุท่ีเกิดข้ึนภายในบาน มักเกิดจากการถูกความรอนลวกสัมผัส

เชน อาบน้ํา ปรุงอาหาร เนื่องจากประสาทสัมผัสรับความรูสึกรอนเสื่อมลง ทําใหผูสูงอายุรับความรูสึกชา

หรือไมรูสึก รวมกับประสาทอัตโนมัติในการถอยหนีชา จึงทําใหอันตรายท่ีเกิดข้ึนจากไฟไหม น้ํารอนลวก

คอนขางรุนแรง

4. สําลักอาหาร น้ํา และอาหารติดคางในหลอดลม เปนอุบัติเหตุท่ีพบไดบอยในผูสูงอายุท่ีมีการ

จํากัดการเคลื่อนไหว เชน แขน ขา ออนแรง เปนอัมพาต ฟนปลอมหลวม หากมีการสําลักเขาไปอุดตันใน

ทางเดินหายใจอาจทําใหเสียชีวิตไดทันทีหากชวยชีวิตไมทัน และจะทําใหปอดอักเสบหากเขาในปอด

5. อุบัติเหตุอ่ืนๆ ท่ีพบบอย และควรระมัดระวัง เชน

5.1 หยิบยาผิด ใชยาผิด เนื่องจากสายตาไมดี หรือ แสงสวางไมเพียงพอ

5.2 ลืมหรือเผลอทําใหรับประทานยามากเกินไป หรือขาดการรับประทานยา

5.3 ถูกรถเฉ่ียวชน ขณะเดินบนพ้ืนถนนหรือเดินขามถนน6 เนื่องจากสายตาไมดี มองไม

P a g e | 3

เห็น หูไมไดยินเสียงชัดเจน และมีการตัดสินใจท่ีชาเดินหลบหลีกรถไมทัน

การประเมินการบาดเจ็บทางการพยาบาลของผูสูงอายุท่ีไดรับอุบัติเหตุ

การประเมินการบาดเจ็บทางการพยาบาลของผูสูงอายุท่ีไดรับอุบัติเหตุ จะเปนไปตามแนวทางการ

ชวยชีวิตผูปวยอุบัติเหตุข้ันสูง (Advance Trauma Life Support)3 ประกอบดวย 1) Primary survey and

resuscitation เปนการประเมินเบื้องตน ABCDE อยางรวดเร็ว เพ่ือชวยใหผูปวยปลอดภัยจากภาวะคุกคาม

ชีวิต 2) Adjuncts to primary survey and resuscitation เปนการจัดการใหการชวยเหลือผูปวยท่ีมีภาวะ

คุกคามชีวิต ภายหลังการประเมิน Primary survey 3) Secondary survey and management เปนการ

ตรวจรางกายโดยละเอียด และสอบถามประวัติเก่ียวกับการบาดเจ็บภายใน 2 นาที เพ่ือเปนขอมูลในการดูแล

รักษา 4) Adjuncts to the secondary survey เปนการตรวจวินิจฉัยเพ่ิมเติม เพ่ือใหการดูแลรักษา กอนสง

ผูปวยไปยัง definite care ท่ีเหมาะสมกับผูปวยแตละราย หากพบปญหาจากการประเมินการบาดเจ็บของ

ผูสูงอายุจะตองจัดการใหการชวยเหลือทันที เพราะผูสูงอายุท่ีไดรับการการบาดเจ็บท่ีมีอัตรา การหายใจ 10

ครั้ง/นาที จะมีอัตราตายสูงถึง 65% การประเมินการบาดเจ็บและการจัดการชวยเหลือจึงตองปฏิบัติไปพรอมๆ

กัน ดังภาพแสดง Trauma Treatment Skills for Nurse Followed Advance Trauma Life Support

(ATLS)7

การประเมินแรกรับ (initial assessment) ทางการพยาบาลของผูสูงอายุท่ีไดรับอุบัติเหตุ ท่ีหอง

ฉุกเฉินมีวัตถุประสงคเพ่ือคนหาภาวะคุกคามชีวิต การระบุภาวะช็อกจากการบาดเจ็บ (traumatic shock) ซ่ึง

อยูในข้ันตอน Primary survey and resuscitation การวางแผนในการติดตามเฝาระวังอาการ ซ่ึงอยูใน

ข้ันตอน Adjuncts to primary survey and resuscitation และการประเมินติดตามและสงตอเพ่ือการรักษา

ซ่ึงอยูในข้ันตอน Secondary survey and management และ Adjuncts to the secondary survey ดังนี้

1. การประเมิน ABC เพ่ือคนหาภาวะคุกคามชีวิต ณ นาทีแรก ของผูสูงอายุท่ีไดรับอุบัติเหตุไมวา

จะเปนประเภทฉุกเฉิน (emergent) หรือเรงดวน (urgent) ท่ีเขามารับการรักษาท่ีหองฉุกเฉิน โดยการประเมิน

ทางเดินหายใจวาโลงหรือมีการอุดก้ันในทางเดินหายใจ ประเมินการหายใจโดยสังเกตลักษณะการหายใจ ความ

ผิดปกติและสมมาตรในการขยายตัวของปอด (chest movement) ท้ังสองขาง และประเมินการไหลเวียน

เลือด โดยการประเมินลักษณะและจังหวะการเตนของชีพจร อาการและอาการแสดงของภาวะช็อก หาก

ประเมินอาการเพียงอยางหนึ่งอยางใดแสดงวาผูสูงอายุท่ีไดรับอุบัติเหตุมีภาวะคุกคามชีวิต จะตองเตรียมใหการ

พยาบาลรวมกับทีมอุบัติเหตุ (trauma team) ในการแกไขภาวะคุกคามชีวิต

2. การระบุ traumatic shock ควรปฏิบัติไดภายในนาทีท่ี 2 โดยการประเมินวาผูปวยมีภาวะช็อก

จากปริมาณเลือดลดลง (hypovolemic shock) ภาวะช็อกจากการบีบตัวของหัวใจไมมีประสิทธิภาพ

(cardiogenic shock) และภาวะช็อกจากไขสันหลัง (spinal shock) เพ่ือใหการดูแลรักษาไดชี้เฉพาะและ

รวดเร็วทันที

P a g e | 4

ภาพแสดง Trauma Treatment Skills for Nurse Followed Advance Trauma Life Support (ATLS)

3. การวางแผนในการติดตามเฝาระวังอาการ เปนการใชขอมูลท่ีประเมินไดในข้ันตอนท่ี 1 และ 2

รวมกับขอมูลการบาดเจ็บในการระบุปญหาจากการบาดเจ็บ เพ่ือกําหนดแผนการเฝาระวังผูสูงอายุท่ีไดรับ

อุบัติเหตุวา จะตองเฝาระวังอะไร อยางไร เพ่ือปองกันไมใหเกิดการบาดเจ็บซํ้าซอน และในการเฝาระวังนี้

จะตองสอดคลองกับการบาดเจ็บและประวัติความเจ็บปวยท่ีผูสูงอายุมีมากอนไดรับอุบัติเหตุ เพราะการ

เปลี่ยนแปลงทางดานรางกาย ทําใหมีผลตอการตอบสนองตอการบาดเจ็บทําใหอาการสาหัสซับซอนมากยิ่งข้ึน

ได ในข้ันตอนนี้ การประเมินสัญญาณชีพจึงเปนสิ่งท่ีสําคัญท่ีสุด7

4. การประเมินติดตามและสงตอเพ่ือการรักษา เปนการตรวจรงกายโดยละเอียด จะปฏิบัติเม่ือ

ผูสูงอายุท่ีไดรับอุบัติเหตุไดรับการชวยเหลือใหปลอดภัยจากภาวะคุกคามชีวิตในเบื้องตนแลว ประกอบดวย

4.1 การตรวจรางกายโดยละเอียดตั้งแตศีรษะจดปลายเทา (physical examination)

4.2 ประวัติ MIVT เปนการซักถามถึงกลไกการเกิดอุบัติเหตุ (mechanism of injury)

เหตุการณท่ีทําใหเกิดอุบัติเหตุ (injury sustained) สัญญาณชีพ อาการท่ัวไป (vital

signs) และการดูแลรักษาเบื้องตน (treatment)

Trauma Treatment Skills for Nurse

Followed Advance Trauma Life Support (ATLS)

Airway and

C-spine protection

Breathing and

ventilation

Circulation and

Control bleeding

Disability Exposure

Assess patent

and obstructed

airway

Open airway

Clear airway

and inserted

airway

Definite airway

Reinstate

immobilization

Assess RR,

breath sounds,

chest movement,

O2 sat.

O2 with reservoir

bag 10-12 L/M

Assist Ventilation

100% with self-

inflating bag

Ventilation

support

Assess HR, V/S,

SI, signs of

shock

Control bleeding

IV access with

warming fluid

Prevent

hypothermia

Hct., Cross

match

Trauma lab

Assess LOC,

GCS, Pupils,

motor

Prepare

diagnostic

tests

Prepare

surgical

treatments

Head to toe

MIVT, AMPLE

Cleansing

Dressing

Suture

Stabilize

RICE

P a g e | 5

4.3 ประวัติ AMPLE เปนการซักถามถึงประวัติเก่ียวกับตัวผูบาดเจ็บ ไดแก การแพสาร

อาหารตางๆ (allergy) ยาท่ีรับประทานเปนประจําหรือเพ่ือการรักษา (medication)

ประวัติความเจ็บปวย หรือการผาตัดท่ีผานมา (past illness) ชนิดและเวลาท่ี

รับประทานอาหารม้ือสุดทายกอนเกิดอุบัติเหตุ (last meal) และเหตุการณท่ีทําใหเกิด

อุบัติเหตุ (event / environment)

ขอมูลท่ีไดจากการตรวจรางกายและประวัติดังกลาวขางตน จะใชในการวางแผนการประเมิน

ติดตามอาการของผูสูงอายุท่ีไดรับอุบัติเหตุจนกวาจะสงตอเพ่ือการรักษา อาจเปนหองผาตัด หอผูปวยหนัก

(ICU) หอผูปวย หรือโรงพยาบาลอ่ืนๆ ท่ีเหมาะสมกับผูปวยแตละราย หากการบาดเจ็บไมรุนแรงก็สามารถ

จําหนายกลับบานได

ปญหาท่ีพบบอยของผูสูงอายุท่ีไดรับอุบัติเหตุ

1. กระดูกแตกหัก (fracture) เชน กระดูกสะโพกแตกหัก (hip fracture) และกระดูกเชิงกรานแตกหัก

(pelvic fractures) เกิดจากหลายสาเหตุท้ังท่ีเกิดจากกลไกการบาดเจ็บรุนแรงและไมรุนแรง เชน โดนรถชน

ยืนอยูแลวลมลง โดนชนแลวลม มีท้ังการแตกหักของ Pubic rami ซ่ึงเกิดมากท่ีสุด acetabulum และ

ischium การบาดเจ็บท่ีเกิดข้ึนทําใหมีภาวะเลือดออก (hemorrhage) และปวด อาจมีสิ่งหลุดลอยในกระแส

เลือด (embolization)ในผูสูงอายุท่ีมีเลือดออกมากและอายุมากกวา 55 ป2

การจัดการทางการพยาบาล คือ ทํางานรวมกับ trauma team ในการหามภาวะเลือดออก (control

hemorrhage) การจัดใหสวนท่ีแตกหักอยูนิ่ง (stabilization) ลดอความปวด (pain control) และการชวย

ชีวิต (resuscitation) ในรายท่ีมีภาวะคุกคามชีวิต

2. บาดเจ็บท่ีศีรษะ (traumatic brain injury) เปนการบาดเจ็บของผูสูงอายุท่ีพบไดบอยในหองฉุกเฉิน

อาการแสดงท่ีมีอาจไมสัมพันธกับความรุนแรงท่ีไดรับ เพราะอายุท่ีมากข้ึนจะทําใหเนื้อสมองมีขนาดเล็กลง

(atrophy) เกิดความดันในโพรงกะโหลกศีรษะ หรือมีเลือดออกขังอยูภายใน โดยไมปรากฏอาการแสดง

ภายนอกใหเห็นเดนชัด ซ่ึงเปนสาเหตุหนึ่งท่ีทําใหเกิดการวินิจฉัยลาชา อีกท้ังประวัติโรคประจําตัวและภาวะ

ความเจ็บปวยท่ีมีกอนไดรับอุบัติเหตุ เชน โรคปอดอุดก้ันเรื้อรัง โรคหัวใจและหลอดเลือด จําอะไรไมได

(dementia) การไดรับตานการแข็งตัวของเลือด จึงทําใหมีโอกาสเกิดอันตราย จากความดันโลหิตลดลง

(hypotension) ขาดออกซิเจน (hypoxemia) และเกร็ดเลือดทํางานลดลง (hypocoagulability)

การจัดการทางการพยาบาล คือ การเตรียมใหยาตามแผนการรักษา เจาะเลือดเพ่ือประเมินคา INR

(International Normalized Ratio) สงตรวจสมองดวยเอ็กซเรยคอมพิวเตอร (CT) และใหการ พยาบาลตาม

แนวทางการดูแลผูปวยท่ีมีการบาดเจ็บท่ีศีรษะ เพราะผูสูงอายุท่ีไดรับอุบัติเหตุสวนใหญมี ประวัติโรคประจําตัว

stroke, myocardial infarction หรือ atrial fibrillation และรับประทานยาตานการ แข็งตัวของเลือด เชน

Coumadin

3. กระดูกซ่ีโครงแตกหัก (rib fractures) มักเกิดจากแรงกระแทก และเกิดจากหลายสาเหตุ อาจเกิด

P a g e | 6

จากการบาดเจ็บท่ีมีกลไกการบาดเจ็บไมรุนแรง เชน จากสายเข็มขัดนิรภัย (seat belt) รัดขณะรถขับ

เคลื่อนในความเร็วท่ีสูง หกลม การบาดเจ็บท่ีเกิดข้ึนทําใหมี hypotension และความปวด ตองระวังเพราะ

บางรายอาจมีการบาดเจ็บท่ีตับ (hepatic injury) และบาดเจ็บท่ีมาม (splenic injury) รวมดวย

การจัดการทางการพยาบาล คือ ทํางานรวมกับ trauma team ในการลดความปวด (pain control)

และเฝาระวังสัญญาณชีพ เนื่องจากการบาดเจ็บจากกระดูกซ่ีโครงแตกหักอาจทําใหเกิดภาวะคุกคามชีวิต จาก

การบาดเจ็บท่ีทรวงอก (life threatened chest injury) ได

ประเด็นปญหาสําคัญในการดูแลผูสูงอายุท่ีไดรับอุบัติเหตุ

1. มีการบาดเจ็บรวมกับอาการซึม สับสบ หรือจําเหตุการณไมได

ในการประเมินอาการแรกรับผูสูงอายุท่ีไดรับอุบัติเหตุ อาจพบวาผูสูงอายุมีอาการซึม สับสบ หรือจํา

เหตุการณไมได พยาบาลจะตองประเมินอาการผูสูงอายุใหไดวาอาการซึม สับสบ หรือจําเหตุการณไมไดนั้น

เปนเพราะการเสื่อมสภาพทางสรีระของวัยท่ีสูงอายุ การบาดเจ็บ หรือภาวะโรคท่ีผูปวยเปนอยู ผูสูงอายุอาจ

ไดรับอุบัติเหตุแลวมีอาการซึมลง เชน กรณีบาดเจ็บท่ีศีรษะ หรือผูสูงอายุมีอาการซึมลงแลวจึงเกิดอุบัติเหตุ

จากอาการหนามืด เปนลม หรือฤทธิ์ของยาท่ีรับประทาน ดังจะเห็นไดวาสาเหตุท่ีทําใหเกิดอาการนํามารักษา

แตกตางกัน การประเมินอาการแรกรับท่ีถูกตองจึงมีความสําคัญเปนอยางมากในการรักษาพยาบาลผูสูงอายุท่ี

ไดรับอุบัติเหตุ

2. มีการบาดเจ็บรวมกับการตอบสนองท่ีชา

ในการประเมินระดับความรูสึกตัว (level of conscious) ผูสูงอายุอาจตอบสนองชา หรือไมตอบ

สนอง หรือไมทําตามคําสั่ง ท้ังนี้อาจเปนเพราะการเสื่อมสภาพทางสรีระของวัยท่ีสูงอายุ ท่ีทําใหสายตาไมดี

มองไมเห็น หูไมไดยินเสียงชัดเจน และมีการตัดสินใจท่ีชา จึงไมสามารถตอบสนองไดทันที แตบางกรณีการ

ตอบสนองชาเปนเพราะมีพยาธิสภาพจากการบาดเจ็บท่ีศีรษะ พยาบาลจะตองมีความตระหนักในการตัดสิน

ระดับความรูสึกตัว เพราะมีความสําคัญเปนอยางยิ่งตอชีวิตของผูสูงอายุ

3. มีการบาดเจ็บรวมกับอาการ stroke

ในการประเมินอาการแรกรับผูสูงอายุท่ีไดรับอุบัติเหตุ พบวาปากเบี้ยว อาจพบมีแขน ขา ออนแรง

เม่ือถามประวัติความเจ็บปวยสวนใหญจะมีความดันโลหิตสูง พยาบาลจะตองจะตองประเมินอาการใหไดวา

ผูสูงอายุมีอาการออนแรงแลวทําใหเกิดอุบัติเหตุ หรือภายหลังไดรับอุบัติเหตุ ผูปวยจึงมีแขน ขา ออนแรง ซ่ึง

กอนหนานี้ไมมีอาการดังกลาว หากไดประวัติและขอมูลท่ีชัดเจนจะชวยใหการดูแลรักษามีความเฉพาะท่ี

รวดเร็วทันการณ

อายุ อัตราการหายใจ admission BP GCS คะแนนการประเมินการบาดเจ็บ TS RTS ISS และ

initial management เปนสิ่งสําคัญในการลดอัตราตายและความพิการอุบัติเหตุของผูสูงอายุ8 แตจากขอมูล

การซักถามอุบัติเหตุท่ีเกิดข้ึนกับผูสูงอายุ มักไดรับคําตอบเสมอวา “ไมรู ไมไดทํา และจําไมได” การเขาใจใน

การใชชีวิตประจําวันของผูสูงอายุท่ีตองอยูกับสภาวะการเสื่อมของอวัยวะจึงเปนสิ่งท่ีตองตระหนักในการ

ปองกันอุบัติเหตุท่ีอาจเกิดข้ึน การเตรียม การแนะนํา และพูดซํ้าๆ เรื่องการสวมใสสีเสื้อผาสวาง รองเทาท่ี

P a g e | 7

กระชับ ไมใสฟนปลอมขณะนอนในเวลากลางคืน การขอรองใหผูอ่ืนชวยเหลือขณะท่ีตองขามถนน การใชไม

เทาชวยเหลือ การใชรมใสไมปดบังทิศทาง นอกจากนี้การปกปองสุขภาพ ดวยการรักษาความชุมชื้นของ

ผิวหนัง บริหารการหายใจ เหยียดแขน ขา เต็มท่ี และตรวจสุขภาพทุก 6 เดือน จะสามารถชวยลดการเกิด

อุบัติเหตุในผูสูงอายุได

เอกสารอางอิง

1. Miriam TA and Todd CR. (2006). Trauma and falls in the elderly. Emerg Med Clin N Am. 24,

413-432.

2. David WC and Richard W. (2007). Geriatric trauma. Emerg Med Clin N AM. 25, 837-860.

3. American College of Surgeons Committee on Trauma. (2012). Advanced Trauma Life

Support

(ATLS) for doctors student course manual (9th ed., pp. 2-23). Chigago: American College of

Surgeons Committee on Trauma.

4. Marius R. (2013). Improving adjustments for older age in pre-hospital assessment and care.

Journal of Trauma, Resuscitation and Emergency Medicine. 21:4, 1-3.

5. Kristan LS, et al. (2013) Triage of Elderly Trauma Patients: A Population-Based Perspective.

Journal of the American College of Surgeons. 217 (4): 569.

6. Rob G and Minto KJ. (2007). Injury patterns and outcomes associated with elderly trauma

victims in Kingston, Ontario. Can J Surg. 50(6), 437-444.

7. กรองได อุณหสูต. (2554). คูมือการปฏิบัติงานของพยาบาลในการดูแลผูปวยอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน.

กรุงเทพมหานครฯ, กองการพิมพ,

8. William CW., Christopher MG., and David BH. (2007). Trauma emergency resuscitation

Perioperative anesthesia surgical management. New York, Informal Healthcare USA, Inc.

.............................................................................................................................