comparative civilization - bu

12
อารยธรรมเปรียบเทียบ COMPARATIVE CIVILIZATION อาจารย์ปรัศนีย์ เกศะบุตร .. (ประวัติศาสตร์ ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย .. (ประวัติศาสตร์ ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย T53026-1

Upload: others

Post on 24-Dec-2021

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: COMPARATIVE CIVILIZATION - BU

อารยธรรมเปรยีบเทยีบCOMPARATIVE CIVILIZATION

อาจารยป์รัศนย์ี เกศะบตุรค.บ. (ประวัติศาสตร)์ จุฬาลงกรณม์หาวทิยาลยัอ.ม. (ประวัติศาสตร)์ จุฬาลงกรณม์หาวทิยาลยั

T53026-1

Page 2: COMPARATIVE CIVILIZATION - BU

LB103/ songchom.c/ achara.t

ผู้แต่ง อาจารยป์รศันีย ์ เกศะบตุรสงวนลิขสิทธิ์ การทำซ้ำ ดัดแปลง หรือเผยแพร่ส่วนใดส่วนหนึ่งของหนังสือเล่มนี้ ต้องได้รับความยินยอมจากผู้แต่ง

พมิพค์รัง้ที ่ 11 เดือนพฤษภาคม 2553จำนวน 550 เล่มเจ้าของ มหาวิทยาลัยกรุงเทพผู้พิมพ์และผู้โฆษณา ผูช่้วยศาสตราจารยช์นญัช ี ภังคานนท์

จัดพิมพ์โดย สำนกัพมิพ์มหาวทิยาลยักรงุเทพ9/1 หมู่ 5 ถนนพหลโยธิน ตำบลคลองหนึ่งอำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120โทร. 0-2902-0299 ต่อ 2850-2852 โทรสาร 0-2902-0299 ต่อ 2850http://bupress.bu.ac.th e-Mail: [email protected]

จัดจำหน่ายโดย ร้านสหกรณ์มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จำกัด119 ถนนพระราม 4 เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110โทร. 0-2350-3500 ต่อ 1340

ÍÒøÃÃÁà»ÃÕºà·Õº

ข้อมูลของบัตรรายการCataloging in Publication Data

COMPARATIVE CIVILIZATION

ปรัศนีย์ เกศะบุตร.อารยธรรมเปรียบเทียบ = Comparative civilization / ปรัศนีย์ เกศะบุตร ; มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

-- พมิพค์รัง้ที ่11. -- ปทมุธาน ี: มหาวทิยาลยักรงุเทพ, 2553.283 หน้า : ภาพประกอบ, แผนที่.

ภาคผนวก.บรรณานุกรม.ISBN 974-7515-32-6

1. อารยธรรมสมัยโบราณ. 2. อารยธรรมสมัยกลาง. 3. อารยธรรมสมัยใหม่. 4. อารยธรรม.(1) มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. (2) ชื่อเรื่อง. (3) ชื่อเรื่อง : Comparative civilization.

CB113 .T5 ป438อ 2553 CIP

ใบรับแจ้งความตามพระราชบัญญัติการพิมพ์ พ.ศ. 2484 เลขที่ 1/2549

Page 3: COMPARATIVE CIVILIZATION - BU

อารยธรรมเปรยีบเทียบ (3)

คํานํา

จุดมุงหมายหลักในการจัดทําหนังสืออารยธรรมเปรียบเทียบเลมน้ีคือ เพ่ือใชประกอบการเรียนวิชา ศป. 103 อารยธรรมเปรียบเทียบ ซ่ึงเปนวิชาพ้ืนฐานในหมวดการศึกษาทั่วไปตามหลักสูตรของมหาวิทยาลัยกรุงเทพ และสําหรับผูอานท่ัวไปท่ีสนใจ ตองการมีความรูในระดับพ้ืนฐานเก่ียวกับอารยธรรม โดยศึกษาตั้งแตจุดเร่ิมตนของการเกิดอารยธรรมหลักของโลก พัฒนาการความเปนมา เพ่ือนําไปสูความเขาใจเรื่องราวในโลกปจจุบันไดดียิ่งขึ้น เปนการเขียนและเรียบเรียงเน้ือหาความรูเกี่ยวกับพัฒนาการความเจริญของมนุษย โดยการเสนอภาพรวมของแตละชวงสมัย เนนเฉพาะแหลงอารยธรรมที่สําคัญของโลก รายละเอียดของเนื้อหาแสดงใหเห็นถึงพัฒนาการทาง อารยธรรมในแตละดาน คือ ทางการเมือง และการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม ความคิดความเชื่อ วรรณคดี และศิลปกรรม อันเปนผลงานสรางสรรคของมนุษยที่มีความสัมพันธกันในทุกดาน และไดสงอิทธิพลตอกันในแตละภูมิภาคของโลก การนําเสนอเนื้อหามีการเปรียบเทียบทั้งในแนวระนาบ คือ ศึกษาเกี่ยวกับอารยธรรมรวมสมัยเดียวกันของแตละภูมิภาคท่ีสําคัญ และเปรียบเทียบในแนวดิ่ง คือ การศึกษาอารยธรรมในภูมิภาคเดียวกันแตตางยุคสมัยกัน จากการศึกษาเนื้อหาดังกลาว ผูอานสามารถมองเห็นภาพความเคลื่อนไหวเปล่ียนแปลงโดยลาํดับของแหลงอารยธรรมและพัฒนาการที่สําคัญอยางกวางๆ ทําใหรูวามนุษยกาวมาถึงความเจริญในปจจุบันไดอยางไร พิจารณาเห็นทั้งความเหมือนและความแตกตางของความเจริญในแตละยุคสมัย อยางไรก็ดี โดยเฉพาะเมื่อกลาวถึง อารยธรรมสมัยใหมจะใหความสําคัญแกศูนยกลางความเจริญของโลกในเวลานั้น คือ ยุโรปอันเปนแหลงกําเนิดของความเจริญแบบสมัยใหมที่จะสงผลทําใหเกิดเหตุการณสําคัญตอประวัติศาสตรโลกมากกวาแหลงอื่นๆ และเปนพ้ืนฐานสําคัญที่นํามาสูความเจริญในโลกปจจุบัน ทายนี้ผูเขียนขอขอบคุณ รศ.ดร.บรรพต กําเนิดศิริ ที่กรุณาใหคําปรึกษาและคําแนะนําอันมีคุณคายิ่ง และหวังวาหนังสือเลมน้ีจะมีประโยชนตอผูอานที่สนใจ โดยเฉพาะนักศึกษาที่เรียนวิชา ศป. 103 อารยธรรมเปรียบเทียบ เพราะจะเปนการปูพ้ืนฐานความรู เพ่ือเปนประโยชนตอการศึกษาดวยตนเองอยางละเอียดและลึกซ้ึงตอไป ปรัศนีย เกศะบุตร

Page 4: COMPARATIVE CIVILIZATION - BU

อารยธรรมเปรยีบเทียบ (5)

สารบัญ

บทนํา 1 ตอนท่ี 1 เรื่องราวของมนษุยกอนเกิดอารยธรรม 2 บทท่ี 1 มนุษยและผลงานสรางสรรคกอนเกิดอารยธรรม 3 1. ความเปนมาของมนุษย 3 2. ผลงานสรางสรรคของมนุษยสมัยกอนประวัติศาสตร 5 สรุป 11 แบบฝกหัดทายบท 11 ตอนท่ี 2 อารยธรรมสมัยโบราณ 12 บทท่ี 2 อารยธรรมเริม่แรกของโลกยุคโบราณ 13 1. ความหมายและกําเนิดของอารยธรรม 13 2. อารยธรรมเมโสโปเตเมีย 14 2.1 อิทธิพลสภาพแวดลอมทางธรรมชาติที่มีตอการสรางอารยธรรม 14 2.2 กําเนิดของอารยธรรม 15 2.3 ประวัติศาสตรการเมืองการปกครอง 15 2.4 สังคมและเศรษฐกิจ 17 2.5 ความเชื่อทางศาสนา 17 2.6 ผลงานสรางสรรคของสุเมเรียน 18 2.7 ผลงานสรางสรรคของพวกแอมมอไรตหรือบาบิโลเนียน 20 2.8 ผลงานสรางสรรคของพวกแอสซีเรียน 21 2.9 ผลงานสรางสรรคของพวกคาลเดียน 22 3. อารยธรรมอียิปตโบราณ 22 3.1 สภาพแวดลอมทางธรรมชาติและแมนํ้าไนล 22 3.2 กําเนิดของอารยธรรม 23 3.3 ประวัติศาสตรการเมืองการปกครอง 24 3.4 ความเจริญดานการปกครอง 26 3.5 สังคมและเศรษฐกิจ 26 3.6 ความเชื่อเกี่ยวกับศาสนา 27 3.7 ผลงานสรางสรรคของชาวอียิปตโบราณ 28 สรุป 34 แบบฝกหัดทายบท 34

Page 5: COMPARATIVE CIVILIZATION - BU

(6) อารยธรรมเปรยีบเทียบ

บทท่ี 3 อารยธรรมบริเวณนอกลุมแมนํ้าแถบเอเชียไมเนอรและดินแดนใกลเคียง 35 1. ฟนิเซียน 35 2. ฮีบรู 36 3. อารยธรรมเปอรเซีย 38 3.1 พัฒนาการทางอารยธรรม 38 3.2 เศรษฐกิจ 39 3.3 ศาสนา 39 3.4 ศิลปะ 39 สรุป 41 แบบฝกหัดทายบท 41 บทท่ี 4 แมแบบความเจริญของดินแดนในซีกโลกตะวันออก 42 1. อารยธรรมอินเดียโบราณ 42 1.1 อิทธิพลของสภาพแวดลอมทางธรรมชาติตอการสรางสรรคอารยธรรม 42 1.2 อารยธรรมบนลุมแมนํ้าสินธุ 43 1.3 ประวัติศาสตรการเมืองการปกครอง 44 1.4 เศรษฐกจิ 47 1.5 สังคม : ระบบวรรณะ 48 1.6 ความเชื่อทางศาสนา 49 1.7 ภาษาและวรรณคดี 51 1.8 ศิลปกรรม 53 1.9 ความเจริญกาวหนาทางดานวิทยาการ 55 2. อารยธรรมจีนโบราณ 56 2.1 ประวัติศาสตรการเมืองการปกครอง 57 2.2 เศรษฐกิจ 59 2.3 สังคม 60 2.4 ความเชื่อของชาวจีนโบราณ 61 2.5 วรรณคดี 64 2.6 ศิลปกรรม 65 สรุป 67 แบบฝกหัดทายบท 67

Page 6: COMPARATIVE CIVILIZATION - BU

อารยธรรมเปรยีบเทียบ (7)

บทท่ี 5 ตนกําเนิดความเจริญของอารยธรรมตะวันตก 68 1. อารยธรรมกรีกโบราณ 68 1.1 สภาพแวดลอมทางธรรมชาติ 68 1.2 เร่ืองราวของชาวกรีก 68 1.3 กรีกกอนสมัยนครรัฐ 69 1.4 เร่ืองราวของกรีกในชวงยุคมืด 70 1.5 ประวัติศาสตรการเมืองการปกครองของกรกีสมัยนครรัฐ 71 1.6 สงครามเปอรเซีย 74 1.7 ความเจริญกาวหนาของนครรัฐเอเธนสในศตวรรษที่ 5 กอนคริสตกาล 74 1.8 สงครามเพลอปปอนเนเซียน 75 1.9 ความเจริญของกรีกสมัยเฮลเลนิสติค 75 1.10 เศรษฐกิจ 76 1.11 ความเชื่อทางศาสนาและปรัชญา 76 1.12 ศิลปกรรม 79 1.13 วรรณคดี 81 1.14 ความกาวหนาดานวิทยาการ 82

2. อารยธรรมโรมันโบราณ 82 2.1 สภาพแวดลอมทางธรรมชาติ 82 2.2 กลุมชนตางๆ ในแหลมอิตาลี 82 2.3 โรมันกอนสมัยสาธารณรัฐ 83 2.4 โรมันสมัยสาธารณรัฐ 83 2.5 การขยายอํานาจของโรมัน 85 2.6 ความแตกแยกและวุนวายปลายสมัยสาธารณรัฐโรมัน 85 2.7 โรมันในสมัยระบอบจักรวรรดิ 87 2.8 ความเชื่อเกี่ยวกับศาสนา 88 2.9 กฎหมายของโรม 89 2.10 เศรษฐกิจ 89 2.11 ศิลปกรรม 90 2.12 ภาษาและวรรณคดี 91 2.13 ความกาวหนาดานวิทยาการ 92 สรุป 93 แบบฝกหัดทายบท 93

Page 7: COMPARATIVE CIVILIZATION - BU

(8) อารยธรรมเปรยีบเทียบ

ตอนท่ี 3 อารยธรรมสมัยกลาง 94 บทท่ี 6 อารยธรรมตะวันตกในสมัยกลาง 95 1. กําเนิดอารยธรรมยุโรป 95 1.1 อารยธรรมคลาสสิกของกรีกและโรมัน 95 1.2 วัฒนธรรมของอนารยชนเผาเยอรมัน 95 1.3 คริสตศาสนา 96 2. ระยะเร่ิมตนสมัยกลาง 98 3. สมัยศักดินาสวามิภักดิ์ (การปกครอง เศรษฐกิจ สังคม) 100 4. สมัยกลางตอนปลาย 104 5. ศิลปกรรม 107 6. วรรณคดี 109 7. ความคิดความเชื่อในสมัยกลางของยุโรป 110 สรุป 112 แบบฝกหัดทายบท 112 บทท่ี 7 อารยธรรมรวมสมัยกับอารยธรรมตะวันตกในสมัยกลาง 113 1. อารยธรรมไบแซนไตน 113 1.1 อิทธิพลของสภาวะแวดลอมทางธรรมชาติ 113 1.2 ลักษณะการปกครอง 114 1.3 เศรษฐกิจ 114 1.4 มรดกความเจริญของอารยธรรมไบแซนไตน 115 1.5 ความเสื่อมของจักรวรรดิไบแซนไตน 115 2. อารยธรรมอิสลาม 116 2.1 สภาพการณในคาบสมุทรอาหรับกอนเกิดศาสนาอิสลาม 116 2.2 กําเนิดของศาสนาอิสลาม 117 2.3 การเผยแพรศาสนาอิสลามนอกดินแดนคาบสมุทรอาหรับ 118 2.4 การเมือง เศรษฐกิจ สังคม 118 2.5 หลักคําสอนของศาสนาอิสลาม 120 2.6 การแตกแยกนิกายในศาสนาอิสลาม 120 2.7 ความเจริญกาวหนาทางศิลปวิทยาการ 121 สรุป 123 แบบฝกหัดทายบท 123

Page 8: COMPARATIVE CIVILIZATION - BU

อารยธรรมเปรยีบเทียบ (9)

บทท่ี 8 โลกตะวันออกในสมัยกลาง 124 1. อินเดีย 124 2. จีน 125 สรุป 129 แบบฝกหัดทายบท 129 ตอนท่ี 4 อารยธรรมสมัยใหม 130 บทท่ี 9 ระยะเริ่มสมัยใหม : การสรางรัฐชาต ิ 131 1. การกอตัวของรัฐชาติ 131 2. การสรางรัฐชาติของสเปน 132 3. การสรางรัฐชาติของโปรตุเกส 133 4. การสรางรัฐชาติของอังกฤษ 134 5. การสรางรัฐชาติของฝร่ังเศส 134 สรุป 136 แบบฝกหัดทายบท 136 บทท่ี 10 ระยะเริ่มสมัยใหม : การฟนฟูศิลปวิทยาการ 137 1. ที่มาของการเกิดอารยธรรมสมัยฟนฟูศิลปวิทยาการ 137 2. แนวคิดพ้ืนฐานของการฟนฟูศิลปวิทยาการ 138 3. แหลงกําเนิดการฟนฟูศิลปวิทยาการ 138 4. การฟนฟูศิลปวิทยาการในอิตาลี 139 5. การฟนฟูศิลปวิทยาการในยุโรปภาคเหนือ 145 6. สรุปลักษณะของอารยธรรมสมัยฟนฟูศิลปวิทยาการ 146 สรุป 147 แบบฝกหัดทายบท 147 บทท่ี 11 ระยะเริ่มสมัยใหม : การปฏรูิปศาสนา 148 1. ความหมายของการปฏิรูปศาสนา 148 2. สาเหตุของการปฏิรูปศาสนา 148 3. การเคลื่อนไหวที่นํามาสูการปฏิรูปศาสนา 149 4. การปฏิรูปศาสนาในดินแดนเยอรมัน 149 5. การปฏิรูปศาสนาในฝรั่งเศส 150 6. การปฏิรูปศาสนาในสวิสเซอรแลนด 151 7. การปฏิรูปศาสนาในอังกฤษ 151 8. การตอตานการปฏิรูปทางศาสนา 152 9. ผลของการปฏิรูปศาสนา 153 สรุป 155 แบบฝกหัดทายบท 155

Page 9: COMPARATIVE CIVILIZATION - BU

(10) อารยธรรมเปรยีบเทียบ

บทท่ี 12 ระยะเริ่มสมัยใหม : การขยายตัวทางการคาและการคนพบดินแดนใหม 156 1. การลมสลายของระบบเศรษฐกิจแบบคฤหาสน 156 2. การสํารวจทางทะเลและการคนพบดินแดนใหม 157 3. การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจหลังการสํารวจดินแดน 160 สรุป 162 แบบฝกหัดทายบท 162 บทท่ี 13 การติดตอระหวางโลกตะวันตกและโลกตะวันออกในระยะสมัยใหม 163 1. อินเดีย 163 2. จีน 165 สรุป 167 แบบฝกหัดทายบท 167 บทท่ี 14 พัฒนาการของโลกตะวันตกในคริสตศตวรรษที่ 17 168 1. การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร 168 2. ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยของยุโรปในคริสตศตวรรษที่ 17 173 2.1 ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยของฝร่ังเศสในคริสตศตวรรษท่ี 17 173 2.2 การปฏิวัติอันรุงโรจนในอังกฤษ 175 3. วรรณคดีในคริสตศตวรรษที่ 17 178 4. ศิลปะในคริสตศตวรรษที่ 17 178 สรุป 180 แบบฝกหัดทายบท 180 บทท่ี 15 พัฒนาการของโลกตะวันตกในคริสตศตวรรษที่ 18 181 1. สมัยภูมิธรรม 181 1.1 ลักษณะแนวคิดพ้ืนฐานของสมัยภูมิธรรม 182 1.2 ความคิดทางดานการเมืองในสมัยภูมิธรรม 182 1.3 ความคิดทางดานเศรษฐกิจในสมัยภูมิธรรม 184 1.4 ความคิดดานศาสนาในสมัยภูมิธรรม 185 2. การปกครองระบอบราชาธิปไตยทรงภูมิธรรมในปรัสเซีย ออสเตรีย และรัสเซีย 185 3. การปฏิวัติอเมริกา ค.ศ. 1776 187 4. การปฏิวัติฝร่ังเศส ค.ศ. 1789 188 5. การประชุมคองเกรสสแหงเวียนนา 191 6. วรรณคดีในคริสตศตวรรษที่ 18 193 7. ศิลปะในคริสตศตวรรษที่ 18 194 สรุป 195 แบบฝกหัดทายบท 195

Page 10: COMPARATIVE CIVILIZATION - BU

อารยธรรมเปรยีบเทียบ (11)

บทท่ี 16 พัฒนาการของโลกตะวันตกในคริสตศตวรรษที่ 19 196 1. สมัยการปฏิวัติอุตสาหกรรม 196 1.1 การปฏิวัติเกษตรกรรม 197 1.2 สาเหตุของการปฏิวัติอุตสาหกรรม 197 1.3 อังกฤษกับการปฏิวัติอุตสาหกรรม 197 1.4 ผลของการปฏิวัติอุตสาหกรรม 198 1.5 ลัทธิสังคมนิยม (Socialism) 202 1.6 การเติบโตของยุคมวลชน (Mass Society) 204 2. ความกาวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในคริสตศตวรรษที่ 19 204 3. แนวคิดที่แพรหลายในคริสตศตวรรษที่ 19 208 3.1 ลัทธิเสรีนิยม 208 3.2 ลัทธิจินตนิยม หรือโรแมนติค 210 3.3 ลัทธิชาตินิยม 210 4. วรรณคดีในคริสตศตวรรษที่ 19 212 5. ศิลปะในคริสตศตวรรษที่ 19 213 สรุป 215 แบบฝกหัดทายบท 215 บทท่ี 17 ความขัดแยงของชาติตะวันตกสูสงครามโลกในคริสตศตวรรษที่ 20 216 1. สมัยจักรวรรดินิยมใหม 216 1.1 ปจจัยที่ทําใหเกิดลัทธิจักรวรรดินิยมใหม 216 1.2 อินเดียกับลัทธิจักรวรรดินิยมใหม 217 1.3 ขบวนการชาตินิยมในอินเดีย 219 1.4 จีนกับลัทธิจักรวรรดินิยมใหม 220 1.5 ขบวนการชาตินิยมในจีน 221 1.6 บทบาทของวรรณกรรมจีนในคริสตศตวรรษที่ 20 222 2. สงครามโลกครั้งที่ 1 (ค.ศ. 1914–1918) 223 2.1 สาเหตุของสงคราม 223 2.2 ชนวนของสงคราม 224 2.3 การสรางสันติภาพหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 225 2.4 ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1 225 3. สงครามโลกครั้งที่ 2 (ค.ศ. 1939–1945) 227 3.1 สาเหตุของสงคราม 227 3.2 ชนวนของสงคราม 227 3.3 ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2 228

Page 11: COMPARATIVE CIVILIZATION - BU

(12) อารยธรรมเปรยีบเทียบ

4. วรรณคดีและศิลปะหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 229 สรุป 231 แบบฝกหัดทายบท 231 ตอนท่ี 5 อารยธรรมสมัยใหม 232 บทท่ี 18 การแบงคายของโลกและสงครามเย็น 233 1. ยุคสงครามเย็น (ค.ศ. 1947–1992) 233 1.1 ยุคแหงความตึงเครียดของสงครามเย็น 234 1.2 การคลี่คลายของสงครามเย็น 236 1.3 กลุมโลกที่สาม 237 2. องคการสหประชาชาติ 238 2.1 องคการหลักขององคการสหประชาชาติ 238 2.2 บทบาทขององคการสหประชาชาติ 239 3. การสลายตัวของโลกคอมมิวนิสต 240 3.1 ความลมเหลวของระบบคอมมิวนิสต 240 3.2 การเคลื่อนไหวทางการเมืองของปญญาชนกรรมกรในโปแลนด 241 ทศวรรษที่ 1980 3.3 การปฏิรูปเศรษฐกิจและนโยบายตางประเทศของสหภาพโซเวียต 241 สมัยกอรบาชอฟ 3.4 การพังทลายของอํานาจรัฐในยุโรปตะวันออก 241 3.5 การรวมเยอรมนี ค.ศ. 1990 242 3.6 การลมสลายของสหภาพโซเวียต ค.ศ. 1992 242 สรุป 243 แบบฝกหัดทายบท 243 บทท่ี 19 เศรษฐกิจหลังสงครามโลกครั้งท่ี 2 244

1. สภาพการณของเศรษฐกิจหลังสงครามโลกครั้งท่ี 2 244 2. บรรษัทขามชาติ : จักรวรรดินิยมทางเศรษฐกิจ 245 3. การรวมกลุมทางเศรษฐกิจ 247 3.1 การบูรณาการหรือการรวมกลุมทางเศรษฐกิจของประเทศยุโรปตะวันตก 247 3.2 สมาคมการคาเสรียุโรป : เอฟตา 251 3.3 กลุมประเทศอาเซียน 251 3.4 กลุมประเทศโอเปค 252 3.5 กลุมประเทศเอเปค 253 3.6 กลุมประเทศนาฟตา 253 3.7 ความรวมมอืทางการคาระดับโลก GATT และ WTO 253 สรุป 255 แบบฝกหัดทายบท 255

Page 12: COMPARATIVE CIVILIZATION - BU

อารยธรรมเปรยีบเทียบ (13)

บทท่ี 20 อิทธิพลความกาวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีตอสังคมโลก ในคริสตศตวรรษที่ 20 256 1. ยุคสารสนเทศ (Information Age) 256 2. ปญหาสิ่งแวดลอมจากการกาวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลย ี 257 สรุป 260 แบบฝกหัดทายบท 260 บทสงทาย 261 บรรณานุกรม 264 ภาคผนวก 1 270 ภาคผนวก 2 276