3-month climate news · ปริมาณฝน...

9
การละทิ้งถิ่นฐานเนื่องจากสภาพภูมิอากาศเป็น เรื่องจริงที่เกิดขึ้นแล้วทั่วโลก ในทุกๆปีผู้คนนับล้านต้อง ทิ้งบ้านเรือนเนื่องจากได้รับผลกระทบจากสภาพอากาศ และสภาพภูมิอากาศที่เป็นอันตรายและเปลี่ยนแปลงไป สาหรับภัยพิบัติขนาดใหญ่บางประเภทสามารถพบเห็นได้ จากการพาดหัวข่าวในระดับนานาประเทศ แต่ภัยพิบัติ ส่วนใหญ่นั้นไม่ได้แม้แต่พาดหัวข่าวภายในประเทศของ ตนเอง สาหรับครอบครัวยากจนและด้อยโอกาสที่ต้อง ต่อสู้เพื่อความอยู่รอดนั้น แม้จะมีเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้อง กับสภาพอากาศผิดปกติเพียงเล็กน้อย แต่สามารถส่งผล กระทบอย่างใหญ่หลวงต่อชีวิตของพวกเขาได้ ศูนย์การ เฝ้าติดตามการละทิ้งถิ่นฐานภายในประเทศ ( Internal Displacement Monitoring Centre :IDMC) ได้ ประมาณการว่าในระหว่างปีพ.ศ. 2551(ค.ศ. 2008) ถึงปี พ.ศ.2557( ค.ศ.2014) เฉลี่ยปีละไม่น้อยกว่า 22.5 ล้าน คนต้องทิ้งบ้านเรือนและความเป็นอยู่เนื่องจากได้รับการ เตือนภัยโดยตรงหรือได้รับผลกระทบจากภาวะนาท่วม แผ่นดินถล่ม พายุ ไฟป่าและความผิดปกติของอุณหภูมิ เพื่อความปลอดภัยของพวกเขา จากรูปกราฟสีฟ้าด้านล่างมีความผันแปรอย่างมี นัยสาคัญจากปีต่อปี ช่วงจานวนความแตกต่างของผู้ละ ทิ้งถิ่นฐานจาก 13.9 ล้านคนในปีค.ศ. 2011 กับ 38.3 ล้านคนในปี 2010 ความแปรปรวนท่เกิดขึ้นนี้ได้รับ อิทธิพลอย่างมากจากภัยพิบัติขนาดใหญ่ที่เกิดขึ้น ค่อนข้างบ่อยและคาดเดาไม่ได้ และทาให้ผู้คนนับล้าน ต้องทิ้งบ้านเรือนไปในช่วงเวลาดังกล่าว ยกตัวอย่างภัย พิบัติที่เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2557(ค.ศ.2014) จานวน 10 เหตุการณ์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ซึ่งทั้งหมดนี้มีความ เกี่ยวข้องทั้งกับพายุหรือน้าท่วมที่เกิดขึ้นในเอเชีย ทาใหผู้คนต้องละทิ้งถิ่นฐานในแต่ละที่ประมาณ 5 แสนถึง 3 ล้านคนในแต่ละประเทศดังนี้ ฟิลิปปินส์ , อินเดีย, ปากีสถาน, จีน, ญี่ปุ่นและบังคลาเทศ 3-Month Climate News ตุลาคม 2559 ปีท่ 6 ฉบับที่ 4 (October 2016, vol.6 No.4) . เรื องในเล่ม ภัยพิบัติจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศมีความเกี่ยว ปรากฏการณ์เอลนีโญ /ลานีญา......................6 ข้องกับการละทิ้งถิ่นฐานของประชากร....................... 1 สถิติอุณหภูมิ / ฝนและแนวโน้ม…..................7 สภาวะอากาศรอบ 3 เดือนที่ผ่านมา (ก.ค.-ก.ย.)......3 กิจกรรม ...................……...................... ….…9 สานักพัฒนา อ ุต ุนิยมวิทยา กรมอ ุต ุนิยมวิทยา กระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและ การสื่อสาร

Upload: others

Post on 18-Aug-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: 3-Month Climate News · ปริมาณฝน สภาวะอากาศเดือนกรกฎาคม-กันยายน มรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดปกคลุมทะเลอันดามัน

การละทิ้งถิ่นฐานเนื่องจากสภาพภูมิอากาศเป็นเร่ืองจริงที่เกิดขึ้นแล้วทั่วโลก ในทุกๆปีผู้คนนับล้านต้องทิ้งบ้านเรือนเนื่องจากได้รับผลกระทบจากสภาพอากาศและสภาพภูมิอากาศที่เป็นอันตรายและเปลี่ยนแปลงไป ส าหรับภัยพิบัติขนาดใหญ่บางประเภทสามารถพบเห็นได้จากการพาดหัวข่าวในระดับนานาประเทศ แต่ภัยพิบัติ

ส่วนใหญ่นั้นไม่ได้แม้แต่พาดหัวข่าวภายในประเทศของตนเอง ส าหรับครอบครัวยากจนและด้อยโอกาสที่ต้องต่อสู้เพื่อความอยู่รอดนั้น แม้จะมีเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสภาพอากาศผิดปกติเพียงเล็กน้อย แต่สามารถส่งผลกระทบอย่างใหญ่หลวงต่อชีวิตของพวกเขาได้ ศูนย์การเฝ้าติดตามการละทิ้งถิ่นฐานภายในประเทศ ( Internal Displacement Monitoring Centre :IDMC) ได้ประมาณการว่าในระหว่างปีพ.ศ. 2551(ค.ศ. 2008) ถึงปี พ.ศ.2557( ค.ศ.2014) เฉลี่ยปีละไม่น้อยกว่า 22.5 ล้านคนต้องทิ้งบ้านเรือนและความเป็นอยู่เนื่องจากได้รับการ

เตือนภัยโดยตรงหรือได้รับผลกระทบจากภาวะน้ าท่วม แผ่นดินถล่ม พายุ ไฟป่าและความผิดปกติของอุณหภูมิเพื่อความปลอดภัยของพวกเขา

จากรูปกราฟสีฟา้ด้านลา่งมีความผันแปรอย่างมีนัยส าคัญจากปีต่อปี ช่วงจ านวนความแตกต่างของผู้ละทิ้งถิ่นฐานจาก 13.9 ล้านคนในปีค.ศ. 2011 กับ 38.3 ล้านคนในปี 2010 ความแปรปรวนที่เกิดขึ้นนี้ได้รบัอิทธิพลอย่างมากจากภัยพิบัติขนาดใหญ่ที่เกิดขึ้นค่อนข้างบ่อยและคาดเดาไม่ได้ และท าให้ผู้คนนับล้าน

ต้องทิ้งบ้านเรือนไปในช่วงเวลาดังกล่าว ยกตัวอย่างภัยพิบัติที่เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2557(ค.ศ.2014) จ านวน 10 เหตุการณ์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ซึง่ทั้งหมดนี้มีความเก่ียวข้องทั้งกับพายุหรือน้ าท่วมที่เกิดขึ้นในเอเชีย ท าให้ผู้คนต้องละทิ้งถิ่นฐานในแต่ละที่ประมาณ 5 แสนถึง 3 ล้านคนในแต่ละประเทศดังนี้ ฟลิิปปนิส์, อินเดีย, ปากีสถาน, จีน, ญี่ปุ่นและบังคลาเทศ

3-Month Climate News ตุลาคม 2559 ปีที่ 6 ฉบับที่ 4

(October 2016, vol.6 No.4)

. เร่ืองในเล่ม ภัยพิบัติจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศมีความเกี่ยว ปรากฏการณ์เอลนีโญ /ลานีญา......................6 ข้องกับการละทิ้งถิ่นฐานของประชากร.......................1 สถิติอุณหภูมิ / ฝนและแนวโน้ม…..................7 สภาวะอากาศรอบ 3 เดือนที่ผ่านมา (ก.ค.-ก.ย.)......3 กิจกรรม ...…................……......................….…9

ส านกัพฒันา

อตุนิุยมวิทยา

กรมอตุนิุยมวิทยา

กระทรวงเทคโนโลยี

สารสนเทศและ

การส่ือสาร

Page 2: 3-Month Climate News · ปริมาณฝน สภาวะอากาศเดือนกรกฎาคม-กันยายน มรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดปกคลุมทะเลอันดามัน

ช่องว่างของความรู้: การละทิ้งถิ่นฐานในบริบทของ

การเปลี่ยนแปลงแบบค่อยเป็นค่อยไป

ขอบเขตของการประมาณการดังกล่าวนี้เป็น

รูปธรรมที่ยังถูกจ ากัดให้อยู่ในรูปของภาพรวมของการละ

ทิ้งถิ่นฐานจากสภาวะอากาศที่เป็นอันตรายและได้รับ

ผลกระทบจากสภาพภูมิอากาศต่าง ๆ ยกตัวอย่างเช่น

การละทิ้งถิ่นฐานที่ไม่ได้รวมถึงการเกิดที่มีสาเหตุจาก

สภาวะทางอ้อมที่เกิดจากการกัดเซาะที่ค่อยๆเกิดขึ้นหรือ

ค่อยๆเกิดความเสียหายต่อวิถีชีวิตของผู้คนที่อาศัยตาม

แนวชายฝั่ง ความไม่มั่นคงด้านอาหารที่เพิ่มขึ้น และ

สิ่งจ าเป็นพื้นฐานอื่น ๆเพื่อความอยู่รอดในบริบทของ

กระบวนการทางสภาพภูมิอากาศที่เกี่ยวข้อง เช่น ภัย

แล้งและระดับน้ าทะเลที่สูงขึ้น การขาดระบบการ

ตรวจสอบติดตามการละทิ้งถิ่นฐานเหล่านี้เป็นอุปสรรค

ส าคัญส าหรับความรู้ความเข้าใจในปัจจุบันที่จะให้ผู้ที่มี

อ านาจตัดสินใจก าหนดนโยบายและแผนน าไปใช้

ประโยชน์ได้

การให้ความช่วยเหลือเหตุการณ์ที่เก่ียวข้องกับ

สภาพอากาศและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่ค่อยๆ

เปลี่ยนแปลงไป ที่ท าให้เกิดความเสี่ยงในการย้ายถิ่นฐาน

ขึ้นอยู่กับรูปแบบของความเปราะบางและโอกาสเสี่ยงภัย

ของประชากร โดยในรายงานฉบับที่ 5 (Fifth

Assessment Report: AR5) จากคณะกรรมการระหว่าง

รัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (The

International Panel on Climate Change: IPCC)

ชี้ให้เห็นว่าระดับความแตกต่างของความเปราะบางและ

โอกาสเสี่ยงภัยระหว่างประชากรและประเทศเชื่อมโยงกับ

"ปัจจัยที่ไม่ใช่สภาพภูมิอากาศ" และ "ความไม่เท่าเทียมกัน

ในหลายมิติ” ที่มักจะท าให้กระบวนการพัฒนาเกิดความไม่

ราบรื่น ดังนั้นโยบายและการปฏิบัติมีจุดมุ่งหมายเพื่อลด

ความเปราะบางและโอกาสเสี่ยงภัยตลอดจนการพัฒนา

อย่างยั่งยืน และลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติและการปรับตัว

ให้เข้ากับเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จึงมีบทบาทส าคัญ

ในการป้องกันหรือลดความเสี่ยงของการละทิ้งถิ่นฐานของ

ประชากร

ประชากรที่อาศัยอยู่ในพื้นที่เกิดภัยอันตรายได้

ง่ายมีจ านวนเพิ่มมากขึ้นอย่างมีนัยส าคัญ เช่น บริเวณ

ชายฝั่งทะเลและแม่น้ าที่ราบลุ่มน้ าท่วมถึงมากกว่าเดิม

เนื่องด้วยสถานที่อาศัยดังกล่าว สามารถน าไปสู่โอกาสใน

การท ามาหากินที่เพิ่มมากขึ้นหรือการขาดพื้นที่อยู่อาศัย

ที่ปลอดภัย จากค่าการเจริญเติบโตของประชากรทั่วโลก

ประมาณ 96% นับจากปี ค.ศ. 1970 และค่าเฉลี่ยของ

ประชากรในเขตเมืองเติบโตขึ้นเป็นสองเท่าอย่างรวดเร็ว

ในประเทศก าลังพัฒนาจ านวนประชากรในเขตเมืองมี

การเติบโตขึ้น 326% โดยส่วนใหญ่แล้วสาเหตุมาจาก

การบริหารจัดการที่ไร้คุณภาพหรือขาดการวางแผน

จัดการ ความเปราะบางดังกล่าวนี้จึงเพิ่มขึ้น แนวโน้ม

เหล่านี้สะท้อนให้เห็นการขยายตัวของภัยพิบัติทั่วโลกใน

ปัจจุบันกับการละทิ้งถิ่นฐานจากภัยของสภาพอากาศที่

บันทึกไว้ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2551(ค.ศ.2008) ในขณะที่ทุกๆ

ภูมิภาคทั่วโลกก็ได้รับผลกระทบจากภัยนี้ เช่นกัน แต่

ส าหรับกลุ่มประเทศก าลังพัฒนามีค่ามากกว่า 90% และ

ในเอเชียตะวันออกและเอเชียใต้ และฝั่งแปซิฟิกจะเห็น

ว่ามีอัตราการละทิ้งถิ่นฐานสูงที่สุด ในขณะเดียวกันการ

ทิ้ งที่ อยู่ อ าศั ยดั งกล่ า ว ใน เขตลาตินอ เมริ กาแล ะ

แคริบเบียนก็มีอัตราค่อนข้างสูงเมื่อเทียบกับจ านวน

ประชากรในประเทศ (ดูกราฟด้านล่าง)

ที่มา http://www.wmo.int

2

Page 3: 3-Month Climate News · ปริมาณฝน สภาวะอากาศเดือนกรกฎาคม-กันยายน มรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดปกคลุมทะเลอันดามัน

ปริมาณฝน

สภาวะอากาศเดือนกรกฎาคม-กันยายน มรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ประเทศไทยและอ่าวไทยตลอดช่วงโดยมีก าลังแรงเป็นระยะๆ โดยในเดือนกรกฎาคมบริเวณประเทศไทยมีฝนตกหนาแน่นเกือบตลอดเดือน ส่งผลให้ปริมาณฝนมีค่าสูงกว่าค่าปกติทั่วทุกภาค ท าให้ปริมาณฝนรวมเฉลี่ยทั้งประเทศสูงกว่าค่าปกติด้วยเช่นกัน ซึ่งเป็นผลเนื่องมาจากมีหย่อมความกดอากาศต่ าปกคลุมบริเวณประเทศเวียดนามตอนบนในช่วงต้นเดือนกับมีลมตะวันออกเฉียงใต้พัดปกคลุมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลางและภาคตะวันออกในช่วงกลางเดือนนอกจากนี้ในช่วงสัปดาห์สุดท้ายของเดือนมีพายุโซนร้อน “มีรีแน” (MIRINAE) เคลื่อนตัวอยู่บริ เวณทะเลจีนใต้ ส าหรับเดือนสิงหาคมบริ เวณประเทศไทยมีฝนตกต่อเนื่องเกือบตลอดเดือน แต่ลักษณะของฝนที่ตกในแต่ละวันส่วนมากเป็นฝนเล็กน้อยถึงปานกลาง ส่งผลให้ปริมาณฝนรวมเดือนนี้ต่ ากว่าค่าปกติในทุกภาค ยกเว้นบริเวณภาคกลางและภาคใต้ฝั่งตะวันตกที่มีฝนตกหนาแน่นต่อเนื่องตลอดเดือนและมีฝนหนักถึงหนักมากบางแห่ง ท าให้บริเวณดังกล่าวมีปริมาณฝนสูงกว่าค่าปกติ ส าหรับปริมาณฝนในเดือนกันยายนบริเวณประเทศไทยมีฝนตกหนาแน่นเกือบตลอดเดือน และในช่วงกลางเดือนมีพายุโซนร้อน “ราอี (RAI)” เคลื่อนเข้าสู่ประเทศไทย ก่อนอ่อนก าลังเป็นหย่อมความกดอากาศต่ าก าลังแรงเคลื่อนเข้าปกคลุมภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางและภาคเหนือตอนล่าง ส่งผลให้ปริมาณฝนรวมทั้งเดือนสูงกว่าค่าปกติในเกือบทุกภาค ยกเว้นภาคใต้ฝั่งตะวันออก ท าให้ปริมาณฝนรวมทั้งประเทศสูงกว่าค่าปกติ 10% อุณหภูมิ ช่ วงเดือนกรกฎาคม -กันยายนที่ ผ่ านมาอุณหภูมิเฉลี่ยตามภาคต่างๆของประเทศไทยสูงกว่าค่าปกติในทุกภาค โดยสูงกว่าค่าปกติ 0.2 0.8 และ 0.5 องศาเซลเซียส ในเดือนกรกฎาคม สิงหาคม และกันยายนตามล าดับ ส าหรับอุณหภูมิสูงที่สุดในแต่ละเดือนที่ผ่านมามีดังนี้ เดือนกรกฎาคมวัดได้ 38.0 องศาเซลเซียส ที่อ าเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี เม่ือวันที 16 และ 18 กรกฎาคม ส าหรับเดือนสิงหาคมวัดได้ 38.3 องศาเซลเซียส ที่อ าเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรีเมื่อวันที่ 24 สงิหาคม และเดือนกันยายนอุณหภูมิสูงสุดวัดได้ 37.9 องศาเซลเซียส ที่อ าเภอเมือง จังหวัดสระแก้วเมื่อวันที่ 9 ก.ย.

3

Page 4: 3-Month Climate News · ปริมาณฝน สภาวะอากาศเดือนกรกฎาคม-กันยายน มรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดปกคลุมทะเลอันดามัน

ปริมาณฝนเดือนกรกฎาคม-กนัยายน 2559

ปริมาณฝนท่ีต่างจากค่าปกติเดือนกรกฎาคม (ซา้ย) สิงหาคม (กลาง) กนัยายน (ขวา) 2559

4

ปริมาณฝนเดือนกรกฎาคม (ซา้ย) สิงหาคม (กลาง) กนัยายน (ขวา) 2559

Page 5: 3-Month Climate News · ปริมาณฝน สภาวะอากาศเดือนกรกฎาคม-กันยายน มรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดปกคลุมทะเลอันดามัน

อณุหภมิูเฉลี่ยเดือนกรกฎาคม-กนัยายน 2559

อณุหภมิูเฉล่ียเดือนกรกฎาคม (ซา้ย) สิงหาคม (กลาง) กนัยายน (ขวา) 2559

อณุหภมิูเฉล่ียท่ีต่างจากค่าปกติเดือนกรกฎาคม (ซา้ย) สิงหาคม (กลาง) กนัยายน (ขวา) 2559

5

Page 6: 3-Month Climate News · ปริมาณฝน สภาวะอากาศเดือนกรกฎาคม-กันยายน มรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดปกคลุมทะเลอันดามัน

การติดตามสถานการณ ์ ENSO (El Nino/Southern Oscillation) จากความผิดปกติของอุณหภูมิ

น้้าทะเลในมหาสมทุรแปซิฟิกเขตศูนย์สูตรที่เกิดขึ้นในช่วงเดือนกรกฎาคม-กันยายน 2559 พบว่าปรากฎการณ ์ENSO อยู่ในสภาวะเป็นกลาง อุณหภูมิผิวน้้าทะเลบริเวณแถบเส้นศูนยส์ูตรทั้งตอนกลางและด้านตะวนัออกของมหาสมุทรแปซิฟิกเขตร้อนมีค่าใกล้กับค่าเฉลี่ยถึงต่้ากวา่ค่าเฉลี่ย ส้าหรับอุณหภูมิน้้าทะเลที่อยู่ลึกจากผิวน้้าลงไปจนถึงระดับ 300 เมตร บริเวณที่มีอุณหภูมิต่้ากว่าค่าเฉลี่ยมีพื้นที่ลดลงจากช่วงที่ผ่านมา โดยเฉพาะทางด้านตะวันตกของมหาสมุทรแปซฟิิก

ส้าหรับระบบบรรยากาศ ที่ระดับ 850 hPa ลมฝ่ายตะวันออกที่พัดปกคลุมเหนือน่านน้้ามหาสมุทรแปซิฟิกมีค่าใกล้เคียงกับค่าเฉลี่ย ส่วนที่ระดับ 200 hPa ลมฝ่ายตะวันตกมีค่าสูงกว่าปกติเล็กน้อย โดยเฉพาะบริเวณตอนกลางของมหาสมุทรแปซิฟิก ซึ่งในช่วง 3 เดือนนี้เป็นช่วงฤดูฝนของประเทศไทย อุณหภูมิเฉลียทั่วทั้งประเทศยังคงสูงกว่าค่าปกติ และปริมาณฝนโดยรวมสูงกว่าค่าปกติเช่นกัน (ที่มา www.tmd.go.th)

ภาพแสดงอุณหภูมิผิวน ้าทะเลต่างจากค่าปกต ิ (ในช่วง 7 สิงหาคม – 3 กันยายน 2559)

ภาพแสดงอุณหภูมิผิวน้้าทะเลมหาสมุทรแปซิฟิกเขตศูนย์สูตร ปรากฎว่าบริเวณตอนกลางและด้านตะวันออกของมหาสมุทรฯ มีค่าใกล้ค่าเฉลี่ยถึงต่้ากว่าค่าเฉลี่ย

วิเคราะห์ความน่าจะเป็นการเกิดปรากฏการณ์ ทางธรรมชาติ ( ENSO : เอลนีโญ/ลานีญา) ด้วย วิธีการทางสถิติ พบว่า มีโอกาสที่จะเปลี่ยนจาก ภาวะเป็นกลางเป็นปรากฎการณ์ลานีญาก้าลัง อ่อน ในช่วงเดือนสิงหาคม-ตุลาคม 2559 และมี โอกาสลดลงเหลือประมาณ 40-45% ที่จะ ปรากฎอยู่ถึงช่วงฤดูหนาว 2559-2560

ที่มา : National Weather Service; Climate Prediction Centre : NOAA

6

Page 7: 3-Month Climate News · ปริมาณฝน สภาวะอากาศเดือนกรกฎาคม-กันยายน มรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดปกคลุมทะเลอันดามัน

สถิติอุณหภูมิและปริมาณฝนตามภาคต่างๆของประเทศไทยในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา (กรกฎาคม – กนัยายน 2559)

เดือน เหนือ ตะวันออกเฉียง

เหนือ กลาง ตะวันออก ใต้ฝั่งตะวันออก ใต้ฝั่งตะวันนตก

อุณหภูมิต่่าที่สุด ก.ค. 17.6 20.0 22.0 20.8 20.2 22.1 ( °ซ) ส.ค. 20.4 21.9 21.6 21.2 20.3 22.4

ก.ย. 19.4 21.0 22.0 21.0 21.0 24.2 อุณหภูมิสูงที่สุด ก.ค. 37.9 37.8 38.0 36.8 37.8 37.0

(°ซ) ส.ค. 37.2 36.9 38.3 35.8 37.2 34.7 ก.ย. 37.0 36.0 36.8 37.9 37.1 34.9

อุณหภูมิต่่าสุดเฉลี่ย ก.ค. 24.1 24.7 25.4 25.0 24.2 24.6 (°ซ) ส.ค. 24.3 25.1 25.8 26.0 24.6 25.2

ก.ย. 24.2 24.6 25.2 25.2 24.2 21.7 อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย ก.ค. 32.5 32.9 33.7 32.6 36.4 31.9

(°ซ) ส.ค. 32.2 32.9 34.1 33.0 33.7 31.3 ก.ย. 32.3 31.9 33.0 32.3 33.2 30.8

ปริมาณฝนรวมเฉลี่ย ก.ค. 222.0 225.5 181.8 316.1 182.3 395.4 (มม.) ส.ค. 204.1 240.2 194.3 243.7 107.3 471.2

ก.ย. 238.8 294.4 272.4 351.4 112.0 513.1 ปริมาณฝนสูงที่สุด ก.ค. 128.6 167.6 106.4 189.7 95.3 209.9

ใน 24 ชั่วโมง ส.ค. 161.3 150.3 107.2 139.0 99.3 174.9 (มม.) ก.ย. 139.2 147.8 108.9 229.5 70.0 178.6

จ่านวนวันฝนตก เฉลีย่(วัน)

ก.ค. 20.8 18.7 18.4 19.2 16.6 19.5 ส.ค. 21.4 17.3 16.4 16.4 15.1 25.0

ก.ย. 19.0 19.9 19.1 18.8 14.8 24.6

หมายเหตุ : เปน็ข้อมูลจากสถานอีุตุนิยมวิทยา กรมอุตุนยิมวิทยา ทั้งนี้ไม่รวมอณุหภูมิยอดดอย* หรือ อุณหภูมิยอดหญา้**

* อณุหภมูิยอดดอย คือ อณุหภมูิต ่าสดุที่ตรวจวดั ณ บริเวณยอดดอย ** อณุหภมูิยอดหญ้า คือ อณุหภมูิต ่าสดุที่อา่นได้จากเทอร์โมมิเตอร์ ณ ระดบัใบหญ้าที่ตดัสัน้

7

Page 8: 3-Month Climate News · ปริมาณฝน สภาวะอากาศเดือนกรกฎาคม-กันยายน มรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดปกคลุมทะเลอันดามัน

แนวโน้มปริมาณฝนของประเทศไทยจากสถิติในรอบ 66 ปี (พ.ศ.2494 – 2559)

(กรกฎาคม – กันยายน 2559) ปริมาณฝนของประเทศไทยเดือนกรกฎาคมในระยะ 10 ปีหลังนี้ส่วนใหญ่สูงกว่าค่าปกติ ยกเว้นปี 2550 ที่ต่่ากว่าค่าปกติเล็กน้อย โดยในระยะยาวพบว่ามีแนวโน้มลดลงเล็กน้อย ส่าหรับเดือนสิงหาคมปริมาณฝนในช่วง 10 ปีหลังนี้ พบว่าส่วนใหญ่ต่่ากว่าค่าปกติ ยกเว้นปี 2553, 2554 และ 2557 มีค่าสูงกว่าค่าปกติ และในระยะยาวมีแนวโน้มลดลง ส่วนเดือนกันยายนปริมาณฝนช่วง 10 ปีนี้ส่วนใหญ่สูงกว่าค่าปกติ ยกเว้นปี 2553 และ2557 มีค่าต่่ากว่าปกติ และในระยะยาวปริมาณฝนมีแนวโน้มลดลง

เปอร์เซนต์ปริมาณฝนทีมี่ค่าสูง (+) หรือต ่า ( - ) กว่าค่าปกติของประเทศไทย,

ค่าเฉล่ียเคล่ือนที่ 3 ปี (moving average) (.…) และแนวโน้มการเปล่ียนแปลงเชิงเส้น (----)

8

Page 9: 3-Month Climate News · ปริมาณฝน สภาวะอากาศเดือนกรกฎาคม-กันยายน มรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดปกคลุมทะเลอันดามัน

กรมอุตุนิยมวิทยา ในฐานะที่เป็นสมาชิกขององค์การอุตุนิยมวิทยาโลก (WMO) ซึ่งเป็นหน่วยงานที่ร่วมกับโครงการ

สิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (UNEP) จัดตั้งคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (Intergovernmental Panel on Climate Change หรือ IPCC) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินข้อมูลข่าวสารด้านวิทยาศาสตร์ และเศรษฐกิจ-สังคมที่เกี่ยวข้อง เพื่อน่าไปสู่ความรู้ความเข้าใจเรื่องการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ตลอดจนผลกระทบ การปรับตัว และการบรรเทาปัญหาอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ได้เล็งเห็นความส่าคัญของข้อมูลสภาพภูมิอากาศมาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะชุดข้อมูลการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศภายใต้ Coupled Model Intercomparison Project Phase 5 (CMIP5) จากสถานการณ์จ่าลองทางภูมิอากาศชุดใหม่ Representative Concentration Pathway (RCP) ที่อ้างอิงจาก Fifth Assessment Report (AR5) โดย IPCC ซึ่งเป็นชุดข้อมูลคาดการณ์สภาพภูมอิากาศล่าสุดที่เผยแพร่และได้รับการยอมรับในระดับโลก จึงควรมีการเผยแพร่เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ และตระหนักถึงข้อมูลการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว รวมถึงสามารถน่าไปประยุกต์ใช้ร่วมกับภาคส่วนต่างๆเพื่อบรรเทาหรือลดผลกระท บจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศท่ีก่าลังจะเกิดขึ้นต่อไปในอนาคต กรมอุตุนิยมวิทยา โดยศูนย์ภูมิอากาศ จึงจัดการฝึกอบรมฯครั้งนีโ้ดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ข้อมูลการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ CMIP5 แก่ส่วนราชการ หน่วยงานที่มีการด่าเนินงานเกี่ยวข้องกับข้อมูลด้านการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการน่าข้อมูลการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศไปประยุกต์ใช้ รวมทั้งเสริมสร้างความเข้มแข็งระหว่างกรมอุตุนิยมวิทยาและเครือข่ายผู้ใช้ข้อมูลการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ

ในการฝึกอบรมฯครั้งนี้ มผีู้เข้าร่วมประมาณ 40 คน จาก 19 หน่วยงาน ได้แก่ กรมวิชาการเกษตร กรมส่งเสริม

คุณภาพสิ่งแวดล้อม กรมพัฒนาท่ีดิน กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช กรมป่าไม้ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั กรมชลประทาน กรมการข้าว กรมทรัพยากรน้่า กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ส่านักการระบายน้า่ ส่านักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมสิารสนเทศ สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี องค์การบริหารจดัการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) มหาวิทยาลยัขอนแก่น และส่านักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติและกรมอุตุนิยมวิทยา โดยหลังจากการอบรมฯเสรจ็สิ้นผู้เข้าฝึกอบรมมคีวามพึงพอใจโดยรวมต่อการเข้าอบรมและมีความเช่ือมั่นในผลผลิตและการให้บริการด้านภูมิอากาศและการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ นอกจากน้ีผู้เข้าอบรมยังมีความต้องการเข้าร่วมเป็นเครือข่ายในกิจกรรม/งานของกรมอุตุนิยมวิทยาด้านภูมิอากาศและการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่จะจัดขึ้นในอนาคต เช่น การประชุมวิชาการ/ประชุมเชิงปฏิบัติการ การฝึกอบรม และโครงการความร่วมมือต่างๆ และกิจกรรมแลกเปลีย่นเรียนรูด้้านอุตุนิยมวิทยาและแผ่นดินไหวต่อไปอีกด้วย

โดยศูนย์ภูมอิากาศ ส านกัพัฒนาอุตุนยิมวิทยา กรมอุตุนยิมวิทยา โทร. 023991423 023989929 โทรสาร 023838827 กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร www.climate.tmd.go.th www.tmd.go.th

9