คํําาน - fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป -...

192
1 คํานํา ขอมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ (Material safety data sheet) หรือ MSDS เปนเอกสารรายละเอียด ของสารเคมี ที่บริษัทผูผลิตสารเคมี ใหมาพรอมกับสารเคมี เพื่อที่ผูซื้อสามารถศึกษารายละเอียดของสารเคมี ที่ใชปฏิบัติงาน สามารถขอไดจากบริษัทผูขายเคมีภัณฑ หรือจากบริษัทผูผลิตโดยตรง รวมทั้งสามารถสืบคน ไดจากฐานขอมูลตางๆ เชน ฐานขอมูลของศูนยขอมูลวัตถุอันตรายและเคมีภัณฑ กรมควบคุมมลพิษ ที0http://msds.pcd.go.th ฐานขอมูลอาชีวอนามัยและความปลอดภัยเกี่ยวกับการใชสารเคมีของกรม อนามัย กระทรวงสาธารณสุข ไดทีwww.anamai.moph.go.th ฐานขอมูลการจัดการความรูเรื่องความ ปลอดภัยดานสารเคมี ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดทีhttp://www.chemtrack.org หรือ สืบคนจาก website ตางประเทศที่ใหบริการขอมูล MSDS เชน ที1Hhttp://www.SIRI.org เปนตน โดยทั่วไปขอมูล ความปลอดภัยเคมีภัณฑ จะประกอบไปดวย 1.ขอมูลของบริษัทผูผลิตสารเคมี 2. หมายเลขสารเคมี CAS registry number (Chemical Abstract Services) 3.ลักษณะทางกายภาพ และเคมีของสารเคมี 4.อันตรายที่อาจเกิดจากการไดรับสารเคมี รวมทั้งโอกาสและชองทางที่อาจจะไดรับ 5.วิธีที่เหมาะสมในการเก็บรักษา 6.แนวทางการปฐมพยาบาลเบื้องตน 7.การจัดการของเสีย 8.การเคลื่อนยายและขนสง เจาหนาทีที่ปฏิบัติงานในหองปฏิบัติการทุกคน ควรที่จะศึกษาขอมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ ของ สารเคมีทุกตัวที่ตองใชในหองปฏิบัติการ กอนเริ่มการปฏิบัติงานจริง เพื่อสามารถเตรียมความพรอมเพื่อให เกิดความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน เชน สวมใสอุปกรณปองกันตนเองไดอยางเหมาะสม เอกสารขอมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑฉบับนี้อาศัยขอมูลจากฐานขอมูลของศูนยขอมูลวัตถุอันตราย และเคมีภัณฑ กรมควบคุมมลพิษ (2Hhttp://msds.pcd.go.th) ซึ่งคัดมาเฉพาะขอมูลสารเคมีที่มีใชใน หองปฏิบัติการของสํานักวิจัยและพัฒนาประมงชายฝในสวนที่จัดเปนสารเคมีอันตรายตามประกาศ กระทรวงมหาดไทย วาดวยเรื่องความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย .. 2534 เทานั้น

Upload: others

Post on 08-Mar-2020

6 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

1

คํานํา

ขอมูลความปลอดภัยเคมภีณัฑ (Material safety data sheet) หรือ MSDS เปนเอกสารรายละเอียดของสารเคมี ที่บริษัทผูผลิตสารเคมี ใหมาพรอมกับสารเคมี เพื่อที่ผูซ้ือสามารถศึกษารายละเอียดของสารเคมีที่ใชปฏิบัติงาน สามารถขอไดจากบรษิัทผูขายเคมีภัณฑ หรือจากบรษิัทผูผลิตโดยตรง รวมทั้งสามารถสืบคนไดจากฐานขอมูลตางๆ เชน ฐานขอมูลของศูนยขอมูลวัตถุอันตรายและเคมีภัณฑ กรมควบคุมมลพิษ ที่ 0http://msds.pcd.go.th ฐานขอมูลอาชีวอนามัยและความปลอดภยัเกี่ยวกับการใชสารเคมีของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ไดที่ www.anamai.moph.go.th ฐานขอมูลการจัดการความรูเร่ืองความปลอดภัยดานสารเคมี ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดที ่http://www.chemtrack.org หรือ สืบคนจาก website ตางประเทศที่ใหบริการขอมูล MSDS เชน ที่ 1Hhttp://www.SIRI.org เปนตน โดยทัว่ไปขอมูลความปลอดภยัเคมีภณัฑ จะประกอบไปดวย

1.ขอมูลของบริษัทผูผลิตสารเคมี 2. หมายเลขสารเคมี CAS registry number (Chemical Abstract Services)

3.ลักษณะทางกายภาพ และเคมีของสารเคมี 4.อันตรายที่อาจเกิดจากการไดรับสารเคมี รวมทั้งโอกาสและชองทางทีอ่าจจะไดรับ 5.วิธีที่เหมาะสมในการเก็บรักษา 6.แนวทางการปฐมพยาบาลเบื้องตน 7.การจัดการของเสีย 8.การเคลื่อนยายและขนสง เจาหนาที่ ที่ปฏิบัติงานในหองปฏิบัติการทุกคน ควรที่จะศึกษาขอมูลความปลอดภยัเคมีภณัฑ ของ

สารเคมีทุกตัวท่ีตองใชในหองปฏิบัติการ กอนเริ่มการปฏิบัติงานจริง เพื่อสามารถเตรียมความพรอมเพื่อใหเกิดความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน เชน สวมใสอุปกรณปองกันตนเองไดอยางเหมาะสม เอกสารขอมูลความปลอดภยัเคมีภณัฑฉบบันี้อาศัยขอมลูจากฐานขอมลูของศูนยขอมูลวัตถุอันตรายและเคมีภณัฑ กรมควบคุมมลพิษ (2Hhttp://msds.pcd.go.th) ซ่ึงคัดมาเฉพาะขอมูลสารเคมีที่มีใชในหองปฏิบัติการของสํานักวิจยัและพฒันาประมงชายฝง ในสวนที่จดัเปนสารเคมีอันตรายตามประกาศกระทรวงมหาดไทย วาดวยเรื่องความปลอดภัยในการทํางานเกีย่วกับสารเคมีอันตราย พ.ศ. 2534 เทานั้น

Page 2: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

2

1. Acetic acid ( aqeous) ; Methanecarboxylic acid

ชื่อเคมี IUPAC: Ethanoic acid ชื่อเคมีท่ัวไป Acetic acid ( aqeous) ; Methanecarboxylic acid ชื่อพองอื่นๆ Glacial acetic acid ; Ethylic acid; Vinegar acid; Vinegar; Methanecarboxylic acid; TCLP extraction fluid 2; Shotgun; Glacial acetic acid; Acetic acid, solution, more than 10% but not more than 80% acid; สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 64-19-7 รหัส EC NO. 607-002-00-6 UN/ID No. 2789, 2790 รหัส RTECS AF 1225000 รหัส EUEINECS/ELINCS 200-580-7 ชื่อวงศ กรดอนินทรีย ชื่อผูผลิต/นําเขา TEXACO CHEMICAL INC. แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 1.1 การใชประโยชน (Uses) ใชเปนสารเคมีในหองปฏิบตัิการ, ใชในการสังเคราะหสาร 1.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 3310 ( หนู) LC50(มก./ม3) : 13825.2 / 1 ช่ัวโมง ( หน)ู IDLH(ppm) : 50 ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : 10 PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : 10 TLV-STEL(ppm) : 15 TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง 6 ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนดิที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ : กรมโรงงานอุตสาหกรรม

Page 3: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

3

1.3 คุณสมบัตทิางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ของเหลว สี : ใส กล่ิน : กรด นน.โมเลกุล : 60 จุดเดือด(0ซ.) : 224 จุดหลอมเหลว/จดุเยือกแข็ง(0ซ.) : 62 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 1.05 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : 2 ความหนดื(mPa.sec) : 1.53 ความดันไอ(มม.ปรอท) : 11 ที่ 68 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : 100 ที่ - 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : 2.5 ที่ 20 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 2.46 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.41 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : 1.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเอาไอ ละอองหรือฝุนเขาไปทําใหแสบไหมจมกู คอและตา ไอ แนนหนาอก และหายใจติดขัด การสัมผัสเปนเวลานานทําใหมีอาการ cyanosis (ผิวหนังและริมฝปากเปนสีเขียวคล้ํา) โรคปอดอักเสบ ทําลายปอด หรือ เสียชีวิตได สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนังจะกอใหเกดิการระคายเคือง เจ็บปวด เปนผ่ืนแดง และบวม มีอาการแสบไหม เกิดเปนตุมตามผิวหนัง และเนื้อเยื่อถูกทําลาย กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนกินเขาไปทาํใหแสบไหมปาก คอ และปวดทอง เจ็บหนาอก คล่ืนไส อาเจียน ทองรวง กระหายน้ํา ออนเพลีย และเปนแผลในทอง ทาํใหอาเจยีน และทําลายปอด สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตาจะทําใหเกดิการระคายเคือง เจ็บปวด น้ําตาไหล ทําใหตาบวม เปนผ่ืนแดง และแสบไหมตา ถารุนแรงอาจทําใหตาบอดได การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ - การหายใจเอาสารเขาไปนานๆ จะทําลายปอด ถาถูกผิวหนังเปนเวลาติดตอกัน ทําใหเปนโรคผิวหนัง เปนโรคหลอดลมอักเสบ โรคปอด ทําลายฟน ไต 1.5 ความคงตวัและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัวทางเคมี : สารนี้มีความเสถียร - สารที่เขากันไมได : น้ํา ความรอน สารออกชิไดซรุนแรง สารทําปฏิกิริยารุนแรงกบัเบส - สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความชื้น - สารเคมีอันตรายจาการสลายตัว : เกิดควันของคารบอนมอนอกไซด คารบอนไดออกไซด อัลดีไฮด และค-ีโตน - อันตรายจากปฏิกิริยาการเกดิพอลิเมอร : ไมเกิดขึ้น

Page 4: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

4

1.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : 42.77 จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : 426.66 คา LEL % : 4 UEL % : 16

LFL % : - UFL % : - NFPA Code : - สารนี้เปนของเหลวไวไฟ - สารทําปฏิกิริยารุนแรงกับน้าํ อาจเปนอันตรายตอบุคคล - สารดับเพลิง : ผงเคมีแหง โฟม คารบอนไดออกไซด - ใชน้ําฉีดหลอเย็นภาชนะบรรจุที่สัมภัสเพลิงไหม - ในกรณีเกิดเพลิงไหม ใหผูดับเพลิงสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายทีม่ีเครื่องชวยหายใจในตวั - ควรอยูเหนือลมหลีกเลี่ยงไอของสาร - ทําความสะอาด หรือกําจดัเสื้อผาทิ้งไป 1.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมดิชิด - เก็บสารไวทีอุ่ณหภูมิต่ําและแหง - เก็บใหหางจากความรอน เปลวไฟ อุณหภูมิสูง หลีกเลีย่งน้ํา - จัดใหมีฝกบวัอาบน้ํา และอางลางหนาในบริเวณที่มีการใช และเคลือ่นยายสาร - ชื่อในการขนสง - ประเภทอันตราย 8 - รหัส UN 2789 - กลุมการบรรจุ : II 1.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - วิธีการปฏิบตัิกรณีเกดิการหกรั่วไหล : ถาสารหกเล็กนอยใชน้ําฉีดลางทันที แลวทําใหเปนกลางดวยโซดาแอซ ถาหาน้ําไมได ใหดูดซบัสารที่หกร่ัวไหลดวยทราย หรือดิน - เก็บสวนที่หกร่ัวไหลใสภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิดสําหรบันําไปกําจดั - ใหสวมใสอุปกรณปองกนัอันตรายที่เหมาะสม - หลีกเลี่ยงการหายใจเอาฝุนเขาไป

Page 5: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

5

- หลีกเลี่ยงการสัมผัสถูกตา ผิวหนัง เสื้อผา - การพิจารณาการกําจัด : ปฏิบัติใหเปนไปตามกฎระเบยีบที่ทางราชการกําหนด 1.9 อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : - ขอแนะนําในการเลือกประเภทหนากากปองกันระบบหายใจ - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 50 ppm : ใหใชอุปกรณชวยหายใจประเภททีใ่ชการสงอากาศสําหรับการหายใจ ซ่ึงมีอัตราการไหลของอากาศแบบตอเนื่อง โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 25 หรือ ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) ซ่ึงใชสารเคมีประเภทที่เหมาะสมเปนตัวดดูซับในการกรอง (Cartridge) โดยแนะนําใหใชอุปกรณ ทีม่ีคา APF. = 25 หรือ ใหเลือกใชอุปกรณปองกันระบบหายใจ ซ่ึงใชสารเคมีประเภทที่เหมาะสมเปนตัวดดูซับในการกรอง (Cartridge) พรอมหนากากแบบเต็มหนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือ ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา (gas mask) ซ่ึงมี canister สําหรับปองกันไอระเหยของสารอินทรีย โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 50 หรือใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตวั (SCBA) พรอมหนากาก แบบเต็มหนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 - ในกรณีที่เกิดเหตุฉกุเฉิน หรือการเขาไปสัมผัสกับสารที่ไมทราบชวงความเขมขน หรือการเขาไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เปน IDLH : ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดทีม่ีถังอากาศในตัว (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบ ความดันภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10,000 หรือ ใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางาน แบบความดนัภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใชการทํางานรวมกนัระหวางอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเปนบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10,000 - ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉิน : ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอม หนากากแบบเต็มหนา อุปกรณกรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) หรือใหใชอุปกรณที่เหมาะสมสําหรับในกรณกีารหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉินพรอมอปุกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตวั (SCBA) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มี คา APF.= 50 1.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป : - ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มอีากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจลําบากใหออกซิเจน สงไปพบแพทยทันท ี

Page 6: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

6

กินหรือกลืนเขาไป : - ถากลืน หรือกินเขาไป ถาผูปวยยังมีสติใหดืม่น้ํา (1602) อยากระตุนใหเกิดการอาเจียน แตถาเกิดการอาเจยีนขึ้นใหดื่มน้ําอกี นําสงไปพบแพทยทนัที หามไมใหส่ิงใดเขาปากผูปวยที่หมดสติ สัมผัสถูกผิวหนัง : - ถาสัมผัสถูกผิวหนงั ใหฉีดลางผิวหนังทันทีโดยใหน้ําไหลผานอยางนอย 15 นาที พรอมถอดเสื้อผา และรองเทาที่ปนเปอนสารเคมีออก นําสงไปพบแพทย ซักทําความสะอาดเสื้อผา และรองเทากอนนาํกลับมาใชใหม สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตา ใหฉดีลางตาโดยใหน้ําไหลผานอยางนอย 15 นาที กระพริบตาถี่ๆ อยาใหน้ําลางตาไหลผานหนา ถายงัมีอาการระคายเคืองอยูใหลางซ้ําอีก 15 นาที อ่ืน ๆ : 1.11 ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม (Environmental Impacts) - สารนี้สามารถเกิดการยอยสลายทางชีวภาพไดสูง สามารถกําจัดไดอยางงายดาย - เปนพษิตอส่ิงมีชีวิตในน้ํา สงผลเปนอันตรายเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงพีเอชแมในสภาพเจือจาง - ไมสงผลตอส่ิงแวดลอมหากมีการใชและจัดการผลิตภณัฑอยางเหมาะสม 1.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : 1603 OSHA NO. : 186SG วิธีการเก็บตวัอยาง : หลอดเก็บตวัอยาง วิธีการวิเคราะห : แกซโครมาโตกราฟฟ ขอมูลอ่ืน ๆ : - การเก็บตวัอยางใช coconut shell charcoal 100 mg/50 mg - อัตราไหลสําหรับเก็บตวัอยาง 0.01 ถึง 1 ลิตรตอนาที - ปริมาตรเก็บตัวอยางต่ําสุด 20 ลิตร , สูงสุด 300 ลิตร

Page 7: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

7

1.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 3 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา 2 " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา 1.76 " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 12 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา 16 " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , 0363 " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา 3 " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา 13 " 10. Source of Ignition หนา 70 " 11. "อ่ืน ๆ" http://chemtrack.trf.or.th " 1.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : 19 DOT Guide : 132 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

Page 8: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

8

2. Acetone ; Dimethyl ketone ชื่อเคมี IUPAC: 2-Propanone ชื่อเคมีท่ัวไป Acetone ; Dimethyl ketone ชื่อพองอื่นๆ Methyl ketone; Ketone propane; Dimethyl formaldehyde; Beta-ketopropane; Pyroacetic ether; Propanone; Dimethylketal; Pyroacetic acid; Chevron acetone สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 67-64-1 รหัส EC NO. 606-001-00-8 UN/ID No. 1090 รหัส RTECS AL 3150000 รหัส EUEINECS/ELINCS 200-662-2 ชื่อวงศ - ชื่อผูผลิต/นําเขา - แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 2.1 การใชประโยชน (Uses) - ใชในการทําเครื่องสําอางค เปนตัวทําละลาย ใชในการชะลาง เปนสารไลน้ํา 2.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 5800 ( หน)ู LC50(มก./ม3) : 50,100 / 8 ช่ัวโมง ( หน)ู IDLH(ppm) : 2500 ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : 1000 PEL-STEL(ppm) : 1000 PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : 500 TLV-STEL(ppm) : 750 TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนดิที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนดิที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ : กรมโรงงานอุตสาหกรรม

Page 9: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

9

2.3 คุณสมบัตทิางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ของเหลว สี : ใส ไมมีสี กล่ิน : คลายมินท นน.โมเลกุล : 58.08 จุดเดือด(0ซ.) : 56.5 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -95 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 0.79 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : - ความหนดื(mPa.sec) : 0.32 ความดนัไอ(มม.ปรอท) : 400 ที่ 39.5 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : ละลายน้ําได ที่ 20 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : - ที่ - 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 2.38 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.42 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : 2.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเอาไอระเหยของสารเขาไปจะกอใหเกิดการระคายเคืองตอระบบทางเดินหายใจ ทําใหเกิดอาการไอ เวียนศีรษะ หดหู และปวดศีรษะ ถาไดรับปริมาณมาก ๆ มีผลกระทบตอระบบประสาทสวนกลาง สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงั : จะกอใหเกดิการทําลายชัน้ไขมันของผิวหนัง ซ่ึงเปนสาเหตุที่ทําใหเกดิผ่ืนแดง ผิวหนังแหงและแตก กอใหเกิดอาการปวดแสบปวดรอนได กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนหรือกินเขาไปในปริมาณนอยจะไมกอใหเกิดอนัตราย แตหากกินหรือกลืนเขาไปในปริมาณมาก จะทําใหเกิดอาการปวดทอง คล่ืนไส และอาเจยีน สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตา ไอระเหยของสารจะกอใหเกิดการระคายเคืองตอตา ทาํให ปวดตา น้าํตาไหล ตาแดง และปวดตาได การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ - สัมผัสเรื้อรัง : การสัมผัสนาน ๆ หรือเปนประจําทางผิวหนัง จะกอใหเกิดการระคายเคืองอยางรุนแรง หรืออาจทําใหเกิดการอกัเสบของผิวหนังได - สารนี้มีผลทําลายปอด ทรวงอก ไต ทอไต กระเพาะปสสาวะ 2.5 ความคงตวัและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัวทางเคมี สารนี้เสถียรภายใตสภาวะปกติของการใชและการเก็บ - สารที่เขากันไมได : สวนผสมระหวางกรดไนตริกเขมขนและกรดซัลฟูริก, สารออกซิไดซ, คลอโรฟอรม, แอลคาไล, สารประกอบคลอรีน, กรด, โพแทสเซียมทีบวิทอกไซด (potassium t-butoxide) - สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง ความรอน เปลวไฟ แหลงจดุติดไฟและสารที่เขากันไมได - สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว คารบอนไดออกไซด และคารบอนมอนนอกไซด จะเกิดขึน้เมื่อถูกความรอนทําใหสลายตัว - อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร : จะไมเกิดขึ้น

Page 10: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

10

2.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : - 20 จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : 465 คา LEL % : 2.5 UEL % : 12.8 LFL % : - UFL % : - NFPA Code :

- การระเบิด จะเกิดขึน้ไดเมือ่สัมผัสกับความรอนที่อุณหภูมิมากกวาจดุวาบไฟ - สวนผสมไอระเหยกับอากาศจะระเบดิไดภายในขีดจํากัดความไวไฟ - ไอระเหยสามารถแพรกระจายไปสูแหลงจุดติดไฟและเกิดไฟยอนกลับมาได - การสัมผัส กับสารออกซิไดซอาจเปนสาเหตุทําใหเกดิเพลิงไหม - ภาชนะบรรจทุี่ปดผนึกสนทิอาจเกิดระเบดิไดเมื่อไดรับความรอน - สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัวคารบอนไดออกไซด และคารบอนมอนนอกไซด จะเกิดขึน้เมื่อถูกความรอนทําใหสลายตัว - สารนี้วองไวตอประจุไฟฟาสถิตย - สารดับเพลิงในกรณีเกดิเพลิงไหม ใหใชผงเคมีแหง แอลกอฮอลโฟม หรือคารบอนไดออกไซด - น้ําจะใชไมไดผลในการดับเพลิง - ใหใชการฉีดน้ําเปนฝอยเพือ่หลอเย็นภาชนะบรรจุที่ถูกเพลิงไหม , เจือจางสวนที่หกรั่วไหลใหเปนสวนผสมที่ไมไวไฟ และเพื่อปองกนัการสัมผัสกับสารและพยายามปองกันบุคคลที่จะเขาไปหยุดการรัว่ไหลและการแพรกระจายของไอระเหย -ในเหตุการณเกิดเพลิงไหม ใหสวมใสชุดปองกันสารเคมีและอุปกรณชวยหายใจชนดิมีถังอากาศในตัว(SCBA) พรอมกับหนากากแบบเต็มหนา 2.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมดิชิด - เก็บในบริเวณที่เยน็และแหง - เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพยีงพอ - เก็บหางจาก : ความรอน เปลวไฟ แหลงจดุติดไฟ และสารที่เขากันไมได - หามสูบบุหร่ีในบริเวณที่มกีารใชและเกบ็สาร - หลีกเลี่ยงการหายใจ การกลืนกิน การสัมผัสกับผิวหนัง และเสื้อผา - ทําการเคลื่อนยายในที่โลง - ใหลางทําความสะอาดรางกาย ใหทั่วถึงภายหลังทําการเคลื่อนยาย

Page 11: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

11

2.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - วิธีการปฏิบตัิเมื่อเกิดอุบัติเหตุร่ัวไหล : ใหระบายอากาศพื้นที่ที่หกร่ัวไหล - ใหเคลื่อนยายแหลงจุดติดไฟทั้งหมดออกไป - ใหสวมใสอุปกรณปองกนัอันตรายสวนบุคคลที่เหมาะสม - กั้นแยกบริเวณที่หกร่ัวไหลเปนพื้นที่อันตราย - ปองกันบุคคลที่ไมเกี่ยวของออกไป - เก็บและเอาของเหลวคืนกลับมาใชใหมเมือ่เปนไปได - ใชเครื่องมือและอุปกรณทีไ่มกอใหเกิดประกายไฟ - เก็บรวบรวมของเหลวในภาชนะบรรจุที่เหมาะสมหรือดูดซับดวยวตัถุเฉื่อย เชน แรหินทราย (vermiculite) ทรายแหง ดิน (earth) และเกบ็ใสในภาชนะบรรจุกากของเสียจากเคม ี- อยาใชวัสดุตดิไฟได เชน ขีเ้ล่ือย ในการดดูซับสารที่หกร่ัวไหล - อยาฉีดลางลงทอระบายน้ํา ถาสารที่หกร่ัวไหลยังไมลุกติดไฟ - ใชน้ําฉีดเปนฝอยเพื่อสลายกลุมไอระเหย เพื่อปองกันบคุคลที่พยายามจะเขาไปหยดุการรั่วไหล และฉีดลางสวนที่หกร่ัวไหลออกจากการสัมผัส - แนะนําใหใชวัสดุดูดซับตวัทําละลายกับการหกรั่วไหลของสารนี้ - การกําจดั ไมควรนําสารกลับมาใชใหม ควรนําไปกําจัดเชนเดยีวกับของเสียอันตราย - กระบวนการใชหรือการปนเปอนของสารนี้จะตองเปลีย่นแนวทางในการจัดการของเสียใหม - การจัดการกบัภาชนะบรรจุและมิไดใชแลวจะตองดําเนินการใหสอดคลองกับกฏหมาย ความตองการของสวนกลางและทองถ่ิน - การพิจารณาการกําจัด : ปฏิบตัิใหเปนไปตามกฎระเบยีบที่ทางราชการกําหนด 2.9 อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : - ขอแนะนําในการเลือกประเภทหนากากปองกันระบบหายใจ - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 50 ppm ใหเลือกใชอุปกรณปองกันระบบหายใจ ซ่ึงใชสารเคมีประเภทที่เหมาะสมเปนตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10 หรือใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอม Cartridge ซ่ึงสามารถปองกันไอระเหยของสารอินทรีย โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 25 หรือหรือใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) ซ่ึงใชสารเคมีประเภทที่เหมาะสมเปนตัวดดูซับในการกรอง (Cartridge) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 25 ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา (gas mask) ซ่ึงมี Canister สําหรับปองกันไอระเหยของสารอินทรีย โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) โดยแนะนําใหใช

Page 12: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

12

อุปกรณที่มีคา APF. = 10 หรือใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตวั (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 50 - ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเขาไปสัมผัสกับสารที่ไมทราบชวงความเขมขน หรือการเขาไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เปน IDLH : ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตวั (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดนัภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 10,000 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดันภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใชการทํางานรวมกันระหวางอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเปนบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10,000 - ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉิน : ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมอุปกรณชวยหายใจหนากากแบบเต็มหนา (gas mask) ซ่ึงมี Canister สําหรับปองกันไอระเหยสารอินทรีย โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือใหใชอุปกรณที่เหมาะสมสําหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉิน พรอมอุปกรณชวยหายใจชนดิมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 2.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายออกไปที่อากาศบริสุทธิ ถาผูปวยหยุดหายใจ ใหชวยผายปอด ถาหายใจลําบาก ใหออกซิเจน นําสงไปพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: - การกลืนหรือกินเขาไป อาจจะทําใหเกดิการอาเจียนขึน้ แตอยากระตุนใหเกิดการอาเจียน หากมอีาการอาเจียนใหผูปวยเอียงศีรษะลงต่ํา เพือ่ปองกันการหายใจเอาสารที่เกิดจากการอาเจียนเขาสูปอด หามมิใหนําสิ่งใดเขาปากผูปวยทีห่มดสติ นําสงไปพบแพทย สัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังทนัทีดวยน้ําปริมาณมากๆ อยางนอย 15 นาที พรอมถอดเสื้อผาและรองเทาที่เปรอะเปอนสารเคมีออก นําสงไปพบแพทย ใหทําความสะอาดเสื้อผาและรองเทากอนนํามาใชอีกครั้ง สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตา ใหฉดีลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที พรอมกระพริบตาถี่ๆขณะทําการลาง นําสงไปพบแพทย อ่ืน ๆ: -

Page 13: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

13

2.11 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม (Environmental Impacts) - ขอมูลทางนิเวศวิทยา : ส่ิงแวดลอมถูกทําลายเสียหายเมือ่ร่ัวไหลสูดิน - สารนี้คาดวาจะสลายตัวทางชีววิทยาไดงายเมื่อร่ัวไหลสูดิน - สารนี้คาดวาจะถูกชะลางลงสูน้ําใตดิน เมือ่ร่ัวไหลสูดิน - สารนี้คาดวาจะมีการระเหยอยางรวดเรว็ เมื่อร่ัวไหลสูน้าํ - สารนี้คาดวาจะสลายตัวทางชีววิทยาไดงาย เมื่อร่ัวไหลสูน้ํา - สารนี้คาดวาจะมีการระเหยอยางรวดเรว็ - สารนี้มีคาสัมประสิทธิ์คา Log ของออกทานอลกับน้ํานอยกวา 3.0 - สารนี้ไมสามารถคาดไดวาจะสะสมสิ่งมีชีวิตได เมื่อร่ัวไหลสูอากาศ - สารนี้จะสลายตัวไดปานกลางโดยทําปฏิกริิยากับสารไฮดรอกวิล เรดวิลิ ที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมีกับแสง เมื่อร่ัวไหลสูอากาศ - สารนี้จะสลายตัวโดยการสงัเคราะหแสงไดปานกลาง เมือ่ร่ัวไหลสูอากาศ - สารนี้คาดวาสามารถเอาออกจากบรรยากาศไดงายโดยทําใหเกดิการตกตะกอนแบบเปยก - ความเปนพิษตอส่ิงแวดลอม: - สารนี้ไมสามารถคาดไดวาจะเปนพิษตอส่ิงมีชีวิตในน้าํ - คาความเขมขนที่ทําใหปลาตายกวารอยละ 50 LC50ภายใน 96 ชั่วโมงมีคามากกวา 1-100 มิลลิกรัมตอลิตร 2.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : 1300 , 3800 OSHA NO. : 69 วิธีการเก็บตวัอยาง : หลอดเก็บตัวอยาง วิธีการวิเคราะห : แกซโครมาโตกราฟฟ ขอมูลอ่ืน ๆ : - การเก็บตวัอยางใช coconut shell charcoal 100 mg/50 mg - อัตราการไหลสําหรับเก็บตัวอยาง 0.01 ถึง 0.2 ลิตรตอนาที - ปริมาตรเก็บตัวอยางต่ําสุด-สูงสุด 0.5 ลิตร , 3 ลิตร

Page 14: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

14

2.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 6 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา 2 " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา 1.77 " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา 325-10 " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 18 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา 16 " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , 0087 " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา 17 " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา 13 " 10. Source of Ignition หนา 70 " 11. "อ่ืน ๆ" http://chemtgrack.trf.or.th " 2.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : 14 DOT Guide : 127 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศพัทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

Page 15: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

15

3. Acetonitrile ; Methylcyanide ชื่อเคมี IUPAC: Ethanenitrile ชื่อเคมีท่ัวไป Acetonitrile ; Methylcyanide ชื่อพองอื่นๆ Cyanomethane; Ethyl nitrile ; Ethane nitrile; Methanecarbonitrile; AN; Ethanonitrile; Acetonitrile ; สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 75-05-8 รหัส EC NO. 608-001-00-3 UN/ID No. 1648 รหัส RTECS AL 7700000 รหัส EUEINECS/ELINCS 200-835-2 ชื่อวงศ - ชื่อผูผลิต/นําเขา J.T. Baker INC แหลงขอมูลอ่ืนๆ 222 Red School Lane Phillipburg New Jersey U.S.A. 08865 3.1 การใชประโยชน (Uses) สารนี้ใชเปนสารวิเคราะหและทดสอบ (reagent) ทางเคมใีนหองปฏิบัตกิาร 3.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 3800 ( หน)ู LC50(มก./ม3) : 4524.24 / 8 ช่ัวโมง ( หน)ู IDLH(ppm) : 500 ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : 40 PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : 40 TLV-STEL(ppm) : 60 TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที ่4 หนวยงานที่รับผิดชอบ :

Page 16: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

16

3.3 คุณสมบัตทิางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ของเหลว สี : ใส ไมมีสี กล่ิน : กล่ินคลายอีเธอร นน.โมเลกุล : 41.05 จุดเดือด(0ซ.) : 82 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -46 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 0.79 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : 1.41 ความหนดื(mPa.sec) : 0.39 ความดันไอ(มม.ปรอท) : 72.8 ที่ 20 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : 100 % ที่ - 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : - ที่ - 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 1.68 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.595 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : 3.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเขาไปจะทาํใหปวดศีรษะ คล่ืนไส อาเจียน เวียนศีรษะ หายใจไมสะดวก ความดันโลหติต่ํา ออนเพลีย อาการชักกระตุกอยางรุนแรง ลําตัวเขียวคลํ้าเนื่องจากขาดออกซิเจนหมดสติ ปอดบวมและอาจทําใหตายได สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงั จะทําใหเกดิการระคายเคือง สารนี้สามารถดูดซึมผานผิวหนงัอาจทําใหเกดิอันตรายได กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนกินเขาไป จะทําใหลําตัวเขียวคล้ําเนื่องจากขาดออกซเิจน หมดสติ ปวดศีรษะ คล่ืนไส อาเจียน มึนงง หายใจติดขัด ความดันโลหิตต่ํา ระคายเคืองกระเพาะอาหารและลําไส ชักกระตุก อาจเสียชีวิตได สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตา จะทําใหเกดิการระคายเคืองตอตา ตาพรามัว การกอมะเร็ง ความผดิปกตอ่ืิน ๆ - สารนี้ไมเปนสารกอมะเร็งตามรายชื่อของ IARA NTP และ OSHA ผลเร้ือรัง ระบบประสาทสวนกลางถูกทําลาย ตาพรามัว ตบัถูกทําลาย ไตถูกทําลาย โรคโลหิตจาง 3.5 ความคงตวัและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัวของสาร ปกติสารนี้มีความเสถียร - สารที่เขากันไมไดกรดแก สารออกซิไดซอยางแรง เบสแก , สารรีดิวซ , โลหะอัลคาไลน - สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง เปลวไฟ ความรอน และแหลงจดุติดไฟอืน่ๆแสงแดด - สารเคมีที่เกดิจากการสลายตัว ไฮโดรเจนไซยาไนด ออกไซดของไนโตรเจน คารบอนมอนออกไซดคารบอนไดออกไซด - อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร อาจจะเกิดขึ้น

Page 17: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

17

3.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : 5 จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : 523 คา LEL % : 4.4 UEL % : 16.0 LFL % : 4.4 UFL % : 16.0 NFPA Code :

-สารนี้เปนของเหลวไวไฟ -สารดับเพลิง ใหใชโฟมแอลกอฮอล ผงเคมีแหง หรือกาซคารบอนไดออกไซด น้ําจะใชไมไดผล -ใหฉีดน้ําหลอเย็นเพื่อควบคมุภาชนะบรรจุที่เกิดเพลิงไหม -ขั้นตอนการดบัเพลิงขั้นรุนแรง โดยการสวมใสอุปกรณปองกันการหายใจชนิดมีถังอากาศในตวั (SCBA) พรอมหนากาก แบบเต็มหนา -ใหเคลื่อนยายภาชนะบรรจุออกจากพืน้ที่ที่เกิดเพลิงไหมถาทําไดโดยปราศจากอันตราย -ไอระเหยจะไหลแพรกระจายตามพื้นไปแหลงที่จุดติดไฟและเกิดไฟยอนกลับมาได -ภาชนะปดสนิทเมื่อสัมผัสกับความรอนอาจทําใหเกิดการระเบิดได -สัมผัสกับสารออกซิไดซอยางแรงจะทําใหเกิดเพลิงไหม ทําใหเกดิกาซพิษของไฮโดรเจนไซยาไนดออกไซดของไนโตรเจน ,คารบอนมอนออกไซด,คารบอนไดออกไซด -ปองกันการเกดิประจุไฟฟาสถิตย 3.7. การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) -เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมดิชิด -เก็บในที่ที่แหง เย็น และมีการระบายอากาศที่ดี -เก็บในบริเวณที่เก็บวัตถุไวไฟ -เก็บใหหางจากการสัมผัสกับแสงแดดโดยตรง,หางจากสารที่เขากันไมได -ตอสารดินและเชื่อมระหวางพังบรรจุในขณะที่มกีารถายเทสารนี้ -ชื่อทางการขนสง Acetonitrite -ประเภทอันตราย 3.2 -รหัส UN/NA UN 1648 -ประเภทการบรรจุหีบหอ กลุม II 3.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) -หยดุการรั่วไหลของสารถาทําไดโดยปราศจากการเสี่ยงอันตราย -ใชน้ําฉีดเปนฝอยเพื่อลดไอระเหย

Page 18: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

18

-วิธีแกไขเมื่อเกิดอุบัติเหตุกรณีร่ัวไหล สวมใสอุปกรณชวยหายใจชนิดมถัีงอากาศในตวั (SCBA) และชุดปองกันแบบคลุมตัว -ปดคลุมดวยทรายหรือวัสดดุดูซับที่ไมติดไฟและเก็บใสในภาชนะบรรจุสําหรับนําไปกําจัด -ฉีดลางบริเวณที่หกร่ัวไหลดวยน้ํา -อยาใหสารที่หกร่ัวไหลนี้ไหลทอระบายน้ําหรือแหลงน้ําธรรมชาติ -วิธีการกําจัด ใหกําจัดตามขอกําหนด กฎระเบียบของทางราชการ 3.9 อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) : - ขอแนะนําในการเลือกประเภทหนากากปองกันระบบหายใจ - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 200 ppm : ใหเลือกใชอุปกรณปองกนัระบบหายใจ ซ่ึงใชสารเคมีประเภทที่เหมาะสมเปนตัว ดูดซับในการกรอง (Cartridge) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator)โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10 - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 500 ppm : ใหใชอุปกรณชวยหายใจประเภททีใ่ชการสงอากาศสําหรับการหายใจ ซ่ึงมีอัตรา การไหลของอากาศแบบตอเนื่อง โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 25 หรือใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) ซ่ึงใชสารเคมีประเภทที่เหมาะสมเปนตัวดดูซับในการกรอง (Cartridge) โดยแนะนําใหใชอุปกรณ ที่มีคา APF. = 10 หรือ ใหเลือกใชอุปกรณปองกนัระบบหายใจ ซ่ึงใชสารเคมีประเภทที่เหมาะสมเปนตัวดดูซับในการกรอง (Cartridge) พรอมหนากากแบบเต็มหนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 50 หรือใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา(gas mask) ซ่ึงมี canister ประเภทที่ปองกันไอระเหยของสารอินทรีย โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 50 หรือ ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตวั (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณทีม่ีคา APF. = 50 - ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเขาไปสัมผัสกับสารที่ไมทราบชวงความเขมขน หรือการเขาไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศ ที่เปน IDLH : ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตวั (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบ ความดันภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 10,000 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดันภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใชการทํางานรวมกันระหวางอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเปนบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10,000 - ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉิน : ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา อุปกรณกรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) หรือใหใช

Page 19: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

19

อุปกรณที่เหมาะสมสําหรับในกรณกีารหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉินพรอมอปุกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตวั (SCUBA) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 3.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: ถาหายใจเขาไปใหบดเอมิลไนไตรเพริลในหอผาแลวนาํไปใหดมใตจมูกนานประมาณ 5 นาทีทําซ้ําๆ 5 คร้ัง คร้ังละ 15 นาที ถาไมหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขัดใหออกซิเจนชวย กินหรือกลืนเขาไป: ถากินหรือกลืนเขาไป ใหผูปวยดื่มน้ํามากๆ กระตุนทําใหเกิดการอาเจียน นําสงไปพบแพทย สัมผัสถูกผิวหนัง: ถาสัมผัสถูกผิวหนงั ใหฉีดลางผิวหนังทันทดีวยน้ํา ดวยปริมาณมากๆ อยางนอย 15 นาที พรอมถอดเสื้อผารองเทาที่เปรอะเปอนสารเคมีออก ลางทําความสะอาดเสื้อผากอนนํากลับมาใชใหมอีกคร้ัง สัมผัสถูกตา : ถาสัมผัสถูกตา ใหฉีดลางตาดวยน้ําปริมาณมากๆ อยางนอย 15 นาที แจงตอแพทย ถาผูปวยยังมีสติใหออกซิเจนถาจําเปน ไดรับสารเขาไปอยางรุนแรง เฝาดูผูปวยไว 24-48 ช.ม. ถาพิษของไซยาไนดยงัไมทุเลา หรือเกิดขึน้อีก ใหฉีดไนไตรดและไฮโอซัลเฟตทุก 1 ช.ม. ถาจําเปน การกอมะเร็งความผดิปรกติ,อ่ืน ๆ: การดูแลทางการแพทย ควรมีการไปตรวจสุขภาพ เปนระยะๆ ที่อวัยวะสําคัญ เชน ตับ ไต ระบบหายใจ เช็คการเตนของหวัใจและระบบประสาท 3.11 ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม (Environmental Impacts) - สารนี้สามารถยอยสลายไดงายในน้ํา - มีแนวโนมในการสะสมทางชีวภาพต่ํา - เปนพษิตอส่ิงมีชีวิตที่อาศัยอยูในน้ํา - เปนพษิตอปลาและแพลงคตอน อาจผสมกับอากาศเหนอืผิวน้ํา ใหของที่ผสมเปนน้ําระเบิดได - หามทิ้งลงสูระบบน้ํา น้ําเสยี หรือดิน 3.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : 1606 OSHA NO. : - วิธีการเก็บตวัอยาง : หลอดเก็บตัวอยาง อิมพิ้นเจอร วิธีการวิเคราะห : แกซโครมาโตกราฟฟ ขอมูลอ่ืน ๆ : - การเก็บตวัอยางใช coconut shell charcoal tube 400/200 mg - อัตราการไหลสําหรับเก็บตัวอยาง 0.1 ถึง 0.2 ลิตรตอนาที - ปริมาตรเก็บตัวอยางต่ําสุด 1 ลิตร , สูงสุด 25 ลิตร

Page 20: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

20

3.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 8 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา 4 " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา 1.77 " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา 325-11 " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 20 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา 16 " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , 0088 " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา 536 " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา 13 " 10. Source of Ignition หนา 70 " 11. "อ่ืน ๆ" http://chemtrack.trf.or.th " 3.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : 17 DOT Guide : 131 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศพัทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

Page 21: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

21

4. Ammonia ; Anhydrous ชื่อเคมี IUPAC: Ammonia ชื่อเคมีท่ัวไป Ammonia ; Anhydrous ชื่อพองอื่นๆ N-H; Ammonia, aqueous~Ammonia, solution; Ammonia สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 7664-41-7 รหัส EC NO. 007-001-00-5 UN/ID No. 1005 รหัส RTECS BO 0875000 รหัส EUEINECS/ELINCS 231-635-3 ชื่อวงศ Alkaline Gas ชื่อผูผลิต/นําเขา Praxair Product.Inc แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 4.1 การใชประโยชน (Uses) - ใชประโยชนไดหลากหลาย 4.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : - ( -) LC50(มก./ม3) : 2000 / 4 ชั่วโมง ( หน)ู IDLH(ppm) : 300 ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : 35 PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : 25 TLV-STEL(ppm) : 35 TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะส้ัน - คาสูงสุด 50 สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนดิที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ : กรมโรงงานอุตสาหกรรม

Page 22: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

22

4.3 คุณสมบัตทิางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : กาซ สี : ไมมีสี กล่ิน : ฉุน นน.โมเลกุล : 17.031 จุดเดือด(0ซ.) : -33.35 จุดหลอมเหลว/จดุเยือกแข็ง(0ซ.) : -77.7 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 0.6819 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : 0.579 ความหนดื(mPa.sec) : - ความดันไอ(มม.ปรอท) : 5900 ที่ 20 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : ละลายได ที่ - 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : 11.6 ที่ - 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 0.7 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 1.428 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : 4.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเขาไปในปริมาณมากกวา 25 ppm ทําใหระคายเคืองจมกูและคอ ถาไดรับปริมาณมากจะหายใจตดิขัด เจ็บหนาอก หลอดลมบีบเกร็ง มีเสมหะและปอดบวม สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงัจะเปนฝนแดง บวม เปนแผล อาจทําใหผิวหนังแสบไหมถาไดรับสารปริมาณมากๆ กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนกนิเขาไปจะทําใหแสบไหมบริเวณปาก คอ หลอดอาหารและทอง สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตา จะทําใหเจบ็ตา เปนผ่ืนแดง ตาบวม ทําใหน้ําตาไหล ทําลายตา การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ - เปนสารกอมะเร็งและทําลายไต ตบั ปอด ระบบประสาทสวนกลาง เปนสารมีฤทธิ์กัดกรอน 4.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัวทางเคมี : สารนี้มีความเสถียร - สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : เกิดกาซไฮโดรเจนที่อุณหภูมมิากกวา 840องศาเซลเซียส - อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร : จะไมเกิดขึ้น - สารที่เขากันไมได : ทอง เงิน ปรอท สารออกซิไดซ ฮาโลเจน สารประกอบฮาโลจีเนต กรด ทองแดง อลูมิเนียม คลอเรต สังกะสี 4.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : - จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : 651 คา LEL % : 15 UEL % : 28 LFL % : 15 UFL % : 28 NFPA Code :

Page 23: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

23

- สารดับไฟ CO2 ผงเคมีแหง สาปรยน้ํา - วิธีการดับเพลิงรุนแรง : อพยพคนออกจากบริเวณเพลงิไหม อยาเขาไปบริเวณเพลงิไหมโดยปราศจากอุปกรณปองกนัอันตราย หลอเย็นภาชนะบรรจุโดยใชน้ําฉีดเปนฝอย ใชน้ําหยดุการแพรของไอ ยายภาชนะบรรจุออกถาสามารถทําได - อันตรายจากการระเบิดและเพลิงไหมผิดปกติ : จะเกดิกาซพิษที่ไวไฟและมีฤทธิ์กัดกรอน สามารถระเบิดถาผสมกับอากาศและสารออกซิไดซ ไมควรเก็บภาชนะบรรจุไวเกินอณุหภูมิ 52 องศาเซลเซียส 4.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมดิชิด - เก็บในบริเวณที่เยน็และแหง - เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพยีงพอ - การเก็บรักษา : เก็บใหหางจากความรอน เปลวไฟและประกายไฟ เกบ็ใหหางจากสารออกซิไดซ ปดวาลวเมื่อไมใชสารหรือภาชนะบรรจุวางเปลา - ตองมั่นใจวาตรึงถังแกศไวแนนอยางเหมาะสมขณะใช หรือเก็บ 4.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - วิธีการปฏิบตัิในกรณีเกดิการหกรั่วไหล : ใหอพยพผูคนออกจากบริเวณอันตรายทนัที สวมอุปกรณปองกันการหายใจและชุดปองกนัสารเคมี ลดการกระจายของไอดวยสเปรยน้าํ ยายแหลงจุดติดไฟออกใหหมด หยุดการรั่วไหลของสารถาทําได - การพิจารณาการกําจัด : ปฏิบัติใหเปนไปตามกฎระเบยีบที่ทางราชการกําหนด 4.9 อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : - ขอแนะนําในการเลือกประเภทหนากากปองกันระบบหายใจ - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 250 ppm ใหเลือกใชอุปกรณปองกันระบบหายใจ ซ่ึงใชสารเคมีประเภทที่เหมาะสมเปนตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10 ใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10 - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 300 ppm ใหใชอุปกรณชวยหายใจประเภทที่ใชการสงอากาศสําหรับการหายใจ ซ่ึงมีอัตราการไหลของอากาศแบบตอเนื่อง โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 25 หรือใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 50 หรือใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมอุปกรณชวยหายใจและหนากากแบบเต็มหนา (gas mask) ซ่ึงมี Canister ประเภททีเ่หมาะสม โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือใหใช

Page 24: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

24

อุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 50 - ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเขาไปสัมผัสกับสารที่ไมทราบชวงความเขมขน หรือการเขาไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เปน IDLH : ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตวั (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดนัภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 10,000 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดันภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใชการทํางานรวมกันระหวางอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเปนบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10,000 - ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉิน : ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมอุปกรณชวยหายใจหนากากแบบเต็มหนา (gas mask) ซ่ึงมี Canister สําหรับปองกันไอระเหยสารอินทรีย โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือใหใชอุปกรณที่เหมาะสมสําหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉิน พรอมอุปกรณชวยหายใจชนดิมีถังอากาศในตัว (SCBA) 4.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไปใหเคลื่อนยายออกจากบริเวณทีไ่ดรับสาร ถาไมหายใจใหใชเครื่องชวยหายใจ ใหออกซิเจนถาหายใจติดขัด รักษารางกายใหอบอุน นําสงไปพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: - ถากลืนกินเขาไป สารนี้เปนกาซที่อุณหภูมิและความดันปกติ ใหบวนปากดวยน้ําแลวใหดื่มน้ําหรือนมอยางนอย 2 แกว อยากระตุนใหอาเจยีน นําสงไปพบแพทย สัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังทนัทีดวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที พรอมถอดเสื้อผาและรองเทาที่ปนเปอนสารเคมีออก นําสงไปพบแพทย สัมผัสถูกตา : - ลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมากๆอยางนอย 15 นาท ีลางโดยเปดเปลือกตาลางบน จนกวาไมมีสารเคมีหลงเหลืออยู นําสงไปพบแพทยทนัที อ่ืน ๆ: - 4.11 ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม (Environmental Impacts) - ไมกอใหเกดิผลกระทบตอระบบนิเวศน หากมีการใชและจัดการกับผลิตภัณฑอยางเหมาะสม 4.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : 6015, 6016 OSHA NO. : ID 188 วิธีการเก็บตวัอยาง : หลอดเก็บตัวอยาง วิธีการวิเคราะห : แกซโครมาโตกราฟฟ

Page 25: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

25

ขอมูลอ่ืน ๆ : - อัตราการไหลสําหรับเกบ็ตัวอยาง : 0.1 ถึง 0.2 ลิตรตอนาที - ปริมาตรเก็บตัวอยางต่ําสุด-สูงสุด : ต่ําสุด 0.1 ลิตร สูงสุด 76 ลิตร 4.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 42 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา 14 " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา - " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา 325-13 " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 203 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา 17 " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , 0414 " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา 35 " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา 15 " 10. Source of Ignition หนา 83 " 11. "อ่ืน ๆ" http://chemtrack.trf.or.th " 4.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : 07 DOT Guide : 125 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

Page 26: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

26

5. Ammonium hydrogen fluoride ชื่อเคมี IUPAC: Ammonium bifluoride ชื่อเคมีท่ัวไป Ammonium hydrogen fluoride ชื่อพองอื่นๆ Acid ammonium fluoride; Ammonium acid fluoride; Ammonium Fluoride, Acidic; Ammonium hydrogendifluoride; Ammonium fluoride; Ammonium bifluoride, solid; Ammonium bifluoride, solution สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 1341-49-7 รหัส EC NO. 009-009-00-4 UN/ID No. 1727 รหัส RTECS BG 9200000 รหัส EUEINECS/ELINCS - ชื่อวงศ AMMONIUM SALTS ชื่อผูผลิต/นําเขา Caledon Laboratories Ltd. แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 5.1 การใชประโยชน (Uses) - สารเคมีใชหองปฏิบัติการ 5.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : - ( -) LC50(มก./ม3) : - / - ชั่วโมง ( -) IDLH(ppm) : - ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : 2.5 PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : 2.5 TLV-STEL(ppm) : - TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนดิที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ช่ัวโมง - ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย :

Page 27: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

27

พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ : 5.3 คุณสมบัตทิางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ของแข็ง สี : ขาว กล่ิน : คลายกรดออน นน.โมเลกุล : 57.06 จุดเดือด(0ซ.) : 239.5 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 126.2 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 1.503 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : 2.0 ความหนดื(mPa.sec) : - ความดันไอ(มม.ปรอท) : - ที่ - 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : ละลายไดในน้ําเยน็ ที่ - 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : 35 ที่ - 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 2.332 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.428 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : - สารนี้ดูดความชื้น 5.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเขาไป จะทาํใหเกดิการระคายเคืองหรือมีฤทธิ์กัดกรอนตอระบบทางเดินหายใจ อาจสงผลใหถึงแกความตายได เกิดการอักเสบและมีอาการบวมน้ําของกลองเสียงและหลอดลมใหญโรคปอดอักเสบเนื่องจากสารเคมีและปอดบวม สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงั จะกอใหเกิดการระคายเคืองตอผิวหนังอยางรุนแรง แผลไหม ปวดแสบปวดรอน กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนหรือกินเขาไป จะกอใหเกดิการระคายเคืองอยางรุนแรงตอระบบทางเดินอาหาร ลําคอ ลําไส และกระเพาะอาหาร และอาจสงผลกระทบถึงแกความตาย สัมผัสถูกตา - การีสัมผัสถูกตา จะกอใหเกดิการระคายเคืองตอตาอยางรุนแรง และกระจกตา แกวตา อาจเปนแผลไหมได การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ - การสัมผัสกับสารซ้ําเปนระยะเวลานาน จะกอใหเกิดการระคายเคืองตอตา, การสัมผัสถูกผิวหนังจะทําใหเกิดการทําลายผิวหนังและผิวหนังอกัเสบได, การหายใจเอาฝุนของสารเขาไปเปนระยะเวลานานจะทําใหเกิดการระคยเคอืงตอระบบหายใจ และทําลายปอดได 5.5 ความคงตวัและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัวทางเคมี : สารนี้มีความเสถียรสามารถดูดความชื้นได (Hygroscopic) - สารที่เขากันไมได : กรดแก เบสแก โลหะทั่วไปสวนมากแกว ภาชนะที่ทําจากแกวอาจเสียหายได - การเกดิปฏิกริิยา : หลีกเลี่ยงการสัมผัสความรอนที่มากเกินไป - สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : ไฮโดรเจนฟลูออไรด แอมโมเนีย

Page 28: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

28

5.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : >100 จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : - คา LEL % : - UEL % : - LFL % : - UFL % : - - สารนี้ไมติดไฟ - อันตรายจากการเกิดอัคคีภยัและการระเบดิ: สารนี้ไมติดไฟ - สารดับเพลิง ในกรณีเกดิเพลิงไหมใหใชน้ําฉีดใหเปนฝอย ผงเคมีแหง - อันตรายจากการเผาไหม : ทําใหเกดิควนั ฟูมพิษ - พนักงานดับเพลิงควรสวมใสอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตวั (SCBA) - วองไวตอแรงกระแทก และการเกดิประจุไฟฟาสถิตย 5.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดแนนมิดชิด - เก็บในบริเวณในทีเ่ย็น แหง มีการระบายอากาศเปนอยางดี - หลีกเลี่ยงการสัมผัสโดยตรงกับแสงแดดและสารที่เขากันไมได - บุคคลที่ทําการเคลื่อนยายสารนี้จะตองผานการฝกอบรมถึงอันตรายของสารนี้ - หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับตา ผิวหนัง และเสื้อผา - หลีกเลี่ยงการทําใหเกดิฝุน - ลางใหทัว่ถึงหลังจากการเคลื่อนยาย - หลีกเลี่ยงการหายใจเขาไป - จัดการกับภาชนะที่วางเปลาดวยความระมัดระวังเนื่องจากภายในถังบรรจุอาจมีสารเคมีตกคางอยู - อยาเก็บในเครื่องกระเบื้อง แกว และภาชนะที่มีสารซิลิกาเจือปนอยู 5.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - ขั้นตอนการปฏิบัติหกและรั่วไหล : ใหเคล่ือนยายออกและมีการระบายอากาศบริเวณหกรัว่ไหล - พนักงานที่จะเก็บทําความสะอาดจะตองสวมใสอุปกรณปองกันอนัตราย และชุดปองกันสารเคมีที่เพียงพอ ตอการปองกันอันตรายทั้งจากการหายใจ การสัมผัสถูกผิวหนัง ตาหรือเสื้อผา - ตักหรือกวาดสารที่หกร่ัวไหลใสในภาชนะบรรจุชนดิพลาสติก และเหล็กกลา - อยาปลอยใหไหลลงสูทอระบายน้ําหรือทางน้ํา - สะเทินดวยปนูขาวและฉีดลางทําความสะอาดพื้นทีน่ั้นดวยน้ํา - ใหเก็บกกัน้ําชะลางในภาชนะบรรจุที่เหมาะสมสําหรับนําไปบําบัด - การกําจดักากสารเคมี ใหสอดคลองกับกฎระเบียบของทางราชการ

Page 29: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

29

5.9 อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : 5.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไปเคลื่อนยายผูปวยออกไปที่อากาศที่มีบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหผายปอด ถาหายใจติดขัดใหออกซิเจนชวย และนําสงพบแพทยโดยทันท ีกินหรือกลืนเขาไป: - ถากลืนหรือกินเขาไป อยากระตุนทําใหเกิดการอาเจียน ถาผูปวยยังตื่นตวัและไมเกิดอาการชักกระตุกใหลางบวนปากดวยน้ํา และดื่มน้ํา 2-4 แกว เพื่อเจือจางสารเคมี นําสงไปพบแพทย สัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนงั ใหถอดเสื้อผาที่เปรอะเปอนสารเคมีออก ลางออกจากผิวหนังใหหมด ลางผิวหนังดวยสบู และน้ําโดยใหน้ําไหลผานอยางนอย 20 นาที จากนั้นจุมลงในสารละลายอยางใดอยางหนึ่ง เชน สารละลาย 0.13% cphiram chloride หรือ 70 % หรือสารละลายอิ่มตัวของแมกนเีซยีมซัลเฟต จนกระทั่งอาการทุเลาขึ้น สารละลายมีประสิทธิภาพมาขึ้นถาทําใหเย็น นําสงไปพบแพทยโดยทันท ีสัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตา ใหฉดีลางดวยน้ําโดยใหน้ําไหลผานจํานวนมาก ๆ อยางนอย 30 นาที และนําสงไปพบแพทย อ่ืน ๆ: - 5.11 ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม (Environmental Impacts) - หามทิ้งลงสูแหลงน้ํา น้ําเสีย หรือดิน 5.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : - OSHA NO. : - วิธีการเก็บตวัอยาง : กระดาษกรอง หลอดเกบ็ตัวอยาง อิมพิ้นเจอร วิธีการวิเคราะห : ช่ังน้ําหนกั สเปคโตโฟโตมิเตอร แกซโครมาโตกราฟฟ อะตอมมิกแอบซอปชั่น ขอมูลอ่ืน ๆ :

Page 30: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

30

5.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา - " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา - " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา - " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 210 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา - " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , - " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา 39 " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา - " 10. Source of Ignition หนา - " 11. "อ่ืน ๆ" http://chemtrack.trf.or.th " 5.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : 39 DOT Guide : 154 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่ หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

Page 31: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

31

6. Azium ชื่อเคมี IUPAC: Sodium azide ชื่อเคมีท่ัวไป Azium ชื่อพองอื่นๆ Smite; Hydrazoic acid, sodium salt; U-3886; Sodium azide ; สูตรโมเลกุล

รหัส IMO CAS No. 26628-22-8 รหัส EC NO. 011-004-00-7 UN/ID No. 1687 รหัส RTECS VY 8050000 รหัส EUEINECS/ELINCS 247-852-1 ชื่อวงศ - ชื่อผูผลิต/นําเขา J.T Baker.Inc แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 6.1 การใชประโยชน (Uses) - ใชในขบวนการผลิตดอกไมไฟ ถุงลมนิรภัย อุปกรณความปลอดภัยของรถยนต 6.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 27 ( หน)ู LC50(มก./ม3) : - / - ชั่วโมง ( -) IDLH(ppm) : - ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : - PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : 0.11 TLV-STEL(ppm) : - TLV-C(ppm) : 0.1 พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนดิที่ 1 ชนิดที ่2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที ่3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ :

Page 32: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

32

6.3 คุณสมบัตทิางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ผลึก สี : ไมมีสี กล่ิน : ไมมีกล่ิน นน.โมเลกุล : 65.02 จุดเดือด(0ซ.) : - จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแขง็(0ซ.) : 275 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 1.85 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : 2.2 ความหนดื(mPa.sec) : - ความดันไอ(มม.ปรอท) : - ที่ - 0ซ ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : 72 ที่ 20 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : - ที่ - 0ซ แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 2.659 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.516 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : - อุณหภูมิสลายตัว > 275 องซาเซลเซียส - สารนี้สามารถละลายไดในแอมโมเนียเหลว แตไมสามารถละลายในอีเธอร 6.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเขาไป : ทําใหเกดิการระคายเคือง ระบบทางเดินหายใจ เยื่อบุทางเดนิหายใจ แผลที่ลําคอ ไอ จาม หายใจถี่ ออนเพลีย หมดสติ สัมผัสทางผิวหนัง - สัมผัสทางผิวหนัง : ทําใหเกดิการระคายเคือง รอยแดง และรูสึกเจ็บ และมีอาการคลายกับการกินเขาไปเพราะสารนี้สามารถซึมผานผิวหนังได กินหรือกลืนเขาไป - การกนิเขาไป : ทําใหหายใจตดิขัด ปอดบวม ชีพจรเตนถ่ีขึ้น คล่ืนเหียน อาเจยีน ปวดศรีษะ ออนเพลีย, และทองรวงภายใน 15 นาที อาการอื่นเชน ความดนัเลือดต่ํา หายใจผิดปกติ อุณหภูมิของรางกายลดลง คา pH ของรายกายลดลง มีอาการหดเกรงของกลามเนื้ออยางรุนแรง ลมฟุบ หมดสติ และอาจเสียชีวิตได สัมผัสถูกตา - สัมผัสถูกตา : กอใหเกิดการระคายเคือง ผ่ืนแดง เจ็บปวด ทําใหการมองเห็นพลามวั ไมชัด การกอมะเร็ง ความผิดปกต,ิอ่ืน ๆ - การไดรับสารนี้จะมผีลตอระบบประสาทสวนกลาง ไต และระบบเลือดหัวใจและหลอดเลือด 6.5 ความคงตวัและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียรภายใตสภาวะปกติของการใชและการเก็บ สลายตัวเกิดการระเบิดได เมื่อไดรับความรอน การสั่น ถูกกระทบกระแทกหรือการเสยีดส ี- สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : การระเบิดจะขึ้นกบัการสลายตัวของสารที่ปลอยกาซไนโตรเจน (N2) และโซเดียม (Na) - อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร : จะไมเกิดขึ้น - สารที่เขากันไมได : เบนโซอิลคลอไรดผสมโพแทสเซียมไฮดรอกไซด โบรมีน คารบอนไดซัลไฟด โครมิสคลอไรด (Chromyl chloride) ทองแดง ไดโบรมาโลโนไนไตร (Dibromalononitrile) ไดเมทิลซัลเฟต ตะกัว่ แบเรียมคารบอเนต กรดกํามะถัน น้ํา และกรดไนตริก

Page 33: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

33

- สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความรอนเปลวไฟ แหลงจดุติดไฟ และสารที่เขากันไมได 6.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : - จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ) : - คา LEL % : - UEL % : - LFL % : - UFL % : - NFPA Code :

- เปนของแข็งที่ติดไฟ จะเกดิเพลิงไหมเมือ่ไดรับความรอน - สารดับเพลิง : ฉีดน้ําใหเปนฝอย สารเคมีแหง แอลกอฮอลโฟม หรือกาซคารบอนไดออกไซด - ในเหตุการณเกิดเพลิงไหม : ใหสวมใสอุปกรณหายใจชนิดมีถังอากาศ (SCBA) และชุดปองกนัสารเคมีสัมผัสผิวหนังและตา - ฉีดน้ําใหเปนฝอยสามารถใชควบคุมหลอเย็นภาชนะที่ถูกเพลิงไหม - เมื่อเกิดเพลิงไหมสารนี้จะทําใหเกดิกาซพิษออกมารวมทั้งไนโตรเจนออกไซด 6.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะที่ปดมิดชดิ - เก็บในที่ที่เยน็และแหง มีการระบายอากาศในพื้นที ่- เก็บใหหางจากแหลงความรอน หรือแหลงจุดติดไฟ และสารที่มีฤทธิ์เปนกรด - ปองกันภาชนะบรรจุเสียหายทางกายภาพ - แยกเก็บออกจากสารที่เขากนัไมได - ภาชนะบรรจขุองสารนี้จะเปนอันตรายเมือ่เปนถังเปลาเนื่องจากมีกากสารเคมีตกคางอยู เชน ฝุน ของแข็ง - ใหสังเกตคําเตือนทั้งหมดและขอควรระมดัระวังที่ระบุไวสําหรับสารนี้ - ชื่อทางการขนสง : โซเดียมแอไซด - ประเภทอันตราย : 6.1 - รหัส UN : 1687 - ประเภทการบรรจุหีบหอ : กลุม II

Page 34: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

34

6.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - ใหเคลื่อนยายของการจุดตดิไฟทั้งหมดออกไป - ใหมกีารระบายอากาศพืน้ทีท่ี่หกร่ัวไหล - ใหสวมใสอุปกรณปองกนัอันตรายสวนบุคคลที่เหมาะสม - ใหทําความสะอาดสวนทีห่กร่ัวไหลเพื่อไมใหเกดิฝุนแพรกระจายไปในอากาศ - ใชเครื่องมือและอุปกรณทีไ่มทําใหเกิดประกายไฟ - ลดความเขมขนของฝุนสารในอากาศและปองกันทําใหกระจายโดยการทําใหช้ืนดวยการพรมกับน้ํา - เก็บสวนที่หกร่ัวไหลในภาชนะบรรจุปดมิดชิดเพื่อนําไปแปรรูปใชใหม หรือนําไปกําจัด - ตองรายงานการหกรัว่ไหล การปนเปอนดิน น้ําและอากาศมากเกนิกวาที่กําหนด - การพิจารณาการกําจัด : สารนี้ไมสามารถทําไดอยางปลอดภัยในการนาํเอากลับคืนมาใชใหมจะตองนําไปกําจัดตามแบบของการกําจัดของเสียอันตราย 6.9 อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล (PPD/PPE)

ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : 6.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไปใหเคลื่อนยายผูปวยออกไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาไมหายใจ ใหชวยผายปอด ถาหายใจลําบาก ใหออกซิเจนชวย นําสงแพทย กินหรือกลืนเขาไป: - ถากลืนกินเขาไป : กระตุนใหอาเจียนทนัทีโดยบุคลากรทางการแพทย หามใหส่ิงใดเขาปากผูปวยที่หมดสติ เรียกแพทยโดยทนัที สัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนงัใหนําสารเคมีออกจากผิวหนังใหเร็วที่สุด ลางผิวหนา ดวยสบูและน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที ถอดเสื้อผารองเทา ที่เปอนสารเคมีออก และทําความสะอาดกอนนํากลับมาใชใหม สัมผัสถูกตา : - ใหฉีดลางตาดวยน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที พรอมกับเปดเปลือกตาดานบนและดานลางสงไปพบแพทย อ่ืน ๆ: -

Page 35: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

35

6.11 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม (Environmental Impacts) - สารนี้เมื่อปนเปอนในจะไมสลายตัวแตจะซึมลงสูชั้นน้ําใตดิน สารนี้เมื่อปนเปอนสูอากาศ จะสลายตัวดวยแสงอาทิตยปานกลาง สารนี้จะเปนพิษกับปลาในความเขมขน นอยกวา 1 มิลลิกรัม/ลิตร 6.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : - OSHA NO. : 211 , 121 วิธีการเก็บตวัอยาง : กระดาษกรอง วิธีการวิเคราะห : อะตอมมิกแอบซอปชั่น ขอมูลอ่ืน ๆ : - อัตราไหลสําหรับเก็บตวัอยาง 2 ลิตรตอนาที 6.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 787 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา 280-281 " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา - " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 2947 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา 52 " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , 0950 " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา 723 " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา 52 " 10. Source of Ignition หนา - " 11. "อ่ืน ๆ" www.chemtrack.trf.or.th " 6.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide :41 DOT Guide : - - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอบุัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

Page 36: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

36

7. Barium Salt ชื่อเคมี IUPAC: Barium nitrate ชื่อเคมีท่ัวไป Barium Salt; ชื่อพองอื่นๆ Barium dinitrate; Nitric Acid สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 10022-31-8 รหัส EC NO. 056-002-00-7 UN/ID No. 1446 รหัส RTECS CQ 9625000 รหัส EUEINECS/ELINCS 233-020-5 ชื่อวงศ - ชื่อผูผลิต/นําเขา - แหลงขอมูลอ่ืนๆ NIOSH 7.1 การใชประโยชน (Uses) - 7.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 355 ( หนู) LC50(มก./ม3) : - / - ชั่วโมง ( -) IDLH(ppm) : 4.65 ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : 0.0465 PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : 0.0465 TLV-STEL(ppm) : - TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนดิที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ช่ัวโมง - ระยะส้ัน - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ : กรมโรงงานอุตสาหกรรม

Page 37: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

37

7.3 คุณสมบัตทิางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ของแข็ง สี : สีขาว กล่ิน : ไมมีกล่ิน นน.โมเลกุล : 261.4 จุดเดือด(0ซ.) : สลายตัว จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 592-595 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 3.24 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : - ความหนดื(mPa.sec) : - ความดันไอ(มม.ปรอท) : - ที่ - 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : 9 ที่ - 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : 5-8 ที่ 20 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 10.69 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.093 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : สารนี้สลายตัวเมื่ออุณหภูมถึิงอุณหภูมจิุดเดือด 7.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเขาไปทําใหชีพจรเตนไมเปนจังหวะ หัวใจเตนชากวาปกติ ความดนัเลือดสูงขึ้น หมดสติ ระบบไหลเวียนโลหติลมเหลว กลามเนือ้เกร็ง สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงัจะกอใหเกิดการระคายเคืองผิวหนัง ทําใหแสบไหม กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนหรือกินเขาไปจะกอใหเกดิการระคายเคืองเยื่อเมือก คล่ืนไส น้ําลายฟูมปาก อาเจียน เวยีนศีรษะ ปวดทองและทองรวง สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตาจะกอใหเกดิการระคายเคืองตา ตาแดง การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ - สารนี้ทําลายตา ผิวหนัง ระบบหายใจ หวัใจ ระบบประสาทสวนกลาง 7.5 ความคงตวัและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัวทางเคมี : สารนี้มีความเสถียร - สารที่เขากันไมได : กรด สารออกซิไดส โลหะผสมอะลูมิเนียม-แมกนีเซียม แบเรยีมไดออกไซด สังกะสี - สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : กาซไนตรัส ออกซิเจน 7.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : - จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : - คา LEL % : - UEL % : - LFL % : - UFL % : - NFPA Code : - สารนี้ไมไวไฟ แตจะติดไฟเมื่อสัมผัสกับสารไวไฟ - กรณีเกิดเพลิงไหมใหเลือกใชสารดับเพลิง/วิธีการดับเพลิงที่เหมาะสมสําหรับสภาพเกิดเพลิงโดยรอบ - ใชน้ําฉีดหลอเย็นเพื่อหลอเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสเพลิงไหม - เมื่อเกิดเพลิงไหมจะเกดิกาซหรือไอระเหยที่เปนอันตราย

Page 38: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

38

- กรณีเกิดเพลิงไหมใหสวมใสอุปกรณชวยหายใจชนิดมถัีงอากาศในตวั (SCBA) 7.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมดิชิด - เก็บในบริเวณที่เยน็และแหง - เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพยีงพอ - เก็บหางจากเปลวไฟ ประกายไฟ ความรอน สารไวไฟ - ชื่อในการขนสง : Barium Nitrate - ประเภทอันตราย : 5.1 - รหัส UN/NA : UN1446 - ประเภทบรรจุหีบหอ : กลุม II 7.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - วิธีการปฏิบตัิในกรณีเกดิการหกรั่วไหล ใหหยุดการรั่วไหล ถาสามารถทําไดโดยปราศจากความเสีย่งอันตราย - เก็บสวนที่หกร่ัวไหลในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิดเพื่อนําไปกําจัด - กวาดขณะทีส่ารแหง และปองกันการทําใหเกดิฝุน - ปองกันไมใหสารเคมีที่หกร่ัวไหล ไหลลงสูทอระบายน้าํ แมน้ํา และแหลงน้ําอื่นๆ - ใหสวมใสอุปกรณปองกนัอันตรายที่เหมาะสม - การพิจารณาการกําจัด : ปฏิบัติใหเปนไปตามกฎระเบยีบที่ทางราชการกําหนด 7.9 อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : - ขอแนะนําในการเลือกประเภทหนากากปองกันระบบหายใจ - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 5 mg/m3 : ใหใชหนากากปองกันฝุนและละอองไอ ซ่ึงเปนแบบ quarter mask โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 10 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10 - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 12.5 mg/m3 : ใหใชอุปกรณชวยหายใจประเภทที่ใชการสงอากาศสําหรับการหายใจ ซ่ึงมีอัตราการไหลของอากาศแบบตอเนื่อง โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 25 หรือใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมอุปกรณกรองฝุน และละอองไอ โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 25 - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 25 mg/m3 : ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนาพรอมอุปกรณกรองอนภุาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอม

Page 39: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

39

tight - fitting facepiece ซ่ึงมีการทํางานของอัตราการไหลของอากาศแบบตอเนื่อง โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอม tight - fitting facepiece พรอมอุปกรณกรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 50 หรือใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดทีม่ีถังอากาศในตัว (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 - สารที่ชวงความเขมขนไมเกนิ 100 mg/m3 : ใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดนัภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 2000 - ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเขาไปสัมผัสกับสารที่ไมทราบชวงความเขมขน หรือการเขาไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เปน IDLH : ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตวั (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดนัภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 10,000 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดันภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใชการทํางานรวมกันระหวางอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเปนบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10,000 - ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉิน : ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมอุปกรณกรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) และพรอมหนากากแบบเต็มหนา หรือใหใชอุปกรณที่เหมาะสมสําหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉินพรอมอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนาํใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 7.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไปใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มอีากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขดัใหออกซิเจนชวย กินหรือกลืนเขาไป: - ถากลืนหรือกินเขาไป ใหผูปวยดืม่น้ําปริมาณมากๆ กระตุนใหผูปวยอาเจียน นําสงไปพบแพทย ใหผูปวยดื่มโซเเดียมซัลเฟต ( 1 ชอนโตะในน้ํา 0.25 ลิตร ) สัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนงั ใหฉีดลางผิวหนังทันทดีวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที พรอมถอดเสื้อผาและรองเทาที่ปนเปอนสารเคมีออก สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตา ใหฉดีลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที ใชนิว้ถางแยกเปลือกตาออก อ่ืน ๆ:

Page 40: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

40

7.11 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม (Environmental Impacts) - เปนพษิตอส่ิงมีชีวิตในน้ํา พืชและสัตว หามทิ้งลงสูระบบน้ํา น้ําเสีย หรือดิน 7.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : 1056 OSHA NO. : ID 121 วิธีการเก็บตวัอยาง : กระดาษกรอง วิธีการวิเคราะห : อะตอมมิกแอบซอปชั่น ขอมูลอ่ืน ๆ : - การเก็บตวัอยางใช cellulose ester membrane 0.8 um - อัตราการไหลสําหรับเก็บตัวอยาง 1 ถึง 4 ลิตร - ปริมาตรเก็บตัวอยางต่ําสุด 50 ลิตร -สูงสุด 2000 ลิตร 7.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 88 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา 24 " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา - " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 317 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา - " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , - " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา 95 " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา - " 10. Source of Ignition หนา - " 7.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : 30 DOT Guide : 141 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมลูการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

Page 41: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

41

8. Calcium chloride ชื่อเคมี IUPAC: Calcium chloride ชื่อเคมีท่ัวไป Calcium chloride ชื่อพองอื่นๆ Calcium dickloride ; Calcium chloride anhydrous ; Caltac ? ; Dowflake ; Calcosan สูตรโมเลกุล

CAS No. 10043-52-4 รหัส EC NO. 017-013-00-2 UN/ID No. 1453 รหัส RTECS FV 9800000 รหัส EUEINECS/ELINCS -233-140-8 ชื่อวงศ - ชื่อผูผลิต/นําเขา Mallinckrodt Baker , Inc. แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 8.1 การใชประโยชน (Uses) -ใชเปนสารเคมีในหองปฏิบตัิการ 8.2. คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 1000 ( หน)ู LC50(มก./ม3) : - / - ชั่วโมง ( -) IDLH(ppm) : - ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : - PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : - TLV-STEL(ppm) : - TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ :

Page 42: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

42

8.3 คุณสมบัตทิางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : เม็ด,ของแข็ง สี : สีขาว หรือเทา-ขาว กล่ิน : ไมมีกล่ิน นน.โมเลกุล : 110.98 จุดเดือด(0ซ.) : > 1600 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 772 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 2.15 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : - ความหนดื(mPa.sec) : - ความดันไอ(มม.ปรอท) : - ที่ - 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : ละลายน้ําได,74.5 ที่ - 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : 8 - 9 ที่ 20 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 4.54 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.22 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : 8.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ -การหายใจเขาไปสารนีลั้กษณะเปนเมด็ จะไมเปนอนัตรายเมื่อหายใจเขาไป แตถาหายใจเอาผุนเขาไปจะกอใหเกดิการระคายเคืองตอระบบทางเดนิหายใจทําใหมีอาการไอ และหายใจถี ่สัมผัสทางผิวหนัง -การสัมผัสถูกผิวหนัง การสัมผัสกับสารที่เปนของแข็งตอผิวหนงัที่แหงจะทําใหเกิดการะคายเคืองเลก็นอย แตถาหากสัมผัสกับสารละลายเขมขน หรือของแขง็สัมผัสกับผิวหนังที่ช้ืนจะทาํใหเกดิการระคายเคืองอยางรุนแรง และอาจเกิดผิวหนังไหมได กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนหรือกินเขาไป สารนี้เปนสารที่มีความเปนพิษต่ํา แตการกิจหรือกลืนเขาไปจะทําใหเกดิการระคายเคืองตอเยื่อเมือกในจมกูอยางรุนแรง เนื่องจากความรอนจากปฏิกริิยา ไฮโดรไลซีส ถารับในปริมาณมากจะทําใหกระเพาะและลําไสอักเสบ อาเจียน ปวดทอง สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตา ความรอนจากปฏิกิริยา ไฮโดรไลซิล จะทําใหเกิดการระคายเคืองตาจากสวนประกอบซึ่งเปนคลอไรดในสาร ทําใหตาแดง และปวดตาได การกอมะเร็ง ความผิดปกต,ิอ่ืน ๆ 8.5 ความคงตวัและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัวทางเคมี สารนี้มีความเสถียร ภายใตสภาวะปกติของการใชและการเก็บ ถาเปดภาชนะทิง้ไวสารจะรับความชืน้จากอากาศ -สารที่เขากันไมได เมทริลไวนิลอีเธอร น้ํา สังกะสี โปรไมนไตรฟลูออไรด คนละตวักับโบรไนดไตรฟลูออไรด แบเรียมคลอไรดและกรดฟูรานเบอรคารบอกซีลิก โลหะจะถูกกัดกรอนอยางชาๆ ในสารละลายแคลเซียมคลอไรด แคลเซียมคลอไรดจะทําให อะลูมิเนียม (และอัลลอยด) และทองเหลืองเกิดความเสียหาย -สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง สารที่กันไมได -สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว เมือ่สารไดรับความรอนสารจะสลายตัวปลอยฟูมกาซพิษของคลอรีนแลอาจรวมตวักับกรดซัลฟูริกและกรดฟอสฟอริก หรือน้ํา ที่อุณหภูมสูิงเกิดเปนไฮโดรคลอไรดได -อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร จะไมเกดิขึ้น

Page 43: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

43

8.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : - จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : - คา LEL % : - UEL % : - LFL % : - UFL % : - NFPA Code :

- สารนี้เปนสารไวไฟ - การดับไฟรนุแรง สารดับเพลิงใหเลือกใชสารเคมีดับเพลิงและวิธีการดับเพลิงที่เหมาะสมกับเพลงิโดยรอบ - ใหสวมใสชดุปองกันสารเคมีและอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) พรอมกับหนากากแบบเต็มหนา - การเกดิเพลิงไหมจะเกดิขึ้นภายใตสภาวะที่มีอุณหภูมิสูง หรือเมื่อมีความชื้นจะทําใหเกิดฟูม / กาซพิษของแคลเซียมคลอไรดขึ้น ซ่ึงทําใหเกดิการระคายเคืองได 8.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) -เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมดิชิด -เก็บในที่ที่แหงและเยน็และมีการระบายอากาศในพืน้ทีด่ี -ปองกันการเสียหายทางกายภาพ แคลเซียมคลอไรดที่ช้ืนหรือสารละลายที่เขมขนสามารถกัดกรอนเหล็กได -แคลเซียมคลอไรดจะถูกซบัน้ําจากบรรยากาศและเปลีย่นรูปเปนสารละลายได -ภาชนะบรรจขุองสารนี้ที่เปนถังเปลา แตมีการสารเคมีตกคาง เชน ฝุน ของแข็งอาจทําใหเกดิอันตรายได 8.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - วิธีการปฏิบตัิเมื่อเกิดอุบัติเหตุกรณีร่ัวไหล ใหอพยพคนออกจากพื้นที่ที่หกร่ัวไหล - ใหสวมใสอุปกรณปองกนัอันตรายสวนบุคคลที่เหมาะสม - ใหเก็บกวาดสวนที่หกร่ัวไหลและบรรจุใสในภาชนะบรรจุเพื่อเก็บคนืหรือนําไปกาํจัด - ใหใชวิธีการดูดหรือกวาดขณะชื้นเพื่อหลีกเลี่ยงการแพรกระจายของฝุน - สารที่เหลือตกคางเล็กนอยใหฉีดลางลงสูทอระบายน้ําดวยน้ําปริมาณมากๆ - การพิจารณาการกําจัด การกําจัดใหปฏิบตัิตามกฎระบียบของกฏหมายที่เกีย่วของ

Page 44: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

44

8.9 อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกนัอันตรายสวนบคุคล (PPD/PPE) : ในบริเวณที่มฝุีน ใหใชหนากากปองกนัฝุนแบบครึ่งหนา. สําหรับในกรณีที่ฉุกเฉินใหใชแบบเต็มหนาที่มีความดันภายในเปนบวกรวมกับอุปกรณชวยหายใจชนดิอัดอากาศเขาภายใน 8.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: -ถาหายใจเขาไปใหเคลื่อนยายผูปวยออกไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยดุหายใจ ใหชวยผายปอด และถามีอาการหายใจตดิขัดใหทาํการใหออกซเิจนชวยนําสงไปพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: -ถากลืนหรือกินเขาไป ใหนาํไปพบแพทยใหกระตุนทําใหอาเจียนทนัทีโดยบุคลากรทางการแทพย หามใหนําสิ่งใดขาปากผูปวยที่หมดสต ิสัมผัสถูกผิวหนัง: -ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังดวยน้ําและสบูปริมาณมากๆ อยางนอง 15 นาที พรอมกับถอดเสื้อผา และรองเทาที่เปรอะเปอนสารเคมีออกทําความสะอาดเสื้อผาและรองเทาอยางทั่วถึงกอนนํามาใชอีกครั้ง สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตา ใหฉดีลางตาโดยทันทดีวยน้ําปริมาณมากๆ อยางนอย 15 นาที พรอมทั้งกระพริบตาถี่ๆ ขณะลางดวยน้ําแลนําสงไปพบแพทยทันที อ่ืน ๆ: - แจงตอแพทย การรับสารทางการกลืนหรือกนิเขาไปทางปากอาจเปนสาเหตุของภาวะทีโ่ลหิตมีปริมาณไบคารโบเนทมากกวาปกต ิ 8.11 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม (Environmental Impacts) - จากขอมูลนีส้ามารถหาไดของ แคลเซียม คลอไรด แอนไฮดริส พบวา สารนี้จะไมเกดิการสลายตัวโดยกระบวนการทางชีวภาพ หรือไมมีการรวมตัวกันทางชวีภาพ - สารนี้มีคา LC 50 สําหรับปลาในชวงการสัมผัส 96 ช.ม. มากกวา 100 mh/l 8.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : - OSHA NO. : - วิธีการเก็บตวัอยาง : กระดาษกรอง หลอดเก็บตัวอยาง อิมพิ้นเจอร วิธีการวิเคราะห : ชั่งน้ําหนกั สเปคโตโฟโตมิเตอร แกซโครมาโตกราฟฟ อะตอมมิกแอบซอปชั่น ขอมูลอ่ืน ๆ :

Page 45: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

45

8.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 178 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา - " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา - " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 629 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา - " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , - " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา - " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา - " 10. Source of Ignition หนา - " 11. "อ่ืน ๆ" http://chemtrack.trf.or.th " 8.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : 29 DOT Guide : 140 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศพัทหรือสายดวน AVERS ที่ หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

Page 46: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

46

9. พบชื่อเคมี: Calcium hydroxide CAS No. 1305-62-0 UN/ID NO. - ชื่อเคมี IUPAC: Calcium hydroxide ชื่อเคมีท่ัวไป Calcium hydroxide ชื่อพองอื่นๆ Bell mine ; Biocalc ; Calcium dihydroxide ; Calcium hydrate ; Cslcium hydroxide ; Calvit ; Carboxide ; Hydratedlime ; Kalkhydrote ; Kemikal ; Limbox ; Lime milk ; Limewater ; Milk of lime ; Slahed lime สูตรโมเลกุล

รหัส IMO CAS No. 1305-62-0 รหัส EC NO. - UN/ID No. - รหัส RTECS EW 2800000 รหัส EUEINECS/ELINCS 215-135-3 ชื่อวงศ – ชื่อผูผลิต/นําเขา Sihmea Chemical Co. แหลงขอมูลอ่ืนๆ P.O. Box 14508 St. Loois, Mo 63178 USA. Tel. 314-771-5765 9.1 การใชประโยชน (Uses) -ใชในกระบวนการผลิตซีเมนต, การผลิตโซเดียมคลอไรด, การผลิตเครื่องสําอางค, การทําเครื่องหนัง 9.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 7340 ( หน)ู LC50(มก./ม3) : - / - ชั่วโมง ( -) IDLH(ppm) : - ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : 4.94 PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : 5 TLV-STEL(ppm) : - TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะส้ัน - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที ่1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ :

Page 47: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

47

9.3 คุณสมบัตทิางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ผง สี : ขาว กล่ิน : ไมมีกล่ิน นน.โมเลกุล : 74.1 จุดเดือด(0ซ.) : - จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 580 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 2.24 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : - ความหนดื(mPa.sec) : - ความดันไอ(มม.ปรอท) : 0 ที่ - 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : ไมละลายน้ํา ที่ - 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : 12.1-12.5 ที่ 20 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 3.07 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.32 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : 9.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ -การหายใจเขาไป สารนี้จะเขาไปทําลายเนื้อเยื่อของเยื่อบุทางระบบทางเดินหายใจถูกทําลาย ทําใหเกิดการอักเสบและการบวมของกลองเสียง และหลอดลมเกิดแผลไหมเกดิอาการ ไอ จาม กลองเสียงอักเสบ หายใจถี่ ปวดศีรษะ คล่ืนไส และอาเจียน สัมผัสทางผิวหนัง -การสัมผัสถูกผิวหนัง ทําใหเกดิอันตรายจากการดูดซึมของสารผานทางผิวหนัง ทําใหเยื่อบุผิวหนังถูกทาํลาย กินหรือกลืนเขาไป -การกลืนหรือกินเขาไป สามารถทําใหเกิดอนัตรายไดทําใหเกิดอาการคลื่นไส อาเจียน ปวดศีรษะ กลองเสียงอักเสบ และหลอดลมอักเสบ สัมผัสถูกตา -การสัมผัสถูกตา ทําใหเกิดอนัตรายจากเยื่อบุตาถูกทําลาย การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ 9.5 ความคงตวัและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) -สารที่เขากันไมได กรดเขมขนสารนี้จะดดูซับคารบอนไดออกไซดจากอากาศ-การเกิดปฏิกิริยา สารนี้จะเกิดปฏิกิริยาอยางรุนแรง กบัฟอสฟอรัส เมลิอิคแอนไฮดราย (Maleic anhydride) ไนโตรพาราฟนส เชน ไนโตรมีเทน ไนโตรอีเทน การผสมกันของ แคลเซียม ไฮดรอกไซด โพแทสเซียมไนเตรทใน สภาวะทีม่ีความรอนรวมกับ คลอรเนเตท ฟนอล อาจจะทาํใหเกดิคลอรีเนเตทเบนโซไดออกซิน 9.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จดุวาบไฟ(0ซ.) : - จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : - คา LEL % : - UEL % : - NFPA Code : LFL % : - UFL % : -

Page 48: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

48

-สารดับเพลิงในกรณีเกิดเพลิงไหมใหใชผงเคมีแหง -ขั้นตอนการดบัเพลิงรุนแรง ใหสวมใสอุปกรณชวยหายใจ ชนิดมีถังอากาศในตวั (SCBA) และชุดปองกันสารเคมีสัมผัส ถูกผิวหนังและตา -จะใหควันพษิออกมาภายใตสภาวะเพลิงไหม 9.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) -เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมดิชิด -เก็บในที่ที่แหงและเยน็ -เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพยีงพอ -ลางทําความสะอาดใหทัว่ภายหลังจากการเคลื่อนยาย -ใชสารใหใชในตูดูดควันสารเคมีเทานั้น - ใหสังเกตคําเตือนและขอควรระวังทั้งหมดที่ใหไวสําหรับสารนี้ 9.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) -วิธีการปฏิบัตเิมื่อเกิดอุบัติเหตุกรณีร่ัวไหล ใหอพยพคนออกจากพืน้ที่ทีห่กร่ัวไหล -ใหสวมใสอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) รองเทาบูทยางและถุงมือยาง -ดูดซับสารดวยทราย หรือหนิแรเวอรไมควิไลท (Vermiculite) -เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมดิชิดสําหรับการกําจัด -ระบายอากาศในพื้นทีแ่ละลางบริเวณหกรัว่ไหลหลังจากสารเคมีถูกเก็บกวาดเรียบรอยแลว -การพิจารณาการกําจัด โดยการนําไปเผาในเตาเผาสารเคมีที่มีอุปกรณเผาขึ้นที่สองและระบบกําจดัมลพิษ ใหดูและปฏิบัติตาม กฎขอบังคับดานสิ่งแวดลอมของทางราชการ 9.9 อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : -หนากากปองกันระบบหายใจใหใชชนดิที่ผานการรับรองจาก MSHA/NIOSH 9.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: -ถาหายใจเขาไปใหเคลื่อนยายผูปวยออกไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยดุหายใจ ใหชวยผายปอด ถาผูปวยหายใจลําบาก ใหออกซิเจน นําสงไปพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: -ถากลืนหรือกินเขาไป ผูปวยยังมมีสติอยูใหลางบวนปากดวยน้ํา นําสงไปพบแพทย สัมผัสถูกผิวหนัง: -ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังดวยน้ําและสบูปริมาณมากๆ อยางนอง 15 นาที พรอมกับถอดเสื้อผา และรองเทาที่เปรอะเปอนสารเคมีออก

Page 49: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

49

สัมผัสถูกตา : -ถาสัมผัสถูกตา ใหฉดีลางตาโดยทันทดีวยน้ําปริมาณมากๆ อยางนอย 15 นาที ใหใชนิ้วเปดเปลือกตาใหกวางและลางอกีครั้งจนมั่นใจวาสารเคมีออก อ่ืน ๆ: -ใหซักทําความสะอาดเสื้อผาที่ปนเปอนสารกอนนํากลับมาใชใหม และทิ้งรองเทาที่เปรอะเปอนสาร 9.11 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม (Environmental Impacts) - เปนพษิอยางมากตอส่ิงมีชีวติที่อาศัยในน้ํา - สงผลเปนอันตรายเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงพีเอช ควรทําใหเปนกลางในระบบบําบัดน้ําเสีย 9.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : 7020 OSHAID121 OSHA NO. : ID 121 วิธีการเก็บตวัอยาง : กระดาษกรอง วิธีการวิเคราะห : อะตอมมิกแอบซอปชั่น ขอมูลอ่ืน ๆ : - การเก็บตวัอยางใช : 0.8 um cellulose ester membrane - อัตราการไหลสําหรับเก็บตัวอยาง : 1 ถึง 3 ลิตรตอนาที - ปริมาตรเก็บตัวอยางต่ําสุด-สูงสุด : ต่ําสุด 20 ลิตร สูงสุด 400 ลิตร 9.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา - " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา 46 " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา - " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 634 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา 21 " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , 0408 " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา - " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา 19 " 10. Source of Ignition หนา - " 11. "อ่ืน ๆ" http://chemtrack.trf.or.th "

Page 50: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

50

9.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : - DOT Guide : - - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่ หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

Page 51: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

51

10. Calcium hypochlorite ชื่อเคมี IUPAC: Hypochlorous Acid, Calcium Salt ชื่อเคมีท่ัวไป Calcium hypochlorite ชื่อพองอื่นๆ Losantin; Calcium hypochloride; BK Powder; Hy-Chlor; Lo-Bax; Chlorinated lime; Lime chloride; Chloride of lime; Calcium oxychloride; HTH; Mildew remover X-14; Perchloron; Pittchlor; Calcium hypochlorite, dry สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 7778-54-3 รหัส EC NO. - UN/ID No. 1748,2208,2880 รหัส RTECS NH 3485000 รหัส EUEINECS/ELINCS 231-908-7 ชื่อวงศ - ชื่อผูผลิต/นําเขา JT.Baker Inc. แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 10.1 การใชประโยชน (Uses) - ใชเปนสารกาํจัดแมลงในทางการเกษตร , ใชในการแยกโดยการหมนุเหวีย่ง สารฟอกขาว ฟอกสี เปนสารเคมีที่ในหองปฏิบัติการ (Latolatary) 10.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 850 ( หนู) LC50(มก./ม3) : - / - ชั่วโมง ( -) IDLH(ppm) : - ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : - PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : - TLV-STEL(ppm) : - TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย :

Page 52: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

52

พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ : สํานักงานอาหารและยา 10.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ผง / ของแข็ง สี : ขาวหรือเทาออน กล่ิน : กล่ินคลายคลอรีน นน.โมเลกุล : 142.98 จุดเดือด(0ซ.) : - จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 177 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 2.35 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : 6.9 ความหนดื(mPa.sec) : - ความดันไอ(มม.ปรอท) : - ที่ - 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : ละลายไดดีมาก ที่ - 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : - ที่ - 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 5.85 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.17 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : - เมื่อสารนี้ละลายน้ําจะเกิดปฏิกิริยาและปลอยกาซคลอรีนออกมา 10.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเอาสารเคมีนี้เขาไปจะเกิดฤทธิ์กัดกรอนทาํลายเนื้อเยื่อบเุมือกและทางเดินหายใจสวนบน ทําใหเกิดแผลไหม ไอ หายใจตดิขัด กลองเสียงอักเสบ คอแหง เจ็บคอ หายใจถี่รัว ปวดศีรษะ คล่ืนไส อาเจียน และอาจทําใหถึงตายได เนือ่งจากกลามเนื้อหดเกร็งและเกิดอาการบวมน้ําของกลองเสียง และหลอดลมใหญ ปอดอุดตันเนื่องจากสารเคมี ปอดบวม สัมผัสทางผิวหนัง - สัมผัสถูกผิวหนัง สารนี้มีฤทธิ์กัดกรอน ทําใหเกิดอาการผื่นแดง ปวดแสบปวดรอน และเกิดแผลไหมอยางรุนแรง กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนหรือกินเขาไป จะกอใหเกดิแผลไหมบริเวณปาก ลําคอ และกระเพาะอาหาร ทําใหเกดิอาการเจ็บคอ อาเจียน และทองรวง สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตาสารนี้มีฤทธิ์กัดกรอน ทําใหมองไมชัด ตาแดง ปวดตาและเกดิแผลไหมของเนื้อเยื่อบุตา การกอมะเร็ง ความผิดปกต,ิอ่ืน ๆ - สารนี้จัดเปนสารกอมะเร็งประเภท 3 ตามบัญชีรายช่ือของ IARC - สัมผัสเรื้อรัง : เมื่อสัมผัสสารแคลเซียมไฮโปคลอไรดอยางตอเนื่อง กอใหเกดิอาการไอเรื้อรัง และหายใจถี่รัวขึ้น

Page 53: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

53

10.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัวทางเคมี : สารนี้สามารถสลายตัวไดงายเมื่อสัมผัสถูกอากาศ และจะสลายตัวอยางรุนแรงเมื่อสัมผัสกับความรอน และแสงแดดโดยตรงที่อุณหภูมิ 177 องศาเซลเซียส - สารที่เขากันไมได : สารอินทรีย สารประกอบไนโตรเจน และสารตดิไฟได - สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความรอน เปลวไฟ ความชื้น ฝุน แหลงจดุติดไฟและสารที่เขากันไมได - สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : การสลายตัวจะทําใหเกดิออกซิเจน คลอรีน และคลอรีนมอนนอกไซดขึ้น - อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร : จะไมเกิดขึ้น - การเกดิปฏิกริิยา : สารนี้จะทําปฏิกิริยากับน้ํา และกรด จะใหกาซคลอรีนออกมา เกดิสารประกอบที่ระเบิดไดกับแอมโมเนียและ เอมนี 10.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : - จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : - คา LEL % : - UEL % : - LFL % : - UFL % : - NFPA Code :

- สารนี้ไมติดไฟ แตเปนสารออกซิไดซอยางแรง และจะทําใหเกิดปฏิกิริยาความรอนกับสารรีคิว หรือสารที่ลุกติดไฟไดทาํใหเกดิการจดุติดไฟขึ้นที่อุณหภูมิสูงขึ้นจะเรงใหเกิดการสลายตัวปลอยความรอนและออกซิเจนออกมา - ภาชนะบรรจทุี่ปดสนิทอาจเกิดระเบดิไดเมื่อไดรับความรอน การระเบดิสามารถเกิดขึ้นไดถาสัมผัสกับคารบอนเตตระคลอไรดหรือสารประกอบแอมโมเนียแหงของสารดับเพลิง - สารดับเพลิง : ใหใชน้ําฉีดใหเปนฝอยปรมิาณมาก ๆ - ใชน้ําฉีดเปนฝอยเพื่อหลอเย็นภาชนะบรรจุที่ถูกเพลิงไหม - หลีกเลี่ยงการสัมผัสโดยตรงกับน้ํา การทําปฏิกิริยากับน้ําจะทําใหเกดิกาซคลอรีนออกมา - หามใชสารดบัเพลิงประเภท ผงเคมีแหง ที่มีสวนประกอบของแอมโมเนียมอยู - หามใชสารดบัเพลิงประเภทเตตตระคลอไรด - ฉีดดับเพลิงจากจุดที่มกีารปองกันอันตรายหรือระยะไกลที่สุดที่จะทําได - อยาใหน้ําไหลลนเขาไปในทอระบายน้ําหรือทางน้ํา

Page 54: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

54

- การดับเพลิงขั้นรุนแรง ใหสวมใสชุดปองกันสารเคมีและอุปกรณชวยหายใจชนิดมถัีงอากาศในตวั (SCBA) พรอมกับหนากากแบบเต็มหนา 10.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บภายในภาชนะบรรจุทีป่ดมิดชิด - เก็บในภาชนะที่เยน็ แหงและ มีการระบายอากาศอยางด ี- ปองกันการถกูทําลายทางกายภาพ และจากความชื้น - เก็บแยกจากแหลงความรอน หรือจุดตดิไฟ สารที่เขากันไมได สารตดิไฟได สารอนิทรีย หรือสารออกซิไดซอ่ืน ๆ - หลีกเลี่ยงการเก็บบนพื้นไม - ภาชนะบรรจสุารนี้ที่เปนถังวางเปลาอาจเปนอันตรายไดเนื่องจากมีการสารเคมีตกคางอยู เชน ฝุน, ของแข็ง - ใหสังเกตคําเตือนและขอควรระวังทั้งหมดที่ใหไวสําหรับสารนี้ - ชื่อทางการขนสงที่เหมาะสม : Calcium Hypochlorite Dry Hazard Class - ลางทําความสะอาดใหทัว่ภาลหลังจากการเคลื่อนยาย - ประเภทอันตราย : 5.1 - UN/NA : 1748, 2208 - ประเภทการหีบหอ : กลุม II หรือกลุม III 10.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - ใหเคลื่อนยายแหลงของการจุดติดไฟทั้งหมดออกไป - สวมใสอุปกรณปองกันสวนบุคคล (PPD/PPE) ที่เหมาะสม - ระบายอากาศในพื้นที่ทีห่กร่ัวไหล - ควบคุมใหน้าํออกหางจากสารเคมีที่หกร่ัวไหล - ทําความสะอาดสวนที่หกร่ัวไหลเพื่อไมใหฝุนแพรกระจายไปในอากาศ - ใชเครื่องมือและอุปกรณทีไ่มกอใหเกิดประกายไฟ - เก็บสวนที่หกร่ัวไหลใสในภาชนะบรรจุที่มีฝาปดมิดชิด เพื่อนําไปแปรรูปใชใหมหรือนําไปกําจดั - การพิจารณาการกําจัด สารนี้ไมสามารถนําเอากลับคืนมาใชใหมไดอยางปลอดภยัจะตองจัดการเชนเดียวกับกากของเสียและสงใหผูซ่ึงไดรับอนุญาตในการกําจดั ดําเนินการและปฎิบัติใหเปนไปตามกฎระเบยีบที่ทางราชการกําหนด

Page 55: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

55

10.9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : 10.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไปใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มอีากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอดถาหายใจติดขัดใหออกซิเจนชวย นําสงไปพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: - ถากินหรือกลืนเขาไป อยากระตุนใหเกิดการอาเจียน ใหดื่มน้าํปรมิาณมาก ๆ หามไมใหนําสิ่งใดเขาปาก ผูปวยทีห่มดสต ินําสงไปพบแพทย สัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนงั ใหฉีดลางผิวหนังโดยทันทดีวยน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที พรอมถอดเสื้อผา และรองเทาที่เปรอะเปอนออก นําสงไปพบแพทยทันที ทําความสะอาดเสื้อผาและรองเทากอนนาํกลับมาใชอีกครั้ง สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตา ใหฉดีลางตาโดยทันทดีวยน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที พรอมกระพริบตาถี่ๆ ขณะทํา การลาง เพื่อใหมัน่ใจวาลางออกหมด นําสงไปพบแพทยทนัท อ่ืน ๆ: 10.11 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม (Environmental Impacts) - หามทิ้งลงสูระบบน้ํา น้ําเสยี หรือดิน 10.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : - OSHA NO. : - วิธีการเก็บตวัอยาง : กระดาษกรอง หลอดเก็บตวัอยาง อิมพิ้นเจอร วิธีการวิเคราะห : ชั่งน้ําหนกั สเปคโตโฟโตมิเตอร แกซโครมาโตกราฟฟ อะตอมมิกแอบซอปชั่น ขอมูลอ่ืน ๆ :

Page 56: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

56

10.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 180 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา - " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา - " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 1905 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา - " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , - " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา 155 " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา - " 10. Source of Ignition หนา - " 11. "อ่ืน ๆ" - " 10.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : 30 DOT Guide : 140 - กรณีฉุกเฉนิโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศพัทหรือสาย

ดวน AVERS ที่ หมายเลขโทรศัพท 165 - ตองการทราบรายละเอียดเพิม่เติมโปรดติดตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุ

มลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

Page 57: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

57

11. Calcium oxide ชื่อเคมี IUPAC: - ชื่อเคมีท่ัวไป Calcium oxide ชื่อพองอื่นๆ Lime; CALX; Quicklime; Calcium monoxide; Burnt lime; Pebble Lime; Unslaked lime; Fluxing lime; Calcia; Calcium Oxide, 99.9% สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 1305-78-8 รหัส EC NO. - UN/ID No. 1910 รหัส RTECS EW 3100000 รหัส EUEINECS/ELINCS 215-138-9 ชื่อวงศ - ชื่อผูผลิต/นําเขา - แหลงขอมูลอ่ืนๆ JT.Baker 11.1 การใชประโยชน (Uses) - ใชในกระบวนการทําเซรามิกส ใชทําใหสารลอยตัว ใชในการทําซิลิกา-เจล 11.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : - ( -) LC50(มก./ม3) : - / - ชั่วโมง ( -) IDLH(ppm) : 11 ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : 2.18 PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : 2 TLV-STEL(ppm) : - TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนดิที่ 1 ชนิดที ่2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ช่ัวโมง - ระยะส้ัน - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนดิที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ :

Page 58: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

58

11.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ผง สี : สีขาวถึงเหลือง กล่ิน : ไมมีกล่ิน นน.โมเลกุล : 56.08 จุดเดือด(0ซ.) : 2850 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 2572 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 3.37 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : 1.9 ความหนดื(mPa.sec) : - ความดันไอ(มม.ปรอท) : - ที่ 20 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : ละลายไดเล็กนอย ที ่ - 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : 12.5 ที่ 21 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 2.29 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.44 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : - สารนี้เมื่อละลายน้ําเกิดการคายความรอน และทําใหเกดิแคลเซียมไฮดรอกไซด 11.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเอาฝุนของสารนี้เขาไปจะกอใหเกดิการระคายเคืองอยางรุนแรงและมีฤทธิ์กัดกรอนตอทางเดินหายใจสวนบน ทําใหเกดิอาการไอ จาม เจ็บคอหายใจติดขัด หายใจถี่รัว และมีอาการแผลไหมภายในโพรงจมูก สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงั จะกอใหเกิดการระคายเคือง จะมีฤทธิ์กัดกรอนตอผิวหนังอยางรุนแรง ทําใหเกิดผ่ืนแดง และมีอาการปวดแสบปวดรอน กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนหรือกินเขาไป จะมีฤทธิ์กดักรอนตอหลอดอาหาร ทําใหเกิดอาการปวดทอง ทองรวง คล่ืนไส อาเจียน เนือ่งจากสารนี้มฤีทธิ์เปนเบส จึงอาจทําใหเกดิแผลไหมบริเวณปากและลําคอ สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตา : จะกอใหเกิดการระคายเคืองอยางรนุแรงและเกิดการทําลายเนื้อเยื่อตา ทําใหตาแดง น้ําตาไหล ตาพรามัว ปวดตา การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ - การสัมผัสเปนเวลานาน ๆ : การหายใจเอาฝุนเขาไปเปนเวลานาน ๆ จะทําใหเกดิการอักเสบของระบบทางเดินหายใจ เกิดแผลเปอยของเยื่อเมือก และอาจทําใหโพรงจมูกเปนรูได 11.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัวทางเคมี : สารนี้มีความเสถียร เมื่อเก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิดภายใตอุณหภูมิหอง - สารที่เขากันไมได : น้ํา กรด อากาศชื้น ไฮโดรเจนฟลูออไรด ฟอสฟอรัสเพนทอกไซด บอริคออกไซดบอริค ไอน้ํา สารอินทรียอ่ืน ๆ - สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : อากาศ ความชื้น และสารที่เขากันไมได - สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : ไมมีสารอันตรายที่เกิดจาการสลายตัว - อันตรายจากการปฏิกิริยาพอลิเมอร : ไมเกิดขึ้น

Page 59: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

59

11.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : - จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : - คา LEL % : - UEL % : - LFL % : - UFL % : - NFPA Code :

- การระเบิด : สารนี้อาจกอใหเกิดอนัตรายจากการระเบิดไดจากการผสมหินปูน และน้ําที่อุณหภูมสูิง ๆ จะทําใหเกดิการระเบิดได - การเกดิไฟไหม : จะทําใหเกิดอันตรายจากไฟ จากการที่ปูนขาวกับน้าํผสมกันทําใหเกิดปฏิกิริยาคายความรอน ผลของความรอนกับวตัถุที่ติดไฟไดเอง จะทําใหเกดิการติดไฟขึ้นทันท ี- สารดับเพลิงในกรณีเกดิเพลิงไหม : ใชวธีิที่เหมาะสมสําหรับการดับเพลิงโดยรอบ - ในเหตุการณเกิดเพลิงไหมใหสวมใสชุดปองกันสารเคมีและอุปกรณชวยหายใจชนดิมีถังอากาศในตัว (SCBA) พรอมกับหนากากแบบเต็มหนา 11.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดแนน - เก็บในที่ที่เยน็และแหง - มีการระบายอากาศในพืน้ที่ - เก็บหางจากความรอน ความชื้น และสารที่เขากันไมได - มีการปองกนัความเสียหายจากทางกายภาพ - สารนี้เปนดางเขมขนเมื่อถูกความชื้นจะทําใหภาชนะบรรจุบวม เกดิความรอนจนทําใหระเบิดได - ภาชนะบรรจขุองสารนี้ที่เปนถังเปลาแตมีกากสารเคมีตกคาง เชน ฝุนหรือของแข็ง อาจกอใหเกิดอันตรายได - ใหสังเกตคําเตือน และขอระวังทั้งหมดทีร่ะบุไวสําหรับสารนี้ 11.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - วิธีการปฏิบตัิเมื่อเกิดอุบัติเหตุร่ัวไหล : ใหระบายอากาศพื้นที่ที่หกร่ัวไหล - ควบคุมคนทีไ่มมีหนาที่จําเปนและไมมกีารปองกันอันตรายออกจากบริเวณที่ที่มกีารหกรั่วไหล - ใหสวมใสอุปกรณปองกนัอันตรายสวนบุคคลที่เหมาะสม - เก็บสวนที่หกร่ัวไหลใสในภาชนะบรรจุที่เหมาะสมสําหรับการนํากลบัมาใชหรือการกําจัด

Page 60: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

60

- ควรใชวิธีซ่ึงไมทําใหเกิดฝุนขึ้น - การกําจดั : ถาไมสามารถนําสารนี้กลับมาใชใหมได ก็ควรจัดการกําจดัอยางเหมาะสม 11.9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE)

ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : 11.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไป : ใหเคลือ่นยายผูปวยออกไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจ ใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขดัใหออกซิเจนชวย นาํสงไปพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: - ถากลืนหรือกินเขาไป : อยากระตุนทําใหอาเจียน ใหดื่มน้ําหรอืนมปริมาณมาก ๆ ถาทําได หามไมใหนําสิ่งใดเขาปากผูปวยทีห่มดสติ นําสงไปพบแพทย สัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนงั : ใหฉีดลางผวิหนังทนัทีดวยน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที พรอมถอดเสื้อผาและรองเทาที่เปรอะเปอนสารเคมีออก นําสงไปพบแพทยทันที ใหทําความสะอาดเสื้อผา และรองเทากอนนํากลับมาใชอีกครั้ง สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตา : ใหลางโดยใหน้ําไหลผาน ถาเกิดการระคายเคืองขึ้น ใหนําสงไปพบแพทย อ่ืน ๆ: 11.11 ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม (Environmental Impacts) - หามทิ้งลงสูแหลงน้ํา น้ําเสีย และดิน - ไมกอใหเกดิผลกระทบตอระบบนิเวศน หากมีการใชและจัดการกับผลิตภัณฑอยางเหมาะสม - สงผลกระทบที่เปนอันตรายเนื่องจาเปลี่ยนแปลงพเีอช - อาจกอใหเกดิอันตรายตอส่ิงมีชีวิตที่อยูในน้ํา 11.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : 7020 OSHA NO. : ID 121 วิธีการเก็บตวัอยาง : กระดาษกรอง วิธีการวิเคราะห : อะตอมมิกแอบซอปชั่น

Page 61: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

61

ขอมูลอ่ืน ๆ : - การเก็บตวัอยางใช 0.8 um cellulose ester membrane - อัตราการไหลสําหรับเก็บตัวอยาง 1 ถึง 5 ลิตรตอนาที - ปริมาตรเก็บตัวอยางต่ําสุด-สูงสุด 20 ลิตร , 400 ลิตร 11.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 183 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา 48 " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา - " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 635 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา 21 " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , 0409 " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา 157 " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา 19 " 10. Source of Ignition หนา - " 11. "อ่ืน ๆ" http://chemtrack.trf.or.th " 11.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : 42 DOT Guide : 157 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

Page 62: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

62

12. Chloroform ชื่อเคมี IUPAC: Trichloromethane ชื่อเคมีท่ัวไป Chloroform ชื่อพองอื่นๆ Methyl trichloride; Chloroform; Refrigerant R20; Formyl trichloride; Methane trichloride; Methenyl trichloride; Trichloroform; R 20; R 20 (refrigerant); Chloroform สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 67-66-3 รหัส EC N. 602-006-00-4 UN/ID No. 1888 รหัส RTECS FS 9100000 รหัส EUEINECS/ELINCS 200-633-8 ชื่อวงศ - ชื่อผูผลิต/นําเขา - แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 12.1 การใชประโยชน (Uses) -ใชเปนตวัทําละลายสกัดสาร,เปนตัวทําละลายสารโพลีคารบอเนตและสารอื่นๆ 12.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 908 ( หนู) LC50(มก./ม3) : 47702 / 4 ช่ัวโมง ( หน)ู IDLH(ppm) : 500 ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : 2 PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : 50 TLV-TWA(ppm) : 10 TLV-STEL(ppm) : - TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะสั้น - คาสูงสุด 50 สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที ่1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ : กรมโรงงานอุตสาหกรรม

Page 63: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

63

12.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ของเหลว สี : ไมมสี กล่ิน : กล่ินอีเทอร นน.โมเลกุล : 119.38 จุดเดือด(0ซ.) : 62 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -63.5 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 1.48 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : 4.1 ความหนดื(mPa.sec) : 0.56 ความดนัไอ(มม.ปรอท) : 160 ที่ 20 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : 0.8 ที่ 20 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : - ที่ - 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 4.88 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.21 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : 12.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ -การหายใจเขาไปทําใหรางกายหมดความรูสึกหรือสลบไดทําใหระคายเคืองตอระบบการหายใจ และมผีลกระทบตอระบบประสาทสวนกลางมอีาการปวดศีรษะ เวียนศีรษะ ถาหายใจเอาสารที่ความเขมขนสูงเขาไปจะทําใหหมดสติ และถึงตายได ทําใหไตถูกทําลาย ความผิดปกติของระบบเลือด การสัมผัสเปนระยะเวลานาน จะทํานําไปสูความตายได ทําใหการเตนของหัวใจผิดปกติ ตับ และไตผดิปกต ิสัมผัสทางผิวหนัง -การสัมผัสถูกผิวหนัง ทําใหระคายเคอืงตอผิวหนัง มีผ่ืนแดงและมีอาการเจ็บปวด ทําลายน้ํามันธรรมชาติในรางกาย สารนี้สามารถซึมผานผิวหนังได กินหรือกลืนเขาไป -การกลืนหรือกินเขาไปจะทําใหเกดิแผลไหมบริเวณปาก,ลําคอ ทําใหมีอาการเจ็บหนาอก และอาเจียนได การกลืนเขาไปในปริมาณมาก จะกอใหเกดิอาการคลายกับการหายใจเขาไป สัมผัสถูกตา -การสมัผัสถูกตา ไอระเหยของสารเคมีนี้จะทําใหเกิดการเจ็บปวดและระคายเคืองตอตา ถาสารเคมีกระเดน็เขาตา จะทําใหเกดิระคายเคืองอยางรุนแรง และอาจทําใหตาบอดได การกอมะเร็ง ความผิดปกต,ิอ่ืน ๆ อาการ: ถาสัมผัสไอระเหยของสารนี้เปนระยะเวลานานหรือสัมผัสถูกสารเคมีบอยๆอาจจะทําใหระบบประสาทสวนกลาง หวัใจ ตับ และไต ถูกทําลายได -ผลกระทบจากการสัมผัสกับของเหลวจะทําใหไขมันถูกทําลายลง อาจจะทําใหผิวหนังมีการระคายเคืองเร้ือรัง ทําใหผิวหนังแหง และเกิดผิวหนังอกัเสบได สารคลอโรฟอรมนี้ถูกสงสัยวาจะเปนสารกอมะเร็งตอมนุษย 12.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัวของสารเคมี : สารนี้จะเสถียรภายใตการใชและการเก็บอยางปกต ิ- สารที่เขากันไมได : สารที่มีความกัดกรอนอยางรุนแรงและสารเคมีที่มีความวองไว เชน อลูมิเนียม ผงแมกนีเซยีม โซเดียม หรือ โพแทสเซียม อะซิโตน ฟูโอลีนเมทธานอล โซเดียมเมททอกไซด ไดไนโตรเจน เตตตอกไซด เทิรท-บิวตอกไซด ไตรไอโซพิลฟอสไฟด - สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง: หลีกเลี่ยงแสง ความรอน อากาศ และสารที่เขากันไมได

Page 64: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

64

- สารเคมีอันตรายจาการสลายตัวของสารเคมี: เมื่อมีการสลายตัวจากความรอน อาจกอใหเกดิคารบอนมอนนอกไซด คารบอนไดออกไซด ไฮโดรเจนคลอไรด และฟลอจีน - อันตรายจากปฏิกิริยาโพลิเมอรเซชั่น: ไมเกิดอันตราย -เมื่อเปดทิ้งไวในที่ที่มีแสง เปนระยะเวลานานทําให pH ลดลง เนื่องจากการเกดิสารไฮโดรคลอลิก(HCI) 12.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : - จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : - คา LEL % : - UEL % : - LFL % : - UFL % : - NFPA Code :

-สารนี้ไมไวไฟ -อาจเกดิเพลิงไหมไดเมื่อสัมผัสกับความรอนสูง -สารดับเพลิง ใชวิธีการที่เหมาะสมสําหรับการดับเพลิงโดยรอบ -ในเหตุการณเกิดเพลิงไหมสวมใสชุดปองกันสารเคมีและอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตวั (SCBA) พรอมกับหนากากแบบเต็มหนา 12.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมดิชิด ตานทางแสงแดด - เก็บในที่เยน็ แหงและมีการระบายอากาศที่ดี - ปองกันความเสียหายทางกายภาพ - แยกออกจากสารที่เขากันไมได - ใหสวมใสอุปกรณปองกนัอันตรายสําหรบังานบํารุงรักษาหรือในที่ซ่ึงตองสัมผัสกับสารเคมีนี้ในปริมาณมากเกิน - ภาชนะบรรจสุารนี้อาจเกิดอันตรายไดเมือ่เปนถังวางเปลาเนื่องจากสารเคมีที่ตกคางทั้งไอระเหยและของเหลวใหสังเกตปายเตอนและขอระมัดระวังสําหรับสารนี้ทั้งหมด - ชื่อทางการขนสง : คลอโรฟอรม (Cholroform) - ประเภทอันตราย : 6.1 - รหัสหมายเลข UN : 1888 - ประเภทการหีบหอ : III

Page 65: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

65

12.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) -วิธีการเมื่อเกดิอุบัติเหตุร่ัวไหล ใหระบายอากาศพื้นที่ทีห่กร่ัวไหล -สวมใสอุปกรณปองกันสวนตัวที่เหมาะสม -ใหกั้นแยกพืน้ที่ที่มีอันตรายออก -ไมจําเปนตองควบคุมและปกปองบุคคลที่จะเขาไป -ใหเก็บและเอาของเหลวคืนกลับมาใชใหมถาเปนไปได -เก็บรวบรวมของเหลวในภาชนะบรรจุที่เหมาะสมหรือดูดซับดวยวตัถุเฉี่อยในการดูดซับสาร เชน แรหินทราย (vermiculite) ทรายแหง ดิน(earth)และเก็บใสในภาชนะบรรจุกากของเสียจากเคมี อยาใชวัสดุติดไฟได เชนขี้เล่ือย -อยาฉีดลางลงทอระบายน้ํา ใหมีการรายงานการหกรัว่ไหลสูดิน น้ํา และอากาศมากเกินกวาปริมาณที่ตองรายงาน -การพิจารณาการจํากัดไมวาสารอะไรก็ตามจะไมสามรถทําไดอยางปลอดภัยในการนําเอากลับคืนมาใชใหมจะตองจดัการ เชนเดยีวกับกากของเสียและสงใหผูซ่ึงไดรับอนุญาตในการกําจัดซึ่งตองปฏิบัติตามกฏระเบียบขอบงัคับของทางราชการ 12.9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : - การเลือกประเภทถุงมือ : แนะนําใหใชถุงมือที่ทํามาจากวัสดุประเภท Supported Polyvinyl Alcohol ซ่ึงควรมีระยะเวลาที่จะทําใหเกิดการซึมผานผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกวา 360 นาที และควรมีอัตราการเสื่อมสภาพของถุงมือ (Degradation Rating) อยูในระดับดีมาก และไมแนะนําใหใชถุงมือที่ทํามาจากวัสดุประเภท Nitrile,Unsupported Neoprene ,Polyvinyl Chloride , Natural Rubber, Neoprene/Natural Rubber Blend - ขอแนะนําในการเลือกประเภทหนากากปองกันระบบหายใจ - ที่ชวงความเขมขนที่เกิดกวาคามาตรฐานที่ NIOSH แนะนําหรือที่ทุกชวงความเขมขนที่สามารถวัดได : ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดทีม่ีถังอากาศในตัว (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดันภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 10,000 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดันภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใชการทํางานรวมกันระหวางอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตวั และแบบความดันภายในเปนบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10,000 - ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉิน : ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา และอุปกรณกรองอนุภาคประสิทธิภาพ (HEPA filter) หรือ ใหใช

Page 66: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

66

อุปกรณที่เหมาะสมสําหรับในกรณกีารหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉิน พรอมอปุกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตวั (SCBA) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มี คา APF. = 50 12.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: -ถาหายใจเขาไป ควรเคลื่อนยายออกไปอยูในที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยดุหายใจใหชวยผายปอด ถาผูปวยหายใจลําบาก ควรใหออกซิเจน และนําผูปวยสงโรงพยาบาล กินหรือกลืนเขาไป: -ถากินหรือกลืนเขาไป อยากระตุนใหเกิดอาเจียน ควรใหน้ําปริมาณมากๆ ถาผูปวยหมดสติ หามไมใหส่ิงใดเขาปากและใหอยูในความดูแลของแพทยโดยทันที สัมผัสถูกผิวหนัง: -สัมผัสถูกผิวหนังใหฉีดลางผิวหนังโดยทันทดีวยน้ําปริมาณมากๆอยางนอย 15 นาที และถอดเสื้อผาและรองเทาทีเ่ปรอะเปอนสารเคมีออก ทําความสะอาดเสื้อผาและรองเทากอนนํามาใชอีกครั้ง สัมผัสถูกตา : -ถาสัมผัสถูกตาใหลางตาทันทีดวน้ําปริมาณมากๆอยางนอย 15 นาที พรอมกระพรบิตาถี่ๆ ขณะทําการลาง นําสงไปพบแพทย อ่ืน ๆ: -นําผูปวยสงโรงพยาบาลและควรแจงอาการใหแพทย เนื่องจากผูปวยควรไดรับการรักษาภายใน 24-48 ชั่วโมง เพราะอาจจะทําใหมีผลกระทบตอไต และตับได -ของเหลวที่อยูภายในไตไมสามารถชวยปองกันสารเคมีได ซ่ึงสังเกตไดจากการนําน้าํปสสาวะของผูปวยมาวิเคราะหและทดสอบกลูโคสที่อยูในเลือด เอ็กซเรยหนาอก และตรวจสอบสถานะของไหล/อิเล็กโตรไลท ไดฟลฟรัม ซ่ึงอยูในเมตตาบยอลิซึม และอาหารของผูปวยทีม่ี คารบอไฮเดตรสูง จะสามารถปองกันและตอตานสารพิษจากคลอโฟอรมได โดยที่ไมจะเปนตองใหน้ําเกลอื ตรวจสอบไดจากการเพิ่มขึ้นของบิลิโรบิน 12.11 ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม (Environmental Impacts) -ขอมูลทางนิเวศวิทยา ส่ิงแวดลอมถูกทําลายเสียหาย เมื่อร่ัวไหลสูดิน -สารนี้คาดวาจะถูกชะลางลงสูน้ําใตดิน -สารนี้คาดวาจะมีการระเหยอยางรวดเรว็ เมื่อร่ัวไหลสูน้าํ -สารนี้คาดวาจะมีการสลายตวัไปครึ่งหนึ่ง (half life) ภายในเวลานอยกวา 1-10 วัน -คลอโรฟอรมจะมีลอกออกทนนอลนอยกวา 3 ของสัมประสิทธิ์สวนของน้ํา -สารนี้ไมสามารถคาดไดวาจะสะสมสิ่งมีชีวิตไดเมื่อร่ัวไหลสูอากาศ -สารนี้จะสลายตัวไดปานกลางโดยทําปฏิกริิยากับสารไฮดรอกซิล เรดิคอล ที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมีกบัแสง เมื่อร่ัวไหลสูอากาศ -สารนี้จะสลายตัวโดยการสงัเคราะหแสงไดปานกลาง เมือ่ร่ัวไหลสูอากาศ -สิ่งของนี้ถูกขนยายจากบรรยากาศเมื่อร่ัวไหลสูอากาศ -สารนี้คาดวาจะมีการสลายตวัไปครึ่งหนึ่ง (half life) ภายในเวลามากกวา 30 วัน - ความเปนพิษตอส่ิงแวดลอม: สารนี้เปนพษิตอส่ิงมีชิวิตในน้ํา -คาความเขมขนที่ทําใหปลาตายกวารอยละ 50 LC 50ภายใน 96 ชั่วโมงมีคามากกวา 1-100 มิลลิกรัมตอลิตร

Page 67: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

67

12.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : 1003 OSHA NO. : - วิธีการเก็บตวัอยาง : หลอดเก็บตัวอยาง วิธีการวิเคราะห : แกซโครมาโตกราฟฟ ขอมูลอ่ืน ๆ : - การเก็บตวัอยางใช : coconut shell charcoal 100mg/ 50 mg - อัตราการไหลสําหรับเก็บตัวอยาง : 0.01-0.2 ลิตรตอนาที 12.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 210 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา 64 " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา 1.144 " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 774 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา 24 " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , 0027 " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา 186 " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา 22 " 10. Source of Ignition หนา 81 " 11. "อ่ืน ๆ" - " 12.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide :36 DOT Guide : 151 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่ หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

Page 68: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

68

13. Ethyl acetate ชื่อเคมี IUPAC: - ชื่อเคมีท่ัวไป Ethyl acetate ชื่อพองอื่นๆ Ethyl acetic ester; Acetoxyethane; Acetic ether; Vinegar naphtha; Acetidin; Acetic ester สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 141-78-6 รหัส EC NO. 607-022-00-5 UN/ID No. 1173 รหัส RTECS AH 5425000 รหัส EUEINECS/ELINCS 205-500-4 ชื่อวงศ - ชื่อผูผลิต/นําเขา - แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 13.1 การใชประโยชน (Uses) - ใชทําเครื่องสําอางค , ใชในการกลั่นแยก, ใชเปนสารละลาย 13.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 5620 ( หนู) LC50(มก./ม3) : 200 / หนู ชั่วโมง ( -) IDLH(ppm) : 400 ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : 2000 PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : 400 TLV-STEL(ppm) : 1400

Page 69: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

69

TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนดิที่ 1 ชนิดที ่2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ : กรมโรงงานอุตสาหกรรม 13.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : เปนของเหลว สี : ใส กล่ิน : หอม นน.โมเลกุล : 88.11 จุดเดือด(0ซ.) : 77.2 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -83 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 0.9018 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : 3.0 ความหนดื(mPa.sec) : 0.44 ความดันไอ(มม.ปรอท) : 75 ที่ - 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : 7.9 ที่ 20 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : 7.4 ที่ - 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 3.60 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.28 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : - สารนี้ละลายในแอลกอฮอล อีเทอร กลีเซอรีน ตัวทําละลายอินทรีย 13.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ: - จะเปนอันตรายถาหายใจเขาไป ไอระเหยที่ความเขมขนสูง ๆ จะทําใหปวดศีรษะ มึนงง หมดสต ิสัมผัสทางผิวหนัง: - การสัมผัสทางผิวหนังทําใหเกิดการอักเสบของผิวหนังบริเวณที่สัมผัส และเกิดการทําลายชั้นไขมนัของผิวหนังอยางรุนแรง กินหรือกลืนเขาไป: - การกลืนกินเขาไปจะทําใหคล่ืนไส อาเจียน ปวดศีรษะ งวงนอน หมดสติ สัมผัสถูกตา: - การสัมผัสถูกตาจะกอใหเกิดการระคายเคือง การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ:- ไมเปนสารที่กอใหเกดิมะเร็ง ตามรายละเอียด IARC ,NTP, OSHA - สารนี้มีผลทําลายดวงตา ผิวหนัง และระบบหายใจ

Page 70: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

70

13.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียร - อันตรายจากการเกิดพอลิเมอรไรเซชั่น : จะไมเกดิขึ้น - สภาวะ : ควรหลีกเลี่ยงความรอน สัมผัสกับแหลงจดุตดิไฟ จะจุดติดไฟเมื่อสัมผัสกับโพแทสเซยีม เตริกบิวทอกไซด - ปฏิกิริยารุนแรงกับ กรดคลอโรซัลโฟนิค - สารที่ควรหลีกเลี่ยง : กรด สารออกซิไดซ สารอัลคาไลทที่มีปฏิกิริยารุนแรง ไนเตรท 13.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : -4.44 จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : 460 คา LEL % : 2.20% UEL % : 11.00% LFL % : - UFL % : - - วิธีการดับไฟ : สารดับเพลิงที่เหมาะสมเมือ่เกิดอัคคีภยั คือ แอลกอฮอล โฟม คารบอนไดออกไซด ผงเคมีแหง - ใชน้ําฉีดเปนฝอยเมื่อหลอเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสถูกเพลิงไหม - ขั้นตอนการปฏิบัติการดับเพลิง ควรสวมใสเครื่องชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตวัและชุดปองกนัสารเคมี - ไอระหยสามารถแพรกระจายไปสูแหลงจดุติดไฟและเกดิไฟยอนกลับมาไดผสมกับอากาสส ประกายไฟอาจจะเกิดขึ้นไดที่มีอุณหภมูิต่ํากวา ประกายไฟทั่ว ๆไปที่เกิดขึ้นเอง หรืออุณหภูมิของประกายไฟ อุณหภูมิประกายไฟจะลดลงเมื่อปริมาณไอระเหยเพิ่มขึ้นและเวลาที่ไอระเหยสัมผัสกับอากาศและความดันที่เปล่ียนแปลง - ประกายไฟอาจจะเกิดที่อุณหภูมิสูงเฉพาะกับหองปฏิบัตงิานภายใตสูญญากาศ ถาอากาศเขาไปอยางทันทีทันใดหรอืการปฏิบัติงานภายใตความดันสูงถาไอระเหยออกมาทันใด หรือการเกดิขึ้นที่บริเวณแอทโมสเฟย 13.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บไวในภาชนะที่ปดสนทิ - เก็บไวในที่มอุีณหภูมิเยน็ แหง - เก็บไวในที่มกีารระบายอากาศ - เก็บใหหางจากแหลงที่เกิดประกายไฟ และสารออกซิไดซ - สารที่เหลืออยูในภาชนะอาจจะทําใหเกิดอันตรายได ควรใชอยางระมัดระวัง - ขอมูลการขนสง DOT ชื่อทางการขนสงเหมาะสม : Ethyl Acetate - หมายเลข DOT ID UN : 1173

Page 71: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

71

13.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - วิธีการเมื่อเกดิอุบัติเหตุร่ัวไหล การตอบโตกรณีหกร่ัวไหล - อพยพคนที่ไมเกี่ยวของทั้งหมดออกจากพื้นที ่- สวมใสอุปกรณปองกันใหเหมาะสมที่ระบุไวในบัญชีรายช่ือใตเปด / การปองกันอนัตรายสวนบคุคล - ขจัดแหลงการจุดติดไฟใดๆออกไฟจนกระทั่งพื้นทีด่ังกลาวไมกอใหเกิดอันตรายจากการระเบดิหรืออันตรายไฟ - บรรจุสวนทีห่กร่ัวไหลและแยกออกจากแหลงสารเคมีนั้น - ถาสามารถทําไดโดยปราศจากความเสีย่งอันตราย เก็บและบรรจสุารสําหรับการนําไปกําจดัใหเหมาะสม - ปฏิบัติตามกฏ กฎหมาย และกฏระเบียบของทางราชการในการรายงานการรั่วไหลของสารเคมี - ตองปฏิบัติตามระเบียบ ขอบังคับของทางราชการอยางเครงครัด 13.9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : - การเลือกประเภทถุงมือ : แนะนําใหใชถุงมือที่ทํามาจากวัสดุประเภท Laminated film ซ่ึงควรมีระยะเวลาที่จะทําใหเกดิการซึมผานผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกวา 480 นาที และควรมีอัตราการเสื่อมสภาพของถุงมือ (Degradation Rating) อยูในระดับดีมาก และไมแนะนําใหใชถุงมือที่ทาํมาจากวัสดุประเภท Nitrile, Polyvinyl Chloride - ขอแนะนําในการเลือกประเภทหนากากปองกันระบบหายใจ - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 2000 ppm : ใหใชอุปกรณชวยหายใจประเภททีใ่ชการสงอากาศสําหรับการหายใจ ซ่ึงมีอัตราการไหลของอากาศแบบตอเนื่อง โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 25 หรือใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) ซ่ึงมีCartridge พรอมหนากากแบบเต็มหนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา (gas mask) ซ่ึงมี Canister สําหรับปองกันไอระเหยของสารอินทรีย โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตวั (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 - ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเขาไปสัมผัสกับสารที่ไมทราบชวงความเขมขน หรือการเขาไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เปน IDLH : ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตวั (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดนัภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 10,000 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดันภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใชการทํางานรวมกันระหวางอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว

Page 72: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

72

และแบบความดันภายในเปนบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10,000 - ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉิน : ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา (gas mask) ซ่ึงมี Canister ที่สามารถปองกันไอระเหยของสารอินทรีย ใหใชอุปกรณทีเ่หมาะสมสําหรับในกรณกีารหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉินพรอมอุปกรณชวยหายใจชนดิมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 50 13.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไปใหเคลื่อนยายผูปวยออกไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ผูปวยไมหายใจ ใหชวยผายปอด ผูปวยหายใจลําบาก ใหออกซิเจน กินหรือกลืนเขาไป: - การกินหรือกลืนเขาไป : ถาผูปวยยังมีสติใหดืม่น้ําและกระตุนทําใหอาเจียนทันทีโดยเจาหนาที่ทางการแพทย ถาผูปวยหมดสติหามไมใหส่ิงใดเขาปาก ถอดเสื้อผาที่เปรอะเปอนและทําความสะอาดกอนใชอีกครั้ง สัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนงั ใหลางออกดวยน้ําและสบูปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตา ใหฉดีลางตาโดยใหน้ําไหลผานอยางนอย 15 นาที อ่ืน ๆ: 13.11 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม (Environmental Impacts) - เมื่อร่ัวไหลลงสูน้ํา : สารนี้มีความเปนพษิตอปลาและแพลงคตอน อาจเกิดการผสมกับอากาศเหนือผิวน้ํา ใหไอของสารที่ระเบิดได - สารน้ีสามารถเกิดการสลายตัวทางชวีภาพไดด ี- สารนี้จะไมสงผลตอระบบบําบัดน้ําทิ้ง หากมีการใชและจัดการสารอยางเหมาะสม 13.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : 1457 OSHA NO. : 7 วิธีการเก็บตวัอยาง : หลอดเก็บตัวอยาง วิธีการวิเคราะห : แกซโครมาโตกราฟฟ ขอมูลอ่ืน ๆ : - การเก็บตวัอยางใช : coconut shell charcoal 100 mg/ 50 mg - อัตราการไหลสําหรับเก็บตัวอยาง : 0.01-0.2 ลิตรตอนาที - ปริมาตรเก็บตัวอยางต่ําสุด-สูงสุด : ต่ําสุด 0.1 ลิตร, สูงสุด 10 ลิตร

Page 73: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

73

13.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 384 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา 130 " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา 1.213 " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา 325-47 " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 1513 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา 32 " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , 0367 " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา 320 " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา 30 " 10. Source of Ignition หนา 95 " 11. "อ่ืน ๆ" http://chemtrack.trf.or.th " 13.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : 18 DOT Guide : 129 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศพัทหรือสายดวน AVERS ที่ หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

Page 74: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

74

14. Ethyl Alcohol ชื่อเคมี IUPAC: Ethanol ชื่อเคมีท่ัวไป Ethyl Alcohol ชื่อพองอื่นๆ Anhydrol; Alcohol; Methylcarbinol; Denatured alcohol; Ethyl hydrate; Ethyl hydroxide; Algrain; Cologne spirit; Fermentation alcohol; Grain alcohol; Jaysol; Jaysol s; Molasses alcohol; Potato alcohol; Spirit; Spirits of wine; Tecsol; Alcohol dehydrated; Ethanol 200 proof; Cologne spirits (alcohol); Sd alcohol 23-hydrogen; Synasol; Ethanol absolute สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 64-17-5 รหัส EC NO. 603-002-00-5 UN/ID No. 1170,1986,1987 รหัส RTECS KQ 6300000 รหัส EUEINECS/ELINCS 200-578-6 ชื่อวงศ ALCOHOL ชื่อผูผลิต/นําเขา - แหลงขอมูลอ่ืนๆ CHEMINFO 14.1 การใชประโยชน (Uses) -ใชในการผลิตเครื่องดื่ม , ใชเปนน้ํามันเชือ้เพลิง , กาซโซลีน , ใชในการผลิตยา , เปนตัวทําละลาย , ใชเปนตัวกลางในการถายเทความรอน , ใชในการผลิตเครื่องสําอางค 14.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 7076 ( หน)ู LC50(มก./ม3) : > 10,000 / - ช่ัวโมง ( ปลา) IDLH(ppm) : 3300 ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : 1000 PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : 1000 TLV-STEL(ppm) : - TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนดิที่ 1 ชนิดที ่2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) :

Page 75: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

75

เฉลี่ย 8 ชั่วโมง 1000 ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ : 14.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ของเหลว สี : ใส ไมมีสี กล่ิน : เฉพาะตวั นน.โมเลกุล : 46.07 จุดเดือด(0ซ.) : 78 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -114 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 0.789 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : 1.6 ความหนดื(mPa.sec) : 1.41 ความดันไอ(มม.ปรอท) : 43 ที่ 20 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : 100 ที่ - 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : - ที่ - 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 1.88 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.531 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : 14.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเขาไปทําใหเกิดการระคายเคืองตอระบบทางเดินหายใจ ทําใหเกดิอาการ ปวดศรีษะ เวียนศรษีะ ไอ เซื่องซมึ และเกดิโรคน้ําทวมปอด สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงั ทําใหเกิดการระคายเคือง แสบไหม ผ่ืนแดง สารนี้ดูดซึมผานผิวหนัง กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนหรือกินเขาไป ทําใหเกิดการระคายเคือง ทําใหเกดิอาการปวดศีรษะ วงิเวียนศีรษะ และมีอาการเซื่องซึม สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตาทําใหเกิดการระคายเคืองทําใหตาแดง และปวดตาได การกอมะเร็ง ความผิดปกต,ิอ่ืน ๆ 14.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัว สารนี้ปกติจะเสถียร - สารที่เขากันไมได : สารออกซิไดซอยางแรง โพแทสเซียมไดออกไซด โบรมีน เพนตะฟลูออไรด เปอรออกไซด กรด กรดคลอไรด กรดแอนไฮไดรส โลหะอัลคาไลน แอมโมเนีย แพทตนิั่ม โซเดยีม อะเซทิลคลอไรด - สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง ประกายไฟ เปลวไฟ แหลงความรอน หรือแหลงอ่ืนๆ ที่สามารถทําใหเกิดการจุดติดไฟได - อันตรายตอการปฏิกิริยาพอลิเมอร ไมเกิดขึ้น

Page 76: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

76

14.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : 13 จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : 363 คา LEL % : 3.3 UEL % : 19

LFL % : 3.3 UFL % : 19 NFPA Code : - สารนี้เปนสารไวไฟ - สามารถเกิดเปนไอระเหย รวมตัวกับอากาศกลายเปนสวนผสมที่ระเบิดไดที่อุณหภมสูิงกวา 13 องศาเซียลเซียส - สารดับเพลิง น้ําใชดับเพลิงไมไดผล ใหใชโฟม แอลกอฮอล - สารที่เกิดจากการเผาไหม และการสลายตัว เนื่องจากความรอน กาซคารบอนมอนนอกไซด - ไอระเหยหนกักวาอากาศเลก็นอย จะไหลแพรกระจาย ไปสูจุดติดไฟและเกิดไฟยอนกลับมาสูจุดรั่วไหลหรือภาชนะทีป่ดอยู 14.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะที่บรรจุ ที่ปดฝามิดชิด - เก็บหางจากแหลงจุดตดิไฟ - ชื่อทางการขนสง Etharol หรือ สารละลาย Ethanol - ประเภทอันตราย 3 ( ของเหลวไวไฟ ) - ประเภทของการบรรจุหีบหอ กลุม II หรือ III - ใหดูดซับสวนที่หกร่ัวไหลดวยวัสดุดดูซับของเหลว เชน เคมิซอบ - เก็บสวนที่หกร่ัวไหลในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิดเพื่อนําไปกําจัด - ใหสวมใสอุปกรณปองกนัอันตรายที่เหมาะสม - การพิจารณาการกําจัด : ปฏิบัติใหเปนไปตามกฎระเบยีบที่ทางราชการกําหนด 14.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) -

Page 77: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

77

14.9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : - ขอแนะนําในการเลือกประเภทหนากากปองกันระบบหายใจ - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 1000 ppm : ใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10 - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 2500 ppm : ใหใชอุปกรณชวยหายใจประเภททีใ่ชการสงอากาศสําหรับการหายใจ ซ่ึงมีอัตราการไหลของอากาศแบบตอเนื่อง โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 25 - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 4500 ppm : ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเตม็หนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 - ในกรณีที่เกดิเหตุฉุกเฉิน หรือการเขาไปสัมผัสกับสารที่ไมทราบชวงความเขมขน หรือการเขาไปใน

บริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เปน IDLH : ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดทีม่ีถังอากาศในตัว (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดันภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนําใหใชอุปกรณทีม่ีคา APF. = 10,000 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเตม็หนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดันภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใชการทํางานรวมกนัระหวางอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตวั และแบบความดันภายในเปนบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10,000

- ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉิน : ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา (gas mask) ซ่ึงมี Canister ที่สามารถปองกันไอระเหยของสารอินทรีย ฝุน ละอองไอ และฟูม ใหใชอุปกรณที่เหมาะสมสําหรับในกรณกีารหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉินพรอมอปุกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตวั (SCBA) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50

14.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไปใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มอีากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขดัใหออกซิเจนชวย นาํสงไปพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: - ถากลืนหรือกินเขาไป นําสงไปพบแพทยโดยทันที สัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนงั ใหฉีดลางผิวหนังทันทดีวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที พรอมถอดเสื้อผาและรองเทาที่ปนเปอนสารเคมีออกและนําสงแพทยอยางรวดเร็ สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตาใหฉดีลางตาทันทีดวยน้าํปริมาณมากอยางนอย 15 นาที อ่ืน ๆ:

Page 78: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

78

14.11 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม (Environmental Impacts) - จะไมกอใหเกิดผลตอระบบนิเวศน หากมีการใชและจดัการกับสารอยางเหมาะสม 11.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : 1400 OSHA NO. : - วิธีการเก็บตวัอยาง : กระดาษกรอง หลอดเก็บตวัอยาง อิมพิ้นเจอร วิธีการวิเคราะห : ช่ังน้ําหนกั สเปคโตโฟโตมิเตอร แกซโครมาโตกราฟฟ อะตอมมิกแอบซอปชั่น ขอมูลอ่ืน ๆ : - การเก็บตวัอยางใชหลอดชนิด Coconut shell Charcoal 100 ml 150 mg 2-Butanol/CS2 - อัตราไหลสํารหับเก็บตวัอยาง 0.01 ถึง 0.2 ลิตรตอนาที - ปริมาตรเก็บตัวอยางต่ําสุด 0.1 ลิตร สูงสุด 1 ลิตร 14.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 378 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา 132-133 " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา 1.211 " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา 325-48 " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 1515 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา - " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , 0044 " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา 324 " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา 30 " 10. Source of Ignition หนา 96 " 11. "อ่ืน ๆ" http://chemtrack.trf.or.th " 14.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide :14 , 16 DOT Guide : 122 , 131 , 127 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่ หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

Page 79: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

79

15. Hexyl hydride (Hexane) ชื่อเคมี IUPAC: Hexane ชื่อเคมีท่ัวไป Hexyl hydride ชื่อพองอื่นๆ Normal hexane;N-Hexane; Skellysolve B; Dipropyl; Gettysolve-b; Hex; N-Hexane ; สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 110-54-3 รหัส EC NO. - UN/ID No. 1208 รหัส RTECS MN 9275000 รหัส EUEINECS/ELINCS 203-777-6 ชื่อวงศ Aliphatic hydrocarbons ชื่อผูผลิต/นําเขา J.T. BAKER INC. แหลงขอมูลอ่ืนๆ 222 RED SCHOOL LANE PHILLIPSBURG NEW JERSEY USA. 08865 15.1 การใชประโยชน (Uses) - สารนี้ใชเปนสารที่ใชในการวิเคราะห และตรวจสอบในหองปฏิบัติการเคมี 15.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 28710 ( หน)ู LC50(มก./ม3) : 48000 / 4 ช่ัวโมง ( หน)ู IDLH(ppm) : 1100 ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : 50 PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : 50 TLV-STEL(ppm) : - TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะส้ัน - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที ่1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ :

Page 80: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

80

15.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ของเหลว สี : ไมมีสี กล่ิน : เฉพาะตวั นน.โมเลกุล : 86.18 จุดเดือด(0ซ.) : 69 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแขง็(0ซ.) : -95 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 0.66 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : 3 ความหนดื(mPa.sec) : - ความดนัไอ(มม.ปรอท) : 130 ที่ 20 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : <0.1 ที่ - 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : - ที่ - 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 3.52 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.28 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : 15.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเขาไป จะเกดิการระคายเคืองระบบทางเดินหายใจสวนบน , เกิดอาการคลื่นไส, อาเจียน, ปวดศีรษะ, งวงนอน, หมดสติ และอาจจะทําใหเกดิอาการสับสน สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงั จะกอใหเกิดการระคายเคือง ผิวหนังอกัเสบ หากดูดซมึเขาสูผิวหนังจะเปนอันตราย กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนหรือกินเขาไป จะกอใหเกดิการระคายเคืองตอระบบยอยอาหาร ,ปวดศีรษะ, คล่ืนไส, อาเจียน, เวียนศีรษะ สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตา จะกอใหเกดิการระคายเคืองตา การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ - ผลเร้ือรังจะกดระบบประสาทสวนกลาง - อวัยวะเปาหมาย : ตา ผิวหนัง ระบบหายใจ ระบบประสาทสวนกลาง และระบบประสาทสวนปลาย 15.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียร - สารที่เขากันไมได : สารออกซิไดซอยางแรง คลอรีน ฟูลออรีน แมกนเีซียมเปอรคลอเรท - สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความรอน เปลวไฟ แหลงของการจุดติดไฟ - สารอันตรายจากการสลายตัว : กาซคารบอนไดออกไซด, กาซคารบอนมอนนอกไซด - อันตรายจากการเกิดพอลิเมอรไรเซชั่น : จะไมเกดิขึ้น 15.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : -23 จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : 224 คา LEL % : 1.2 UEL % : 7.7 NFPA Code : LFL % : - UFL % : -

Page 81: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

81

- สารดับเพลิง : แอลกอฮอลโฟม, ผงเคมีดับเพลิง หรือคารบอนไดออกไซด - ใชน้ําดับเพลงจะไมไดผล ใชน้ําฉีดหลอเยน็ภาชนะบรรจุที่ถูกเพลิงไหม - กรณีเกิดเพลิงไหมใหสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายที่เหมาะสม และอุปกรณชวยหายใจชนิดมถัีงออกซิเจนในตวั (SCBA) - การสัมผัสกับสารออกซิไดซอยางรุนแรง จะทําใหเกดิเพลิงไหมและเกิดกาซพษิคารบอนมอนนอกไซด และคารบอนไดออกไซด 15.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะบรรจุที่มีฝาปด - เก็บในพื้นทีห่รือตูสําหรับเก็บสารไวไฟ - เก็บหางจากแหลงความรอน ประกายไฟ เปลวไฟ - มีการระบายอากาศอยางเพยีงพอ - มีการตอสารเชื่อม (BOND) และตอสายดนิของถังบรรจุเมื่อทําการถายเทของสาร - ช่ือสําหรับการขนสง : HEXANE - ประเภทอันตราย : 3 - รหัส UN : 1208 - ประเภทการบรรจุหีบหอ : กลุม III 15.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - ปดกั้นแหลงจุดติดไฟ สูบบุหร่ี หรือทําใหเกิดเปลวไฟในบริเวณนี ้- ใหหยดุการรัว่ไหลถาสามารถกระทําไดโดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย - ใชทรายหรือสารดูดซับอื่นที่ไมติดไฟ และเก็บใสในภาชนะบรรจุสําหรับนําไปกําจดั - ใชน้ําฉีดเปนละอองเพื่อลดไอของสาร - ใหฉีดลางบรเิวณทีห่กร่ัวไหลดวยน้ํา - ปองกันการปนเปอนสารไมใหไหลลงสูทอระบายน้ําหรือลําน้ํา - ใหสวมใสอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตวั (SCBA) และชดุปองกันแบบคลุมทั้งตัว - วิธีการกําจัด : กําจัดตามวิธีของหนวยงานราชการ และกฎระเบียบส่ิงแวดลอมประจําทองถ่ิน EPA 15.9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : - การเลือกประเภทถุงมือ : แนะนําใหใชถุงมือที่ทํามาจากวัสดุประเภท Nitrile (Touch N tuff 4 mil) Laminated film และควร หลีกเลี่ยง Polyvinyl Chloride , Natural Rubber, Neoprene/Natural Rubber Blend

Page 82: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

82

- ขอแนะนําในการเลือกประเภทหนากากปองกันระบบหายใจ - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 500 ppm : ใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10 - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 1000 ppm : ใหใชอุปกรณชวยหายใจประเภททีใ่ชการสงอากาศสําหรับการหายใจ ซ่ึงมีอัตราการไหลของอากาศแบบตอเนื่อง โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 25 หรือใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตวั (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 50 - ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเขาไปสัมผัสกับสารที่ไมทราบชวงความเขมขน หรือการเขาไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เปน IDLH : ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตวั (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดนัภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 10,000 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดันภายในเปนบวก pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใชการทํางานรวมกนัระหวางอุปกรณชวยหายใจชนดิมีถังอากาศในตวั และแบบความดันภายในเปนบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10,000 - ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉิน : ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา (gas mask) ซ่ึงมี Canister ที่สามารถปองกันไอระเหยของสารอินทรีย ฝุน ละอองไอ และฟูม ใหใชอุปกรณที่เหมาะสมสําหรับในกรณกีารหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉินพรอมอปุกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตวั (SCBA) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 15.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไป ใหนําสงไปพบแพทยทันที เคลื่อนยายผูปวยออกจากบริเวณที่สัมผัสถูกสารสูที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาไมหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจลําบากใหออกซิเจนชวย กินหรือกลืนเขาไป: - ถากลืนหรือกินเขาไป ถาผูปวยมสีติอยากระตุนใหผูปวยอาเจยีน ใหผูปวยดืม่น้ําหรือนมปริมาณมาก ๆ ทันที นําสงไปพบแพทย สัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนงั ใหฉีดลางผิวหนังทันที ดวยสบูและน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตา ใหฉดีลางตาดวยน้ําปรมิาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที อ่ืน ๆ: -

Page 83: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

83

15.11 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม (Environmental Impacts) -หามทิ้งลงสูระบบน้ํา, น้ําเสีย, หรือดิน 15.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : 1500, 3800 OSHA NO. : 7 วิธีการเก็บตวัอยาง : หลอดเก็บตัวอยาง วิธีการวิเคราะห : แกซโครมาโตกราฟฟ ขอมูลอ่ืน ๆ : - การเก็บตวัอยางใชหลอดเก็บตัวอยางชนิด Coconut shell charcoal 100 mg/50 mg - การวิเคราะหใช GC โดยมี FID 15.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 464 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา 162-163 " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา 1.235 " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา 325-58 " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 1800 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา 36 " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , 0279 " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา 411 " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา 34 " 10. Source of Ignition หนา 102 " 11. "อ่ืน ๆ" - " 15.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : 14 DOT Guide : 128 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

Page 84: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

84

16. Hydrochloride ชื่อเคมี IUPAC: Hydrochloric acid ชื่อเคมีท่ัวไป Hydrochloride ชื่อพองอื่นๆ Muriatic acid; Chlorohydric acid; Spirits of salts; Hydrogen chloride (acid); Hydrogen chloride; Hydrogen Chloride Gas only สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 7647-01-0 รหัส EC NO. 017-002-00-2 UN/ID No. 1789 รหัส RTECS MW 4025000 รหัส EUEINECS/ELINCS 231-595-7 ชื่อวงศ - ชื่อผูผลิต/นําเขา Mallinckrodt Baker Inc. แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 16.1 การใชประโยชน (Uses) - ใชเปนสารเคมีในหองปฏิบตัิการ 16.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 900 ( กระตาย) LC50(มก./ม3) : 4655 / - ช่ัวโมง ( หน)ู IDLH(ppm) : 50 ADI(ppm) : MAC(ppm) : PEL-TWA(ppm) : 5 PEL-STEL(ppm) : PEL-C(ppm) : 5 TLV-TWA(ppm) : 5 TLV-STEL(ppm) : TLV-C(ppm) : 5 พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ช่ัวโมง ระยะส้ัน คาสงูสุด 5 สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที ่1 ชนิดที่ 2 ชนดิที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ : กรมโรงงานอุตสาหกรรม

Page 85: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

85

16.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ของเหลว , กาซ สี : ไมมีสี กล่ิน : ฉุน นน.โมเลกุล : 36.46 จุดเดือด(0ซ.) : 53 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -74 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 1.18 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : 1.3 ความหนดื(mPa.sec) : 0.0148 ความดันไอ(มม.ปรอท) : 190 ที่ 25 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : ละลายได ที่ - 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : - ที่ - 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 1.49 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.67 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : - สารนี้สามารถละลายไดในเอทานอล 16.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเอาไอระเหยของสารนี้เขาไปจะกอใหเกดิอาการไอ หายใจตดิขัด เกิดการอักเสบของจมูก ลําคอ และทางเดินหายใจสวนบน และในกรณีที่รุนแรง จะกอใหเกิดอาการน้ําทวมปอด ระบบหายใจลมเหลว และอาจเสียชีวิตได สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงัจะกอใหเกิดการระคายเคืองเกิดผ่ืนแดง ปวดและเกดิแผลไหม การสัมผัสกับสารที่ความเขมขนสูงจะกอใหเกดิแผลพุพองและผิวหนังเปลี่ยน กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนหรือกินเขาไปจะกอใหเกดิการระคายเคือง จะกอใหเกดิอาการปวด และเกดิแผลไหมในปาก คอ หลอดอาหาร และทางเดินอาหาร อาจกอใหเกดิอาการ คล่ืนไส และทองรวง และอาจทําใหเสียชีวิตได สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตาจะกอใหเกดิการระคายเคืองและอาจกอใหเกดิการทําลายได อาจทําใหเกดิแผลไหมอยางรุนแรง และกอใหเกดิทําลายตาอยางถาวรได การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ - การสัมผัสกับไอระเหยของสารเปนระยะนานจะกอใหเกดิการกดักรอนตอกัน และทําใหเกดิฤทธิ์กัดกรอน เชนเดียวกับฤทธิ์ของการสัมผัสกรด - ในบุคคลที่มอีาการผิดปกตทิางผิวหนัง หรือเปนโรคทางตา จะมีความไวตอการเกิดผลกระทบสารนี้ - ไมเปนสารกอมะเร็งตาม NTP จัดเปนสารกอมะเร็งประเภท 3 ตามบัญชีรายช่ือของ IARC 16.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัวทางเคมี : สารนี้มีความเสถียรภายใตสภาวะปกติของการใชและการเก็บ ภาชนะบรรจุของสารอาจเกิดการแตกออกและระเบิดไดเมื่อสัมผัสกับความรอน - สารที่เขากันไมได : โลหะ โลหะออกไซด ไฮดรอกไซด เอมีน คารบอเนต สารที่เปนเบส และสารอื่น ๆ เชน ไซยาไนด ซัลไฟด และฟอมัลดีไฮด - สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความรอน และการสัมผัสโดยตรงกับแสง

Page 86: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

86

- สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : เมื่อสารนี้สัมผัสกับความรอน จะเกิดการสลายตัวและปลอยฟูม/ควันของไฮโดรเจนคลอไรดที่เปนพิษและจะเกดิปฏิกิริยากับน้ําหรือไอน้ํา ทําใหเกิดความรอน และเกิดฟูมหรือควันของสารที่เปนพิษและมีฤทธิ์การสลายตัวของสารจากปฏิกิริยาออกซิเดชั่น เนื่องจากความรอนจะทําใหเกดิฟูม/ควนัของกาซไฮโดรเจนซึ่งสามารถระเบิดได - อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร : จะไมเกิดขึ้น 16.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : - จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : - คา LEL % : - UEL % : -

LFL % : - UFL % : - NFPA Code : - การสัมผัสกับความรอนสูงหรือการสัมผัสกับโลหะจะกอใหเกิดการปลอยกาซไฮโดรเจนซึ่งไวไฟออกมา - สารดับเพลิงในกรณีเกดิเพลิงไหมใหใช น้ําฉีดเปนฝอย และทําใหสารเปนกลางโดยใชโซดาไฟหรือปูนขาว - กรณีเกิดเพลิงไหมใหสวมใสอุปกรณชวยหายใจชนิดมถัีงอากาศในตวั (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา - ใชน้ําฉีดหลอเย็นเพื่อหลอเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสเพลิงไหม และใหอยูหางจากภาชนะบรรจุสาร 16.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมดิชิด และปองกันการเสียหายทางกายภาพ - เก็บในบริเวณที่เยน็และแหง - เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพยีงพอ - เก็บในบริเวณที่มีพื้นปองกันกรด และมรีะบบระบายออกที่ด ี- เก็บหางจาก การสัมผัสโดยตรงกับแสง ความรอน น้ํา และสารที่เขากันไมได - อยาทําการฉดีลางภายนอกภาชนะบรรจุหรือนําเอาภาชนะไปใชเพื่อวัตถุประสงคอ่ืน - เมื่อตองการเจือจางใหทําการคอย ๆ เติมกรดปริมาณนอย ๆ ลงในน้ํา อยาใชน้ํารอนหรืออยาทําการเติมน้ําลงในกรดเพราะจะทําใหไมสามารถควบคุมจุดเดือดของสารได - เมื่อทําการเปดภาชนะบรรจสุารที่ทําจากโลหะใหใชอุปกรณที่ปองกนัการเกิดประกายไฟ เพราะในการเปดอาจเกิดกาซไฮโดรเจนขึ้นได - ภาชนะบรรจขุองสารที่เปนถังเปลา แตมีกากสารเคมีตกคางอยู เชน ไอระเหย ของเหลว อาจเปนอนัตรายได

Page 87: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

87

- ใหสังเกตคําเตือนและขอควรระวังทั้งหมดที่ใหไวสําหรับสารนี้ - ชื่อทางการขนสง : Hydrochloric acid - รหัส UN : 1789 - ประเภทอันตราย : 8 - ประเภทการบรรจุหีบหอ :กลุม III 16.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - วิธีการปฏิบตัิในกรณีเกดิการหกรั่วไหล ใหจดัใหมกีารระบายอากาศในบริเวณที่มีการหกรั่วไหล - ใหสวมใสอุปกรณปองกนัอันตรายที่เหมาะสม ใหกั้นแยกเปนพื้นที่อันตราย และกนับุคคลที่ไมมีหนาที่เกี่ยวของและไมสวมใสอุปกรณปองกนัออกจากบริเวณหกรั่วไหล - ใหเก็บของเหลวที่หกร่ัวไหลและนํากลับมาใชใหมถาสามารถทําได - ทําใหสารเปนกลางโดยใชสารที่เปนเบส เชน โซดาไฟ ปูนขาว และทาํการดูดซับสวนที่หกร่ัวไหลดวยวัสดุที่เฉื่อย เชน แรหินทราย (Vermiculite) ทรายแหง ดิน และเก็บใสในภาชนะบรรจุสําหรับกากของเสียเคมี 16.9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : - ขอแนะนําในการเลือกประเภทหนากากปองกันระบบหายใจ - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 50 ppm :ใหเลือกใชอุปกรณปองกันระบบหายใจ ซ่ึงใชสารเคมีประเภทที่เหมาะสมเปนตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10 หรือใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา (gas mask) ซ่ึงมี canaister ประเภทที่เหมาะสม โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 250 หรือใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) ซ่ึงใชสารเคมีประเภทที่เหมาะสมเปนตัวดดูซับในการกรอง (Cartridge) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 50 - ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเขาไปสัมผัสกับสารที่ไมทราบชวงความเขมขน หรือการเขาไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เปน IDLH : ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตวั (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดนัภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 10,000 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดันภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใชการทํางานรวมกันระหวางอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเปนบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10,000 - ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉิน : ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา และอุปกรณกรองอนุภาคประสิทธิภาพ (HEPA filter) หรือ ใหใช

Page 88: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

88

อุปกรณที่เหมาะสมสําหรับในกรณกีารหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉิน พรอมอปุกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตวั (SCBA) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มี คา APF. = 50 16.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไปใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มอีากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขดัใหออกซิเจนชวย นาํสงไปพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: - ถากลืนหรือกินเขาไป อยากระตุนใหเกิดการอาเจียนใหผูปวยดื่มน้ํา หรือนมปริมาณมาก ๆ ถาสามารถหาได หามไมใหส่ิงใดเขาปากผูปวยทีห่มดสติ นําสงไปพบแพทยทนัที สัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนงั ใหฉีดลางผิวหนังทันทดีวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที พรอมถอดเสื้อผาและรองเทาที่ปนเปอนสารเคมีออก ซักทําความสะอาดเสื้อผา และรองเทากอนนํากลับมาใชใหม นําสงไปพบแพทย สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตาใหฉีดลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที กระพริบตาถ่ี ๆ นําสงไปพบแพทยทนัที อ่ืน ๆ: 16.11 ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม (Environmental Impacts) - เมื่อร่ัวไหลลงสูดินคาดวาสารนี้จะไมเกิดการสลายตัวทางชีวภาพ และสารนี้อาจถูดดูดซึมเขาสูแหลงน้ําใตดินได - สารนี้จะกอใหเกิดอนัตรายตอส่ิงมีชีวิตที่อาศัยในน้ํา จะเกิดอันตรายจากการเปลี่ยนแปลงคาพีเอช - หามทิ้งลงสูระบบน้ํา น้ําเสยี หรือดิน 16.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : 7903 OSHA NO. : ID 174 SG วิธีการเก็บตวัอยาง : หลอดเก็บตวัอยาง วิธีการวิเคราะห : ช่ังน้ําหนัก สเปคโตโฟโตมิเตอร แกซโครมาโตกราฟฟ อะตอมมิกแอบซอปชั่น ขอมูลอ่ืน ๆ : - การเก็บตวัอยางใช Washed silica gel, 400 mg/1200 mg with glass fiber filtger plug - อัตราไหลสําหรับเก็บตวัอยาง 0.2 ถึง 0.5 ลิตรตอนาที - ปริมาตรเก็บตัวอยางต่ําสุด 3 ลิตร , สูงสุด 100 ลิตร

Page 89: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

89

16.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 477 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา 166 " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา - " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 1835 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา - " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , 0163 " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา 415 " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา - " 10. Source of Ignition หนา - " 11. "อ่ืน ๆ" http://chemtrack.trf.or.th " 16.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : 42 DOT Guide : 157 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

Page 90: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

90

17.พบชื่อเคมี: - CAS No. 7553-56-2 UN/ID NO. 1759 ชื่อเคมี IUPAC: Iodine ชื่อเคมีท่ัวไป - ชื่อพองอื่นๆ Iodine sublimed สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 7553-56-2 รหัส EC NO. 053-001-00-3 UN/ID No. 1759 รหัส RTECS NN 1575000 รหัส EUEINECS/ELINCS 231-442-4 ชื่อวงศ Halogen ชื่อผูผลิต/นําเขา EM SCIENCE แหลงขอมูลอ่ืนๆ A Division of EM Industries P.O Box 70 480 Democrat Road Gibbsto WN N.J 08027 17.1 การใชประโยชน (Uses) - เปนสารที่มีคุณคาทางอาหาร ทําในไขปลอดเชื้อโรค เปนสารฆาเชื้อโรค 17.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 1,400 ( หน)ู LC50(มก./ม3) : - / - ชั่วโมง ( -) IDLH(ppm) : 2 ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : 0.1 PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : 0.1 TLV-STEL(ppm) : 0.1 TLV-C(ppm) : 0.1 พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที ่3 ชนดิที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ :

Page 91: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

91

17.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ผง สี : มวง น้ําตาลแดงหรอืเทาดํา กล่ิน : ฉุน นน.โมเลกุล : 253.81 จุดเดือด(0ซ.) : 184.4 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 113.5 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 4.98 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : ~9 ความหนดื(mPa.sec) : - ความดนัไอ(มม.ปรอท) : 0.31 ที่ 20 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : ละลายไดเล็กนอย ที ่ - 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : - ที่ - 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 10.38 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.09 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : - เปอรเซ็นตการระเหยโดยริมาตร (%) : 100 % 17.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การสัมผัสทางหายใจ มีความเปนพษิถามีการสัมผัสทางการหายใจเขาไป ซ่ึงทาํใหเกดิการระคายเคืองจมูก ลําคอ และอาจเกิดแผลไหมได มีอาการปวดศรีษะ แนนหนาอก คล่ืนไส มีอาการกระหายน้ํามาก และระบบไหลเวียนหยุดทํางานได สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงั จะทําใหเกดิการระคายเคืองที่ผิวหนัง และเกิดแผลไหมบริเวณผิวสวนที่สัมผัสกับสาร กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนหรือกินเขาไป จะทําใหเกดิการระคายเคืองของลําคอ มีอาการปวดทอง ทองรวง การรับสารโดยการกินหรือกลืนเขาไปในปริมาณมากอาจมีอันตรายถึงแกชีวิตได สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตา : ทําใหเกิดการระคายเคืองตอตา และอาจเกิดแผลไหมได มีอาการน้ําตาไหล การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ - สารนี้มีผลทําลายอวัยวะรับความรูสึก ทางเดินอาหาร ตอมไรทอตาง ๆ ตอมไทรอยด - สารนี้เปนอนัตรายตอทารกในครรภ 17.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัวทางเคมี : สารนี้มีความเสถียร - สารที่เขากันไมได : ผงอลูมิเนียม แมกนเีซียม สังกะสี และแอมโมเนยี - สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความรอนสูง และแสงสวาง - สารอันตรายจากการสลายตวัของสาร : ฟูม/กาซ ของสารประกอบไอโอดีน - อันตรายจากการเกิดพอลิเมอร : จะไมเกิดขึ้น

Page 92: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

92

17.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : - จุดลุกตดิไฟไดเอง(0ซ.) : - คา LEL % : - UEL % : - LFL % : - UFL % : - NFPA Code :

- สารนี้ไมติดไฟ - สารดับเพลิง : ใหใชวิธีที่เหมาะสมกับประเภทของเพลิงที่อยูโดยรอบ - ขั้นตอนการดับเพลิง : ใหสวมใสอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศ (SCBA) และชุดปองกันสารเคมี - สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : ฟูม/กาซ ของสารประกอบไอโอดีน 17.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะที่ปดมิดชดิ และเก็บหางจากแหลงความรอน - เก็บในที่เยน็ แหง และมีการระบายอากาศในพื้นทีเ่ก็บเปนอยางด ี- เก็บหางจากโลหะประเภทอลูมินั่ม ไททาเนียม ฟอสฟอรัส - เก็บหางจากตัวทําละลายอนิทรีย สินคาประเภทยาง พลาสติก - ปองกันการสัมผัสแดดโดตรงตรง - อยาหายใจเอาฝุน ไอระเหยเขาไป อยาใหสัมผัสถูกตา ผิวหนัง และเสือ้ผา - ลางทําความสะอาดใหทัว่หลังจากการเคลื่อนยาย - ชื่อทางการขนสง : ของแขง็มีฤทธิ์กัดกรอน ( Corosive Solid) ไอโอดีน - ประเภทอันตราย : 8 - รหัส UN : 1759 - กลุมการบรรจุ : III 17.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - วิธีการปฏิบตัิเมื่อเกิดอุบัติเหตุร่ัวไหล ใหอพยพคนทีไ่มเกี่ยวของออกจากพื้นที ่- ใหสวมใสอุปกรณปองกนัอันตรายใหเหมาะสม - กําจัดแหลงจดุติดไฟออกจนกระทั่งไดพจิารณาแลววาจะไมมกีารระเบิดหรืออันตรายจากไฟขึ้นได - บรรจุสวนทีห่กร่ัวไหลออกมาและแยกออกจากแหลงสารเคมีนั้น ถาสามารถทําไดโดยปราศจากความเสี่ยง - เก็บและบรรจุในภาชนะเพือ่นําไปกําจดัทีเ่หมาะสม ตามที่ในกฎการกําจัดสารเคมีและปฏิบัติตามกฎหมาย และกฎระเบียบทางราชการ ขอมูลกฎระเบียบอ่ืน ๆ

Page 93: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

93

- การพิจารณาการกําจัด : กําจัดโดยใชเทคโนโลยีที่จําเพาะเจาะจง การกําจัดใหปฏิบตัิตามกฎระเบยีบของกฎหมายการกาํจัดสารเคมี - รหัสกากของเสียตาม EPA : D002 17.9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล(PPDPPE) : - ขอแนะนําในการเลือกประเภทหนากากปองกันระบบหายใจ - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 1 ppm : ใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 10 - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 2 ppm : ใหใชอุปกรณชวยหายใจประเภทที่ใชการสงอากาศสําหรับการหายใจ ซ่ึงมีอัตราการไหลของอากาศแบบตอเนื่อง โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 25 ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนดิที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา โดยแนะนาํใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 - ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเขาไปสัมผัสกับสารที่ไมทราบชวงความเขมขน หรือการเขาไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เปน IDLH : ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตวั (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดนัภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 10,000 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดันภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใชการทํางานรวมกันระหวางอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเปนบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10,000 - ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉิน : ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมี Canister ที่สามารถปองกันกาซของสารกรด และอุปกรณกรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter หรือใหใชอุปกรณที่เหมาะสมสําหรับในกรณีการหลบหนอีอกจากสถานการณฉุกเฉินพรอมอปุกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตวั (SCBA) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 17.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยดุหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจตดิขัดใหออกซิเจนชวย และนําสงไปพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: - ถากลืนหรือกินเขาไป จัดใหเขารบัการดูแลโดยแพทยทนัท ีสัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนงั : ใหฉีดลางอยางทั่วถึงทันทดีวยน้ําปริมาณมาก ๆ สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตา : ถาสัมผัสถูกตา : ใหฉดีลางทันทีโดยไหลผานอยางนอย 15 นาที

Page 94: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

94

17.11 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม (Environmental Impacts) - สารนี้เปนพษิตอส่ิงมีชีวิตในน้ํา - หามทิ้งลงสูระบบน้ํา น้ําเสยี หรือดิน 17.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : 6005 OSHA NO. : ID 212 วิธีการเก็บตวัอยาง : หลอดเก็บตวัอยาง วิธีการวิเคราะห : ช่ังน้ําหนกั สเปคโตโฟโตมิเตอร แกซโครมาโตกราฟฟ อะตอมมิกแอบซอปชั่น ขอมูลอ่ืน ๆ : - การเก็บตวัอยางใช : alkali-treated charcoal 100mg/ 50 mg - อัตราการไหลสําหรับเก็บตัวอยาง : 0.5-1 ลิตรตอนาที - ปริมาตรเก็บตัวอยางต่ําสุด-สูงสุด : ต่ําสุด 15 ลิตร, สูงสุด 225 ลิตร 17.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 688 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา 172 " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา - " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 1926 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา 37 " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , 0167 " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา - " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา 36 " 10. Source of Ignition หนา - " 17.14 ขั้นตอนการปฎิบติังานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : 39 DOT Guide : 154 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

Page 95: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

95

18. Methyl alcohol ชื่อเคมี IUPAC: Methanol ชื่อเคมีท่ัวไป Methyl alcohol ชื่อพองอื่นๆ Wood alcohol; Carbinol; Methylol; Wood; Columbian spirits; Colonial spirit; Columbian spirit; Methyl hydroxide; Monohydroxymethane; Pyroxylic spirit; Wood naphtha; Wood spirit; Methyl Alcohol (Methanol); สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 67-56-1 รหัส EC NO. 603-001-01-X UN/ID No. 1230 รหัส RTECS - รหัส EUEINECS/ELINCS 200-659-6 ชื่อวงศ - ชื่อผูผลิต/นําเขา -ENDURA MANUFACTURING CO.LTD. แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 18.1 การใชประโยชน (Uses) - สารนี้ใชเปนตัวทําละลาย (SOLVENT) 18.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 5600 ( หน)ู LC50(มก./ม3) : 83840 / 4 ช่ัวโมง ( หน)ู IDLH(ppm) : 6000 ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : 200 PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : 200 TLV-STEL(ppm) : 250 TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง 200 ระยะสัน้ - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย :

Page 96: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

96

พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที ่4 หนวยงานที่รับผิดชอบ : กรมโรงงานอุตสาหกรรม 18.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ของเหลว สี : ใสไมมีสี กล่ิน : เฉพาะตวั นน.โมเลกุล : 32 จุดเดือด(0ซ.) : 64.6 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -97.8 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 0.79 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : 1.1 ความหนดื(mPa.sec) : - ความดนัไอ(มม.ปรอท) : 96 ที่ 20 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : ละลายน้ําได ที่ 20 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : - ที่ - 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 1.31 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.76 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : 18.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ การหายใจเขาไปจะกอใหเกิดการระคายเคือง ตา จมูก ลําคอ และทางเดินหายใจ กดระบบประสาทสวนกลาง ทําใหปวดศีรษะ เวียนศีรษะ งวงนอน ถาสัมผัสปริมาณมากจะทําใหอาการโคมาและตายได เนื่องจากระบบหายใจลมเหลว สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงั ไอระเหย ของเหลวของสารนี้ จะทําใหเกิดการสูญเสียช้ันไขมันของผิวหนัง ทาํใหผิวหนังแหง แตก และเกิดผ่ืนแดง กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนหรือกินเขาไปจะกอใหเกดิการระคายเคือง เยื่อเมือกของปากและลําคอ ทําใหเกิดอาการไอ ทองรวง ปวดทอง ปวดศีรษะ และงวงซึม สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตาจะกอใหเกดิการระคายเคือง และทําใหเยื่อเมือกตาอักเสบ เกิดตาแดง และสายตาพรามัว การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ - ถาสัมผัสสารนี้บอยๆ และเปนเวลานาน จะทําใหผิวหนังอกัเสบ และสารนี้สามารถดูดซึมผานผิวหนงัมีผลทําใหระบบประสาทสวนกลางถูกกดทําใหปวดศีรษะ งวงนอน เวียนศีรษะ คล่ืนไส อาเจียน ปวดทอง และการสัมผัสบริมาณมาก อาจทําใหอาการโคมาและตายได มีผลกระทบตอการมองเห็น โดยปกติอาการจะรุนแรงขึ้นหลังจาการสัมผัส 12-18 ชั่วโมง 18.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัวทางเคมี : สารนี้มีความเสถียร - สารที่เขากันไมได : สารออกซิไดซอยางแรง โลหะอัลคาไลท กรดซัลฟูริกและกรดไนตริกเขมขน แอลดีไฮด และแอซัลคลอไรด - สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความรอน ประกายไฟ และแหลงจุดติดไฟอืน่ๆ

Page 97: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

97

18.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : 12.2 จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : 464 คา LEL % : 5.5 UEL % : 36.5 LFL % : 5.5 UFL % : 36.5 NFPA Code :

- สารดับเพลิงในกรณีเกดิเพลิงไหมใหใช : ผงเคมีแหง คารบอนไดออกไซด โฟม แอลกอฮอล หรือ น้ําฉีดเปนฝอย - ใชน้ําฉีดเปนฝอยเพื่อหลอเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสกับเปลวไฟ และลดการฟุงกระจายของไอระเหย - อยาใชน้ําฉีดเปนลําเพราะจะทําใหเปลวไฟแพรกระจาย - กรณีเกิดเพลิงไหมใหสวมใสอุปกรณชวยหายใจชนิดมถัีงอากาศในตวั (SCBA) - ไอระเหยของสารสามารถแพรกระจายออกไปถึงแหลงจุดติดไฟและอาจเกิดการติดไฟยอนกลับมา - สารอันตรายที่เกิดจากการเผาไหม : คารบอนมอนนอกไซด คารบอนไดออกไซด 18.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมดิชิด , เก็บในบริเวณที่เย็นและแหง - เก็บหางจากสารออกซิไดซ และแหลงจดุติดไฟ - ภาชนะบรรจขุองสารที่เปนถังเปลา แตมีกากสารเคมีตกคางอยู เชน ไอระเหย ของเหลว อาจเปนอนัตรายได - ช่ือทางการขนสง : Methanol - ประเภทอันตราย : 3.2 (6.2) - รหัส : UN 1230 - ประเภทการบรรจุหีบหอ : กลุม II 18.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - ระบายอากาศในบริเวณทีส่ารหกรั่วไหล - ใหเคลื่อนยายแหลงทั้งหมดของการจุดตดิไฟออกไป - ดูดซับสารที่หกร่ัวไหลดวยปูนขาวแหง ทราย หรือโซดาแอซ - เก็บสวนที่หกร่ัวไหลในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิดเพื่อนําไปกําจัด - ใหสวมใสอุปกรณปองกนัอันตรายที่เหมาะสม - การกําจดั ใหพิจารณาการกาํจัดตามกฎระเบียบ ขอบังคับของทางราชการ

Page 98: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

98

18.9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : - ขอแนะนําในการเลือกประเภทหนากากปองกันระบบหายใจ - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 2000 ppm : ใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10 - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 500 ppm : ใหใชอุปกรณชวยหายใจประเภททีใ่ชการสงอากาศสําหรับการหายใจ ซ่ึงมีอัตราการไหลของอากาศแบบตอเนื่อง โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 25 - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 6000 ppm : ใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดนัภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) ซ่ึงมีการทํางานของอัตราการไหลของอากาศแบบตอเนื่อง โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตวั (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนาโดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 50 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 - ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเขาไปสัมผัสกับสารที่ไมทราบชวงความเขมขน หรือการเขาไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เปน IDLH : ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตวั (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดนัภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 10,000 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดันภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใชการทํางานรวมกันระหวางอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเปนบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10,000 - ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉิน : ใหใชอุปกรณที่เหมาะสมสําหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉนิพรอมอุปกรณชวยหายใจชนดิมีถังอากาศในตัว (SCBA) 18.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ การปฐมพยาบาล ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขัดใหออกซิเจนชวย นําสงไปพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: ถากลืนหรือกินเขาไป ถาผูปวยมีสติและรูสึกตัวอยูใหผูปวยดืม่น้ํา 1/2-1 แกว เพื่อเจือจางสาร ถาผูปวยอาเจียนใหกมศีรษะใหต่ําลงเพื่อหลีกเลีย่งการหายใจเอาอาเจียนเขาไป ใหผูปวยบวนลางปากดวยน้ํา นําสงไปพบแพทย สัมผัสถูกผิวหนัง: ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังทันทีดวยน้าํปริมาณมากอยางนอย 15 นาที พรอมถอดเสื้อผาและรองเทาที่ปนเปอนสารเคมีออก ซักทําความสะอาดเสื้อผาและรองเทากอนนํากลับมาใชไหม นําสงไปพบแพทย

Page 99: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

99

สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตา ใหฉดีลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที โดยเปดเปลือกตาใหกวางขณะทําการลาง นําสงไปพบแพทย อ่ืน ๆ: - เอทธานอลจะชวยเผาผลาญเมทธานอล ควรใหกิน 50% เอทธานอล 1/2-1 ML ตอน้ําหนักตัว 1 kg ทุกๆ 2-4 ชั่วโมง เปนเวลา 4 วัน 18.11 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม (Environmental Impacts) - สารนี้สามารถเกิดการยอยสลายทางชีวภาพไดงาย - สารนี้คาดวาจะไมกอใหเกดิการสะสมทางชีวภาพ - เปนพษิตอส่ิงมีชีวิตในน้ํา เปนพิษตอปลา และแพลงคตอน - เมื่อร่ัวไหลลงสูแหลงน้ํา จะกอใหเกดิสารผสมที่มีพิษ ไมสามารถเจือจางได และอาจเกิดการผสมกับอากาศเหนือผิวน้ํา ใหไอของสารที่ระเบิดได ไมสงผลอันตรายตอระบบบําบัดน้ําทิ้ง หากมกีารใชและจดัการสารเคมีอยางเหมาะสม 18.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : 2000, 3800 OSHA NO. : - วิธีการเก็บตวัอยาง : หลอดเก็บตัวอยาง วิธีการวิเคราะห : แกซโครมาโตกราฟฟ ขอมูลอ่ืน ๆ : - การเก็บตวัอยางใช Silica gel - อัตราการไหลสําหรับเก็บตัวอยาง 0.02 ถึง 2 ลิตรตอนาที - ปริมาตรเก็บตัวอยางต่ําสุด-สูงสุด ต่ําสุด 1 ลิตร สูงสุด 5 ลิตร

Page 100: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

100

18.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 568 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา 200-201 " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา .1.255 " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา 325-66 " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 2174 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา 39 " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , 0057 " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา 525 " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา 39 " 10. Source of Ignition หนา 108 " 11. "อ่ืน ๆ" http://chemtrack.trf.or.th " 18.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : 16 DOT Guide : - - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

Page 101: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

101

19. Nitric acid ammonium salt ชื่อเคมี IUPAC: Ammonium nitrate ชื่อเคมีท่ัวไป Nitric acid ammonium salt ชื่อพองอื่นๆ Ammonium (i) nitrate ; Nitric acid ; Ammonium salt; Varioform สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 6484-52-2 รหัส EC NO. - UN/ID No. 1942, 0222, 2426 รหัส RTECS BR 9050000 รหัส EUEINECS/ELINCS 229-347-8 ชื่อวงศ Ammonium salt / nitrate ชื่อผูผลิต/นําเขา - แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 19.1 การใชประโยชน (Uses) - ใชทําปุย 19.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 4820 ( -) LC50(มก./ม3) : - / - ชั่วโมง ( -) IDLH(ppm) : - ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : - PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : - TLV-STEL(ppm) : - TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ :

Page 102: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

102

19.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ผลึก สี : ขาว กล่ิน : ไมมีกล่ิน นน.โมเลกุล : 80.04 จุดเดือด(0ซ.) : 210 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 170 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 1.73 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : 2.8 ความหนดื(mPa.sec) : - ความดนัไอ(มม.ปรอท) : - ที่ - 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : 190 ที่ 20 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : 5.43 ที่ 20 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 3.268 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.306 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : - ละลายในเอทานอล อะซิโตน เมทามอล แอมโมเนีย , อุณหภูมิสลายตวั : > 170 0ซ 19.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การสูดดมเขาไปจะกอใหเกดิการระคายเคืองตอเยือ่จมูก , เจ็บคอ , ไอ , หายใจถี่ๆ สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงั จะทําใหเกดิการระคายเคืองเปนผ่ืนแดง , ปอดบวม และสารนี้สามารถซึมผานผิวหนัง จะเปนอันตรายตอสุขภาพ กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนกินเขาไปจะทําใหคล่ืนไส อาเจียน กลามเนื้อทองหดเกร็ง ผิวหนังซีดเปนสีน้ําเงิน ออนเพลีย สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตา จะทําใหเกดิการระคายเคืองตอตา ตาแดง เจ็บตา การกอมะเร็ง ความผิดปกต,ิอ่ืน ๆ - สารนี้ทําลายเลือด ระบบประสาทสวนกลาง ทางเดินอาหาร 19.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัว สารนี่มีความเสถียร - อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร จะไมเกดิขึ้น - การกัดกรอนตอโลหะ จะทาํปฏิกิริยาอยางรุนแรงกับผงโลหะ เสี่ยงตอการเกิดไฟไหม และระเบดิได - สารที่เขากันไมได เมื่อปนเปอนน้ํามัน ถานชาโคล (Chacoal) หรือสารอินทรียอ่ืน ๆ จะทําใหเกดิการระเบิดขึ้น เหล็กกลา ผงโลหะ โลหะอัคลาไลคารไบด ไนไตรท สารประกอบแอมโมเนีย สารออกซิไดซ สารอินทรีย ผงอลูมิเนียม สารอินทรีจําพวก ไนไตรท ซัลไฟด เกลือของออกไซดโอโลจีนิค คลอเลท 19.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : - จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : - คา LEL % : - UEL % : - LFL % : - UFL % : - NFPA Code :

Page 103: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

103

- สารดับเพลิงใหใชน้ําในการดับเพลิง หามใชคารบอนไดออกไซด โฟม หรือผงเคมีแหง - การเผาไหม และการเผาไหมและการสลายตัวเนื่องจากความรอน ทําใหเกดิออกไซดของไนโตรเจนและแอมโมเนีย - สารนี้ทําปฏิกิริยารุนแรงกบัผงโลหะ มีความเสียงตอการเกิดไฟไหมและการระเบิด - อาจจะลุกติดไฟขึ้นไดกับวสัดุติดไฟอื่นๆ - สวนผสมของแอมโมเนียไนเตรทตับน้ํามนัอาจจะกอใหเกิดการระเบิดได 19.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมดิชิด - เก็บในที่แหง และเยน็ - เก็บหางจากสารติดไฟได แหลงประกายไฟและความรอน - ชื่อทางการขนสง : แอมโมเนียไนเตรท (Ammonium nitrate) - ใชสารในตูดดูควันสําหรับสารเคมีเทานั้น - ลางทําความสะอาดหลังการใชงาน - ประเภทอันตราย : 5.1 - ประเภทการบรรจุหีบหอ : กลุม II 19.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - เก็บกวาดในลักษณะแหง เพื่อสงไปกําจดัตอไป - ลางทําความสะอาดบริเวณที่หกร่ัวไหล/ปนเปอน - ระมัดระวังการหายใจเอาสารนี้เขาไป 19.9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : 19.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยไมหายใจ ใหชวยผายปอด ถาผูปวยหายใจลําบากใหออกซิเจน นําสงไปพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: - ถากลืนกินเขาไป ใหดื่มนมหรือน้าํปริมาณมากๆ กระตุนทําใหเกิดการอาเจยีน ใชยาระบายประเภทโซเดียมซัลเฟต(1 ชอนโตะ ในน้ํา 0.2 ลิตร ) นําสงไปพบแพทย สัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนงั ใหฉีดลางผิวหนังดวยน้ําและสบูปริมาณมากๆ อยางนอย 15 นาที พรอมกับถอดเสื้อผาและรองเทาที่เปรอะเปอนสารเคมีออก ทําความสะอาดเสื้อผาและรองเทากอนนํากลับมาใชใหมอีกครั้ง

Page 104: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

104

สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตา ใหฉดีลางตาโดยทันทดีวยน้ําปริมาณมากๆ อยางนอย 15 นาที กระพริบตาขึ้นลง นําสงไปพบแพทย อ่ืน ๆ: - 19.11 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม (Environmental Impacts) ผลกระทบทางชีวภาพ : จะเปนพิษตอส่ิงมีชวีิตที่อาศัยน้ําใน้ํา เปนอันตรายตอแหลงน้ําดื่ม และอาจมีผลกระทบในการปฏิสนธิ 19.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : - OSHA NO. : - วิธีการเก็บตวัอยาง : กระดาษกรอง หลอดเก็บตวัอยาง อิมพิ้นเจอร วิธีการวิเคราะห : ชั่งน้ําหนกั สเปคโตโฟโตมิเตอร แกซโครมาโตกราฟฟ อะตอมมิกแอบซอปชั่น ขอมูลอ่ืน ๆ : 19.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 48 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา - " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา - " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 212 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา - " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , - " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา - " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา - " 10. Source of Ignition หนา - " 11. "อ่ืน ๆ" http://chemtrack.trf.or.th "

Page 105: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

105

19.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : 30 DOT Guide : 140 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

Page 106: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

106

20. Oxalic acid ชื่อเคมี IUPAC: Ethanedionic acid ชื่อเคมีท่ัวไป Oxalic acid ชื่อพองอื่นๆ Ethane-1,2-dioic acid; Ethanedioic acid; Oxalic Acid solution, 10% W/V; สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 144-62-7 รหัส EC NO. 607-006-00-8 UN/ID No. 3261, 2922 รหัส RTECS RO 2450000 รหัส EUEINECS/ELINCS 205-634-3 ชื่อวงศ - ชื่อผูผลิต/นําเขา JT. Baker แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 20.1 การใชประโยชน (Uses) - เปนสารกัดกรอนไนโอเนยีม เปนสาร anodizing ใชหลอโลหะผสมทองแดง 20.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 7500 ( หน)ู LC50(มก./ม3) : - / - ชั่วโมง ( -) IDLH(ppm) : 100 ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : 0.20 PEL-STEL(ppm) : 0.40 PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : 0.20 TLV-STEL(ppm) : 0.40 TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ :

Page 107: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

107

20.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ผลึก สี : ใส,ไมมีสี กล่ิน : ไมมีกล่ิน นน.โมเลกุล : 126.07 จุดเดือด(0ซ.) : 149-160 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 101.5 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 1.65 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : - ความหนดื(mPa.sec) : - ความดันไอ(มม.ปรอท) : <0.001 ที่ 20 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : 14 ที่ - 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : - ที่ - 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 5.16 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.20 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : 20.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเขาไปจะกอใหเกดิการระคายเคือง แผลไหมตอจมกู คอ และทางเดนิหายใจ สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงัจะกอใหเกิดการระคายเคือง ตอผิวหนัง อาจทําใหผิวหนงัไหมได สารนี้อาจถูกดดูซึมเขารางกายผานทางผิวหนังได กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนกินเขาไปจะกอใหเกดิแผลไหม คล่ืนไส เกิดการระคายเคืองอยางรุนแรง ตอกระเพาะอาหารและลําไส อาเจียน หมดสติ และชัก อาจทาํใหเกดิการทําลายไต ทําใหพบเลือด ออกปนมากับปสสาวะ เนื่องจากกรดออกซาลิกจะมีผลตอการดึงเอา แคลเซียมออกซาเลทออกจากเลอืด ซ่ึงแคลเซียมออกซาเลทจะไปอดุตันอยูทีไ่ต ซ่ึงปริมาณที่รับทางการกินแลวทําใหเสียชีวติไดคือ 5-15 กรัม สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตาจะกอใหเกดิการระคายเคือง ตอตาและอาจทําใหเกิดผลจากการกัดกรอนได การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ - การสัมผัสเรื้อรังจะทําใหทางเดนิหายใจสวนบนเกิดการอักเสบ การสัมผัสถูกผิวหนังเปนระยะเวลานานจะทําใหผิวหนังอักเสบ เกิดภาวะที่นิ้วเปลี่ยนเปนสีเขียวคล้ํา และอาจเกิดผิวหนังเปอยได - อาจทําใหเกดิผลกระทบตอไต และในบางบุคคลอาจพบอาการผิดปกติ ที่ผิวหนังตา ไต และระบบหายใจได 20.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - สารนี้เปนของแข็งไวไฟ และติดไฟที่อุณหภูมิต่ํากวา 101 องศาเซลเซียส - สารนี้สามารถเกิดปฏิกิริยากับสารออกซิไดซอยางรุนแรง และสารประกอบซิลเวอรบางตัว ทําใหเกิดการระเบิดได - สารที่เขากันไมได : เบส คลอไรด ไฮโปคลอไรด สารออกซิไดซ เฟอพูริวแอลกอฮอล - สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความรอน แหลงจุดติดไฟ และสารที่เขากันไมได - สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : คารบอนไดอกไซด คารบอนมอนออกไซด จะเกิดขึน้เมื่อสัมผัสกับความรอน ทําใหเกดิการสลายตัว และอาจทําใหเกดิกรดฟอรมิก - อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร : จะไมเกิดขึ้น

Page 108: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

108

20.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : - จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : - คา LEL % : - UEL % : - LFL % : - UFL % : - NFPA Code :

- สารนี้มีความไวไฟสูงและอาจเกิดการระเบิดได - ไอระเหยของสารสามารถแพรกระจายออกไปถึงแหลงจุดติดไฟและอาจเกิดการติดไฟยอนกลับมา - สารดับเพลิงในกรณีเกดิเพลิงไหมใหใช : น้ําฉีดเปนฝอย ผงเคมีแหง คารบอนไดออกไซด - การฉีดโฟมหรือน้ําอาจทําใหเกดิฟองได - ใชน้ําฉีดหลอเย็นเพื่อหลอเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสเพลิงไหม - กรณีเกิดเพลิงไหมใหสวมใสอุปกรณชวยหายใจชนิดมถัีงอากาศในตวั (SCBA) ที่ผานการรับรองจาก NIOSH พรอมหนากากแบบเต็มหนา 20.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมดิชิด และปองกันความเสยีหายทางกายภาพ - เก็บในบริเวณที่เยน็และแหง - เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพยีงพอ - เก็บหางจากความรอน ความชื้น และสารที่เขากันไมได - ภาชนะบรรจขุองสารที่เปนถังเปลา แตมีกากสารเคมีตกคางอยู เชน ไอระเหย ของเหลว อาจเปนอนัตรายได - ใหสังเหตุคําเตือนและขอควรระวังทั้งหมดที่ใหไวสําหรับสารนี้ - ช่ือในการขนสง :Corrosive Solid , Acidic , Organic , N.O.S. (Oxalic Acid , Dihydrate) - ประเภทอันตราย 8 - รหัสผลิตภัณฑ : UN 3261 - กลุมการบรรจุ : 3 20.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - วิธีการปฏิบตัิในกรณีเกดิการหกรั่วไหล ใหตัดแหลงจดุติดไฟทั้งหมด ออกไป - จัดใหมีการระบายอากาศในพื้นที ่- ใหสวมใสอุปกรณปองกนัอันตรายที่เหมาะสม และใหกันบุคคลที่ไมเกี่ยวของออกจากบริเวณ ทีห่กร่ัวไหล - ใหทําความสะอาดสวนทีห่กร่ัวไหลโดยไมใหเกดิการแพรกระจายของฝุนในบรรยากาศ - ใหใชอุปกรณและเครื่องมอื ปองกันการเกิดประกายไฟ

Page 109: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

109

- ใหเก็บสารที่หกร่ัวไหลใสในภาชนะบรรุที่ปดสนิทเพื่อนํากลับมาใชใหม หรือนําไปกําจัด - หากสารสัมผัสกับน้ํา ของเหลวที่เปนกลาง สารที่เปนดาง เชนโซดาไฟ ใหทําการดดูซับสวนที่หกร่ัวไหลดัวยวัสดุที่เฉื่อย แลวเก็บใสไวในภาชนะบรรจุ สําหรับกากของเสียเคมี - อยาใชวัสดุไวไฟ เชนขี้เล่ือย - การพิจารณาการกําจัด : ปฏิบัติใหเปนไปตามกฎระเบยีบที่ทางราชการกําหนด - ปองกันไมใหสารเคมีที่หกร่ัวไหล ไหลลงสูทอระบายน้าํ แมน้ํา และแหลงน้ําอื่นๆ 20.9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : 20.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไปใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มอีากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขดัใหออกซิเจนชวย นาํสงไปพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: - ถากลืนหรือกินเขาไป อยากระตุนใหเกิดการอาเจียน ใหผูปวยดื่มน้ําหรือนมปริมาณมากๆ หามไมใหส่ิงใดเขาปากผูปวยทีห่มดสติ นําสงไปพบแพทย ทนัท ีสัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนงั ใหเช็ดสารออกจากผิวหนังและ ใหฉีดลางผิวหนังทนัทดีวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที พรอมถอดเสื้อผาและรองเทาที่ปนเปอนสารเคมีออก นําสงไปพบแพทยทันที ซักทําความสะอาดเสื้อผา และรองเทากอนนํากลับมาใชใหม สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตา ใหคอยๆฉีดลางดวยน้ําเปนเวลาอยางนอย 15 นาที พรอมกระพรบิตาถี่ ๆขณะทําการลาง นําสงไปพบแพทยทนัท ีอ่ืน ๆ: - 20.11 ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม (Environmental Impacts) - ไมกอใหเกดิผลกระทบตอระบบนิเวศน หากมีการใชและจัดการกับผลิตภัณฑอยางเหมาะสม 20.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : - OSHA NO. : - วิธีการเก็บตวัอยาง : กระดาษกรอง หลอดเก็บตวัอยาง อิมพิน้เจอร วิธีการวิเคราะห : ช่ังน้ําหนัก สเปคโตโฟโตมิเตอร แกซโครมาโตกราฟฟ อะตอมมิกแอบซอปชั่น ขอมูลอ่ืน ๆ :

Page 110: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

110

20.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา - " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา 238 " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา 1.289 " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 2540 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา 45 " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , 0529 " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา - " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา 45 " 10. Source of Ignition หนา - " 11. "อ่ืน ๆ" http://chemtrack.trf.or.th " 20.14 ขั้นตอนการปฎิบัตงิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : 38 DOT Guide : 154 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

Page 111: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

111

21. Phosphoric acid ชื่อเคมี IUPAC: Orthophosphoric acid ชื่อเคมีท่ัวไป Phosphoric acid ชื่อพองอื่นๆ White phosphoric acid; Orthophosphoric acid; Sonac; Phosphoric Acid สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 7664-38-2 รหัส EC NO. - UN/ID No. 1805 รหัส RTECS TB 6300000 รหัส EUEINECS/ELINCS 231-638-2 ชื่อวงศ - ชื่อผูผลิต/นําเขา JT Baker แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 21.1 การใชประโยชน (Uses) - สารนี้นําไปใชในหองปฏิบตัิการ (Laboratory Reagent) 21.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 1530 ( -) LC50(มก./ม3) : - / - ชั่วโมง ( -) IDLH(ppm) : 250 ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : 0.25 PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : 0.25 TLV-STEL(ppm) : 0.75 TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนดิที่ 1 ชนิดที ่2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ : กรมโรงงานอุตสาหกรรม

Page 112: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

112

21.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ของเหลว สี : ใส ไมมีสี กล่ิน : ไมมีกล่ิน นน.โมเลกุล : 98.00 จุดเดือด(0ซ.) : 158 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 21 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 1.69 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : 3.4 ความหนดื(mPa.sec) : - ความดันไอ(มม.ปรอท) : 0.0285 ที่ 20 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : ละลายได ที่ - 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : 1.5 ที่ - 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 4.01 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.25 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : - สารนี้สามารถละลายได 21.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเขาไป ไอหรือละอองของสารทําใหระคายเคืองจมูก คอ และทางเดนิหายใจสวนบน ทําใหเปนโรคปอดอักเสบได สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงั ทําใหเปนผ่ืนแดง เจ็บปวดและทําใหผิวหนังแสบไหมได กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนหรือกินเขาไป จะกอใหเกดิอาการเจ็บคอ ปวดทอง คล่ืนไส และแสบไหมบริเวณปาก คอ และทอง ทําใหเกดิอาการช็อก อาจทําใหเสียชีวิตได สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตา ทําใหเปนผ่ืนแดง เจ็บปวด การมองเหน็ไมชัดเจน ทําใหแสบไหม และทําลายตาอยางถาวรได การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ - อวยัวะเปาหมาย ตับ เลือด 21.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัว : คงตัวภายใตสภาวะการเก็บ การใช สารสามารถเย็นตัวอยางไมเปนผลึกได - สารที่เขากันไมได : คลอไรด สแตนเลาสตีล โซเดียมเตตระไฮโดรบอเรต อัลดีไฮด เอมีน เอไมด แอลกอฮอล ไกลคอล คารบาเมต เอสเทอร ฟนอล ครีซอล คีโตน อีปอกไซด ไซยาไนด ซัลไฟด ฟลูออไรด - สารนี้จะเกิดปฏิกิริยาโพลิเมอรอยางแรงในสภาวะที่มีสารประกอบเอโซและอีปอกไซด - สภาวะที่ตองหลีกเลี่ยง การใหความรอนสูง 21.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : - จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : - คา LEL % : - UEL % : - LFL % : - UFL % : - NFPA Code :

Page 113: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

113

- การเกดิเพลิงไหม เมื่อสัมผัสกับโลหะ ทําใหเกดิกาซไฮโดรเจน ที่ไวไฟและทําใหเกดิการระเบิดได - กรณีเกิดเพลิงไหมใหเลือกใชสารดับเพลิง/วิธีการดับเพลิง ที่เหมาะสมสําหรับสภาพการเกิดเพลิงโดยรอบ - ใชน้ําฉีดหลอเย็นเพื่อหลอเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสเพลิงไหม - กรณีเกิดเพลิงไหมใหสวมใสอุปกรณชวยหายใจชนิดมถัีงอากาศในตวั (SCBA) 21.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมดิชิด มีการปองกันการทําลายทางกายภาพ - เก็บในบริเวณที่เยน็และแหง - เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพยีงพอ - เก็บหางจากความชื้น ความรอน แสงอาทิตย สารที่เขากันไมได - ภาชนะบรรจขุองสารที่เปนถังเปลา แตมีกากสารเคมีตกคางอยู เชน ไอระเหย ของเหลว อาจเปนอนัตรายได - ชื่อทางการขนสง : Phosphoric acid - ประเภทอันตราย : 8 - รหัส UN : 1805 - ประเภทการบรรจุหีบหอ : กลุม II 21.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - วิธีการปฏิบตัิเมื่อสารหกรั่วไหลควรระบายอากาศบริเวณที่สารหกรั่วไหล - กั้นแยกบริเวณที่สารหกรั่วไหลและแยกบุคคลที่ไมเกี่ยวของและไมไดสวมใสอุปกรณปองกัน - เก็บรวบรวมสารที่หกร่ัวไหลเพื่อทําใหสารที่หกร่ัวไหลถาสามารถทําได - ใชโซดาแอซ ปูนขาว เพื่อทาํใหสารที่หกร่ัวไหลเปนกลาง - ดูดซับสารที่หกร่ัวไหลดวยขี้เล่ือย ทราย - เก็บสวนที่หกร่ัวไหลในภาชนะบรรจทุี่ปดมิดชิดเพื่อนําไปกําจัด - การพิจารณาการกําจัด : ปฎิบัติใหเปนไปตามกฎระเบยีบที่ทางราชการกําหนด 21.9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : - การเลือกประเภทถุงมือ : แนะนําใหใชถุงมือที่ทํามาจากวัสดุประเภท Laminated film ซ่ึงควรมีระยะเวลาที่จะทําใหเกดิการซึมผานผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกวา 480 นาที และแนะนําใหใชถุงมือที่ทํามาจากวัสดุประเภท Nitrile ซ่ึงควรมีระยะเวลาที่จะทําใหเกดิการซึมผานผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกวา 360 นาที และแนะนําใหใชถุงมือที่ทํามาจากวัสดุประเภท Unsupported Neoprene ซ่ึงควรมีระยะเวลาที่จะทําใหเกดิการซึมผานผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกวา 480 นาที และแนะนําใหใชถุงมือที่ทํามาจากวัสดุประเภท Natural Rubber ซ่ึง

Page 114: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

114

ควรมีระยะเวลาที่จะทําใหเกดิการซึมผานผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกวา 360 นาที และแนะนําใหใชถุงมือที่ทาํมาจากวัสดุประเภท Neoprene/Natural Rubber Blend ซ่ึงควรมีระยะเวลาที่จะทําใหเกดิการซึมผานผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกวา 360 นาที และไมแนะนําใหใชถุงมือที่ทํามาจากวัสดุประเภท Supported Polyvinyl Alcohol - ขอแนะนําในการเลือกประเภทหนากากปองกันระบบหายใจ - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 25 mg/m3 : ใหใชอุปกรณชวยหายใจประเภททีใ่ชการสงอากาศสําหรับการหายใจ ซ่ึงมีอัตราการไหลของอากาศแบบตอเนื่อง โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 25 - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 50 mg/m3 : ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา และอุปกรณกรองประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตวั (SCBA) พรอมหนากากแบบเตม็หนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 50 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรบัการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 1000 mg/m3 : ใหใชอุปกรณชวยหายใจประเภทที่ใชการสงอากาศสําหรับการหายใจ ซ่ึงมีอัตราการไหลของอากาศแบบตอเนื่อง โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 25 หรือ ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมอุปกรณกรองอนุภาคประสิทธิภาคสูง (HEPA filter) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 25 หรือ ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมหนากากและอุปกรณกรองอนุภาคประสิทธิภาพสูง โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือ ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตวั (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือ ใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณทีม่ีคา APF. = 50 - ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเขาไปสัมผัสกับสารที่ไมทราบชวงความเขมขน หรือการเขาไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เปน IDLH : ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตวั (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดนัภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 10,000 หรือ ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซึง่มีการทํางานแบบความดนัภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือ แบบที่ใชการทํางานรวมกนัระหวางอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเปนบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10,000 - ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉิน : ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา และอุปกรณกรองอนุภาคอนภุาคประสิทธิ(HEPA filtre) ใหใชอุปกรณที่เหมาะสมสําหรับในกรณกีารหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉินพรอมอปุกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตวั (SCBA) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50

Page 115: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

115

21.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มอีากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขดัใหออกซิเจนชวย นาํสงไปพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: - ถากลืนหรือกินเขาไป อยากระตุนทําใหเกิดการอาเจียน ใหดืม่น้ําปริมาณมาก ๆ อยาใหอะไรเขาปากผูปวยทีห่มดสติ นําสงไปพบแพทย สัมผัสถูกผิวหนัง: - สัมผัสถูกผิวหนัง: ฉีดลางผิวหนังโดยทันทีดวยน้ําปริมาณมากๆ อยางนอย 15 นาทีขณะที่ซ่ึงเคลื่อนที่เสื้อผาที่เปอนและรองเทา. เรียกแพทย โดยทนัท.ี ลางเสื้อผากอนนํามาใชอีกครัง้. สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตา ใหฉดีลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที กระพรบิตาถี่ ๆ นําสงไปพบแพทย อ่ืน ๆ: - 21.11 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม (Environmental Impacts) - หามทิ้งลงสูแหลงน้ํา น้ําเสีย หรือดิน - สารนี้เปนอนัตรายตอส่ิงแวดลอม ควรสนใจเกี่ยวกับน้าํและอากาศ 21.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : 7903 OSHA NO. : ID 165 SD วิธีการเก็บตวัอยาง : หลอดเก็บตัวอยาง วิธีการวิเคราะห : แกซโครมาโตกราฟฟ ขอมูลอ่ืน ๆ : - อัตราการไหลสําหรับเก็บสําหรับ 0.2 ถึง 0.5 /นาท ี- ปริมาตรสําหรับเกบ็ตัวอยาง ต่ําสุด 3 ลิตร สูงสุด 100 ลิตร 21.14 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 704 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา 254 " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา - " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 2686 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา 48 " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , 1008 " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา 650 "

Page 116: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

116

9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา - " 10. Source of Ignition หนา - " 11. "อ่ืน ๆ" http://chemtrack.trf.or.th " 21.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : 38 DOT Guide : 154 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

Page 117: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

117

22. Potassium chromate (VI) ชื่อเคมี IUPAC: Potassium chromate ชื่อเคมีท่ัวไป Potassium chromate (VI) ชื่อพองอื่นๆ Chromic acid, dipotassium salt; Chromic acid (H2CrO4), dipotassium salt; สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 7789-00-6 รหัส EC NO. 024-006-00-8 UN/ID No. 3077 รหัส RTECS GB2940000 รหัส EUEINECS/ELINCS 232-140-5 ชื่อวงศ - ชื่อผูผลิต/นําเขา J.T Baker แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 22.1 การใชประโยชน (Uses) - สารนี้ใชเปนสารวิเคราะห และทดสอบทางเคมี ( reagent ) ในหองปฏิบัติการ 22.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 18 ( หน)ู LC50(มก./ม3) : - / - ชั่วโมง ( -) IDLH(ppm) : - ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : 0.0125 PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : 0.00625 TLV-STEL(ppm) : - TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนดิที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ :

Page 118: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

118

22.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ผลึก สี : เหลือง กล่ิน : ไมมีกล่ิน นน.โมเลกุล : 194.19 จุดเดือด(0ซ.) : - จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแขง็(0ซ.) : 975 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 2.73 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : 6.7 ความหนดื(mPa.sec) : - ความดันไอ(มม.ปรอท) : 0 ที่ - 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : 69.9 ที่ 20 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : 8.6-8.8 ที่ 20 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 7.94 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.125 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : - สารนี้เปนสารออกซิไดซ 22.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเขาไปสารนีม้ีฤทธิ์กัดกรอน จะทําลายเนือ้เยื่อของเยื่อเมือก และทางเดินหายใจสวนบน ทําใหเกิดเปนแผลผุพอง และลําคออักเสบ ไอ หายใจถี่ และติดขัด อาจทําใหเปนโรคภูมิแพ ถาสัมผัสกับสารนี้ปริมาณมากจะทําใหเกดิเปนโรคน้ําทวมปอด สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสสารนี้ทางผิวหนัง สารนีม้ีฤทธิ์กัดกรอนทําใหเปนผ่ืนแดง ปวดแสบปวดรอน และเปนแผลไหมอยางรุนแรง ผงฝุนและสารละลายที่เขมขนของสารนี้จะกอใหเกิดการระคายเคืองอยางรุนแรง ถาสัมผัสผิวหนังที่แตกจะกอใหเกดิการอักเสบ และดูดซึมผานผิวหนัง ทําใหเปนอันตรายตอรางกาย มีผลตอการทํางานของไต และตับ กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนหรือกินสารนี้เขาไป สารนี้มีฤทธิ์กัดกรอน ทําใหปาก ลําคอ และทองเปนแผลไหม อาจทําใหตายได ทําใหเจ็บคอ อาเจยีน หมดสติ กลามเนื้อหดเกร็ง กระหายน้ํา ทําลายการทํางานของตับ สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตา สารนี้มีฤทธิ์กัดกรอน ทําใหมองไมชัด ตาแดง ปวดตาและเนื้อเยื่อเปนแผลไหมอยางรนแรง ทําลายกระจกตา หรือทําใหตาบอดได การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ - สารนี้เปนสารกอมะเร็ง - สารนี้มีผลทําลายปอด เลือด ตับ ไต และทางเดินอาหาร - สารนี้เปนอนัตรายตอทารกในครรภ และกอใหเกดิการเปลี่ยนแปลงพันธุกรรม 22.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัวทางเคมี : สารนี้เสถียรภายใตสภาวะปกติของการใชและการเก็บ - สารที่เขากันไมได : สารรีดิวซ ไฮดราซีน วัตถุที่ติดไฟได สารอินทรียที่เผาไหมได หรือสารที่ออกซิไดซไดงาย ( กระดาษ ไม กํามะถัน อลูมิเนียม หรือพลาสติก ) - สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความรอน สารที่เขากันไมได - สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : กาซโครเมียมออกไซด

Page 119: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

119

22.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : - จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : - คา LEL % : - UEL % : - LFL % : - UFL % : - NFPA Code :

- สารนี้ไมสามารถเผาไหมไดแตสารนี้เปนสารออกซิไดซ และเมื่อสารนี้สัมผัสกับความรอนหรือสารที่เผาไหมได จะลุกจุดติดไฟ ขึ้น และสลายตัวใหกาซ ออกซิเจนซึ่งจะเพิ่มการเผาไหม - สารดับเพลิง ใชน้ําปริมาณมาก ใชน้ําฉีดเปนฝอยเพื่อหลอเย็นภาชนะบรรจุ ที่สัมผัสกับเปลวไฟ - ในกรณีที่เกิดเพลิงไหมการสวมใสอุปกรณปองกันและอุปกรณชวยหายใจ ชนิดที่มีถังอากาศในตัว ( SCBA ) 22.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมดิชิดปองกันการเสียหายทางกายภาพ - เก็บในบริเวณที่เยน็และแหง มีการระบายอากาศเพยีงพอ - เก็บใหหางจากความรอน ความชื้น และสารที่เขากันไมได - ไมควรเก็บในที่ที่เปนพืน้ไม - หลังจากเคลือ่นยายควรทําความสะอาด รายกายใหทัว่ถึง และทําความสะอาดเสื้อผาและรองเทาทีป่นเปอน - ชื่อทางการขนสง : Potassium chromate - ประเภทอันตราย : 9 - รหัส UN / NA : UN 3077 - ประเภทการบรรจุหีบหอ : II 22.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - ระบายอากาศบริเวณที่สารหกรั่วไหล - เก็บกวาด หรือดูดดวยเครื่องดูดฝุน ขณะที่สารยังชื้นเพือ่ปองกันการแพรกระจายของฝุน - เก็บกวาดใสในภาชนะบรรจุเพื่อนํากลับมาใชใหม หรือนําไปกําจดั - ใหสวมใสอุปกรณปองกนัอันตรายที่เหมาะสม - การกําจดัสารนี้ การนําสารนี้กลับมาใชใหม ไมสามารถทําไดอยางปลอดภัย ควรนาํไปกําจัดตามขอกําหนด ระเบียบของทางราชการ

Page 120: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

120

22.9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE)

ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกนัอันตรายสวนบคุคล(PPD/PPE) : 22.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไปใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มอีากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขดัใหออกซิเจนชวย นาํสงไปพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: - ถากลืนหรือกินเขาไป อยากระตุนใหเกิดการอาเจียน ถาผูปวยมีสติใหดื่มน้าํตามปริมาณมากๆ หามไมใหส่ิงใดเขาปากผูปวยที่หมดสติ นําสงแพทย ทันที สัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนงั ใหฉีดลางผิวหนังทันทดีวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที พรอมถอดเสื้อผาและรองเทาที่ปนเปอนสารเคมีออก นําสงไปพบแพทย ซักทําความสะอาดเสื้อผา และรองเทากอนนาํกลับมาใชใหม สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตา ใหฉดีลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที กระพรบิตาถี่ ๆ ใหนําสงแพทย อ่ืน ๆ: 22.11 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม (Environmental Impacts) - ผลกระทบทางชีวภาพ : เปนพิษอยางมากตอส่ิงมีชีวิตที่อาศัยในน้ํา - หามทิ้งลงสูระบบน้ํา น้ําเสยี หรือดิน 22.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : - OSHA NO. : - วิธีการเก็บตวัอยาง : กระดาษกรอง หลอดเก็บตวัอยาง อิมพิ้นเจอร วิธีการวิเคราะห : ชั่งน้ําหนัก สเปคโตโฟโตมิเตอร แกซโครมาโตกราฟฟ อะตอมมิกแอบซอปชั่น ขอมูลอ่ืน ๆ :

Page 121: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

121

22.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 728 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา - " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา - " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 2757 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา - " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , - " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา - " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา - " 10. Source of Ignition หนา - " 11. "อ่ืน ๆ" - " 22.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : 49 DOT Guide : 171 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

Page 122: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

122

23. Potassium dichromate ชื่อเคมีท่ัวไป - ชื่อพองอื่นๆ Dichromic acid, dipotassium salt; Bichromate of potash; Potassium dichromate (VI); Dipotassium dichromate; Iopezite; Chromic acid (H2Cr2O7), dipotassium salt สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 7778-50-9 รหัส EC NO. 024-002-00-6 UN/ID No. 3085 รหัส RTECS KX 7680000 รหัส EUEINECS/ELINCS 231-906-6 ชื่อวงศ - ชื่อผูผลิต/นําเขา J.T.Baker แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 23.1 การใชประโยชน (Uses) - สารนี้ใชเปนสารในการวิเคราะหและทดสอบทางเคมี(reagant)ในหองปฏิบัติการเคมี 23.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 190 ( หนู) LC50(มก./ม3) : - / - ชั่วโมง ( -) IDLH(ppm) : - ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : 0.0083 PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : 0.0042 TLV-STEL(ppm) : - TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนดิที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ :

Page 123: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

123

23.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ของแข็ง สี : แดงสม กล่ิน : ไมมีกล่ิน นน.โมเลกุล : 294.19 จุดเดือด(0ซ.) : 500 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 398 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 2.676 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : - ความหนดื(mPa.sec) : - ความดันไอ(มม.ปรอท) : - ที่ - 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : 6.5 % ที่ - 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : 4.04 ที่ 25 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 12.03 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.08 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : - สารนี้สลายตัวที่อุณหภูมิ 500 0ซ. 23.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเขาไป : สารนี้มีฤทธิ์กัดกรอน ทําลายเนือ้เยื่อและทางเดินหายใจสวนบน ทําใหเกิดเปนแผลพพุองและเกิดรพูรุนที่ผนังโพรงจมูก รวมถึงอาการลําคออักเสบ ไอ หายใจถี่รัว และหายใจติดขัด อาจทําใหปอดไวตอการเกิดภูมิแพถาสูดดมเขาไปมากๆอาจทําใหน้ําทวมปอดได สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงั สารนี้มฤีทธิ์กัดกรอนเกิดอาการผื่นแดง ปวดแสบปวดรอน และแผลไหมอยางรุนแรง ฝุนและสารละลายเขมขนจะเปนเหตุใหเกิดการระคายเคืองอยางรุนแรง การสัมผัสกับผิวหนังทีแ่ตกเปนแผลจะทําใหเกิดแผลพุพอง (แผลจากโครเมี่ยม)และสารนี้สามารถดูดซึมผานผิวหนังจะมีผลกระทบตอการทํางานของไตและตับ จะเปนสาเหตุใหผิวหนังไวตอภูมิแพ กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนหรือกินเขาไป จะทําใหปาก ลําคอ และกระเพาะอาหารเปนแผลไหมอยางรุนแรง และอาจจะทําใหถึงแกความตายได ทําใหเจ็บคอ อาเจียน และทองเสีย อาจจะทาํใหลําไสอักเสบ เวียนศีรษะ กลามเนือ้เปนตะคริว หมดสติ เปนไข ตับและไตถกูทําลาย สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตา สารนี้มีฤทธิ์กัดกรอน จะทําใหมองไมชัด ตาแดง เจ็บตา เยื่อบุตาเกดิแผลไหมอยางรุนแรง จะกอใหเกดิการบาดเจ็บตอกระจกตาหรือตาบอดได การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ - สารนี้เปนสารกอมะเร็งตาม IARC, OSHA, ACGIH, NTP,EPA -สารนี้มีผลทําลายไต ทอไต กระเพาะปสสาวะ ปอด 23.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความเสถียร : สารนี้มีความเสถียรภายใตสภาวะปกติของการใชและการเก็บสารเคมี - สารที่เขากันไมได : สารรีดิวซ, อะซิโตนกับกรดซัลฟูริค, โบรอนกับซิลิคอน, เอทธิลีนไกลคอล, เหล็ก, ไฮดราซีน และไฮดรอกซี่ลามีน, สารอินทรียหรือสารอื่นที่ออกซิไดซไดงาย (กระดาษ ไม กํามะถัน อลูมินั่มหรือพลาสติก) - สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความรอน สารที่เขากันไมได

Page 124: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

124

- สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : การลุกไหมทําใหเกิดกาซโครเมีย่มออกไซด - อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร : จะไมเกิดขึ้น 23.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : - จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : - คา LEL % : - UEL % : - LFL % : - UFL % : - NFPA Code :

- สารนี้ไมติดไฟแตเปนสารออกซิไดซอยางแรง - สารดับเพลิงใหฉีดดวยน้ําปริมาณมากๆ การใชนําฉีดเปนฝอยสามารถใชควบคุมหลอเย็นภาชนะบรรจุที่ถูกเพลิงไหม - อยาใหน้ําที่ใชดับเพลิงแลวไหลลนเขาไปในทอระบายน้ําหรือทางน้ํา - สารนี้สัมผัสกับสารออกซิไดซจะทําใหเกิดการเผาไหมอยางรุนแรงมาก - ในเหตุการณเกิดเพลิงไหมควรสวมใสชดุปองกันสารเคมีและอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) พรอมกับหนากากแบบเต็มหนา 23.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในบริเวณที่แหง, แยกหางจากวัสดุทีต่ิดไฟได, สารอินทรีย หรือสารออกซิไดซไดงาย - หลีกเลี่ยงการเก็บบนพื้นไม - ปองกันการเสียหายทางกายภาพ - ควรสวมใสอุปกรณปองกนัอันตราย โดยเฉพาะสําหรับงานบํารุงรักษาหรือที่ซ่ึงมีการสัมผัสในระดับมากเกินกวาที่กําหนด - ลางมือ หนา แขน คอ เมื่อออกจากพืน้ที่ควบคุม และกอนกินอาหาร หรือสูบบุหร่ี - อาบน้ําถอดเสื้อผาที่ปนเปอนออกและสวมใสเสื้อผาที่สะอาดหลังจากเลิกงานแตละวัน หลีกเลี่ยงการใชเสื้อผาที่ปนเปอน - ภาชนะของสารนี้อาจจะเปนอันตรายเมือ่เปนถังเปลา เนื่องจากมีกากสารเคมีตกคางอยู เชน ฝุน ของแข็ง - สังเกตคําเตือนทั้งหมดและขอควรระมัดระวังที่ระบุไวสําหรับสารนี้ - ชื่อทางการขนสง : โปแตสเซียมไดโครเมท (Pottassium dicromate) - ประเภทอนัตราย : 5.1 , 8 - รหัส UN/NA : 3085

Page 125: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

125

- ประเภทการบรรจุหีบหอ : กลุม II - การรายงานขอมูลสําหรับผลิตภัณฑ / ขนาด : 400 ปอนด 23.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - วิธีการปฏิบตัิเมื่อเกิดอุบัติเหตุร่ัวไหลใหระบายอากาศพื้นที่ที่หกร่ัวไหล - ดูดหรือการเก็บกวาดขณะชื้น เพื่อหลีกเลี่ยงการแพรกระจายของฝุน - เก็บกวาดและ - บรรจุใสภาชนะบรรจุเพื่อเก็บคืนหรือนําไปกําจัด - สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลที่เหมาะสม - การพิจารณาการกําจัดสารนี้ไมสามารถนํากลับมาใชใหมไดอยางปลอดภัยในการนาํเอากลับคืนมาใชใหมจะตองจดัการเชนเดียวกับกากของเสียและสงใหผูซ่ึงไดรับอนุญาตในการกําจัด 23.9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE)

ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : 23.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไปใหเคลื่อนยายผูปวยออกไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาไมหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขัดใหออกซิเจนและนําสงไปพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: - ถากินหรือการกลนืเขาไปและยงัมีสติอยู อยากระตุนทําใหเกิดการอาเจยีน ใหดื่มน้ําปริมาณมาก หามใหส่ิงใดเขาปากผูปวยทีห่มดสตินําสงไปพบแพทย สัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนงัใหฉีดลางผิวหนังโดยทันทีด่วยน้ําปริมาณมากๆ อยางนอย 15 นาที พรอมถอดรองเทาและเสื้อผาที่เปรอะเปอนสารเคมีออกและนําไปพบแพทยโดยทันที ลางทําความสะอาดเสื้อผาและรองเทาใหทั่วถึงกอนนาํมาใชอีกครั้ง สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตาใหฉดีลางตาโดยทันทีดวยน้ําปริมาณมากๆ อยางนอย 15 นาที กระพริบตาขึ้น – ลง นําสงไปพบแพทยโดยทันท ีอ่ืน ๆ: -

Page 126: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

126

23.11 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม (Environmental Impacts) - หามทิ้งลงสูระบบน้ํา น้ําเสยี หรือดิน 23.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : - OSHA NO. : - วิธีการเก็บตวัอยาง : กระดาษกรอง หลอดเก็บตัวอยาง อิมพิ้นเจอร วิธีการวิเคราะห : ช่ังน้ําหนัก สเปคโตโฟโตมิเตอร แกซโครมาโตกราฟฟ อะตอมมกิแอบซอปชั่น ขอมูลอ่ืน ๆ : 23.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา - " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา - " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา - " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 2753 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา - " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , - " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา - " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา - " 10. Source of Ignition หนา - " 11. "อ่ืน ๆ" http://chemtrack.trf.or.th " 23.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide :30 DOT Guide : 141 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสยี กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

Page 127: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

127

24. Potassium hydroxide ชื่อเคมีท่ัวไป - ชื่อพองอื่นๆ Potassium hydrate; Caustic potash; Lye; Potassa; Caustic potash, liquid สูตรโมเลกุล

CAS No. 1310-58-3 รหัส EC NO. 019-002-01-5 UN/ID No. 1813, 1814 รหัส RTECS TT 2100000 รหัส EUEINECS/ELINCS 215-181-3 ชื่อวงศ - ชื่อผูผลิต/นําเขา - แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 24.1 การใชประโยชน (Uses) - ใชในกระบวนการผลิตแบตเตอรี่ เปนอัลคาไลนเซลล 24.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 273 ( หนู) LC50(มก./ม3) : - / - ชั่วโมง ( -) IDLH(ppm) : - ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : - PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : - TLV-STEL(ppm) : TLV-C(ppm) : 0.88 พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ : กรมโรงงานอุตสาหกรรม

Page 128: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

128

24.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ผงของแข็ง สี : ขาว กล่ิน : ไมมกีล่ิน นน.โมเลกุล : 56.1 จุดเดือด(0ซ.) : 1324 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 361 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 2.044 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : - ความหนดื(mPa.sec) : - ความดันไอ(มม.ปรอท) : 1 ที่ 20 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : 110 ที่ 25 0ซ ความเปนกรด-ดาง(pH) : >13.5 ที่ 20 0ซ แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 2.30 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.44 ppm ที่ 25 0ซ ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : - สารนี้สามารถละลายไดในแอลกอฮอล 24.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเขาไป เปนอันตรายตอเยือ่เมืองและทางเดินหายใจสวนบน ทําใหคล่ืนไส อาเจียน มนึงง ปวดศีรษะ หายใจตดิขัด โรคปอดอักเสบ สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงัจะกอใหเกิดการระคายเคือง และดูดซึมผานผิวหนัง กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนเขาไปจะเปนอันตราย ทําใหไอ มึนงง ปวดศีรษะ คล่ืนไส อาเจียน คอหอยอักเสบ หลอดอาหารอักเสบ สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตาจะกอใหเกดิการระคายเคือง การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ 24.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - สารที่เขากันไมได : ความรอนเหนือจุดหลอมเหลว, ดีบุก, สารประกอบไนไตร, สังกะสี, สารอินทรีย, แมกนีเซยีม, ทองแดง - สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ดูดซึม CO2 จากอากาศ, ความรอนจากการเดอืดของสารจะสูงมาก - สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : คารบอนมอนนอกไซด - อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร : ไมเกิดขึ้น 24.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ) : - จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : - คา LEL % : - UEL % : - LFL % : - UFL % : - NFPA Code : - สารนี้ไมสามารถเผาไหมได - กรณีเกิดเพลิงไหมใหเลือกใชสารดับเพลิง/วิธีการดับเพลิง ที่เหมาะสมสําหรับสภาพการเกิดเพลิงโดยรอบ - กรณีเกิดเพลิงไหมใหสวมใสอุปกรณชวยหายใจชนิดมถัีงอากาศในตวั (SCBA)

Page 129: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

129

- ในขณะที่เกดิเพลิงไหมจะเกิดฟูม/กาซพษิซึ่งจะทําปฏิกิริยารุนแรงกบัโลหะ จะปลอยกาซไฮโดรเจนซึ่งเปนกาซที่สามารถลุกติดไฟได 24.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมดิชิด - เก็บในบริเวณที่เยน็และแหง - เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพยีงพอ - เก็บหางจากการสัมผัสกับน้ํา - ใหสังเกตคําเตือนและขอควรระวังทั้งหมดที่ใหไวสําหรับสารนี้ - ใหลางทําความสะอาดรางกาย ใหทั่วถึงภายหลังทําการเคลื่อนยาย 24.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - วิธีปฏิบัติเมื่อสารหกรั่วไหล : กั้นแยกบริเวณที่สารหกรั่วไหล - เก็บสวนที่หกร่ัวไหลในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิดเพื่อนําไปกําจัด - ใหสวมใสอุปกรณปองกนัอันตรายที่เหมาะสม - หลีกเลี่ยงการทําใหเกดิฝุน - ปองกันไมใหสารเคมีที่หกร่ัวไหล ไหลลงสูทอระบายน้าํ แมน้ํา และแหลงน้ําอื่นๆ - ลางบริเวณสารหกรั่วไหล หลังจากสารเคมีถูกเก็บกวาดเรียบรอยแลว - การพิจารณาการกําจัด : ปฎิบัติใหเปนไปตามกฎระเบยีบที่ทางราชการกําหนด 24.9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : - การเลือกประเภทถุงมือ : แนะนําใหใชถุงมือที่ทํามาจากวัสดุประเภท Nitrile ซ่ึงควรมีระยะเวลาที่จะทําใหเกิดการซึมผานผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกวา 360 นาที และ แนะนําใหใชถุงมือที่ทํามาจากวัสดปุระเภท Unsupported Neoprene ซ่ึงควรมีระยะเวลาที่จะทําใหเกดิการซึมผานผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกวา 480 นาที และแนะนําใหใชถุงมือที่ทํามาจากวัสดุประเภท Natural Rubber ซ่ึงควรมีระยะเวลาทีจ่ะทําใหเกดิการซึมผานผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกวา 360 นาที และแนะนําใหใชถุงมือที่ทํามาจากวัสดุประเภท Polyvinyl Chloride ซ่ึงควรมีระยะเวลาที่จะทําใหเกดิการซึมผานผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกวา 360 นาที และ แนะนําใหใชถุงมือที่ทํามาจากวัสดุประเภท Neoprene/Natural Rubber Blend ซ่ึงควรมีระยะเวลาที่จะทําใหเกดิการซึมผานผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกวา 360 นาที และไมแนะนําใหใชถุงมือทีท่ํามาจากวัสดุประเภท Supported Polyvinyl Alcohol

Page 130: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

130

24.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยไปที่อากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหเครื่องชวยหายใจ ถาหายใจติดขัดใหออกซิเจน นําสงไปพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: - ถากลืนหรือกินเขาไป ใหนาํสงไปพบแพทยทนัที สัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนงั ใหลางดวยน้าํปริมาณมากๆทันทีอยางนอย 15 นาท ีถอดเสื้อผาและรองเทาทีป่นเปอนสารเคมีออก นําสงไปพบแพทย สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตา ใหลางดวยน้ําปริมาณมากๆทันที อยางนอย 15 นาที พรอมกระพรบิตาถี่ๆ นําสงไปพบแทพย อ่ืน ๆ: 24.11 ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม (Environmental Impacts) - หามทิ้งลงสูระบบน้ํา น้ําเสยี หรือดิน - สารนี้อาจเปนอันตรายตอส่ิงแวดลอม ควรใหความสนใจเปนพิเศษตอส่ิงมชีีวิตในน้ํา - สารนี้จะสงผลที่เปนอันตราย เนื่องจาก การเปลี่ยนแปลงพีเอช มีฤทธิ์กัดกรอนแมในสภาพที่เจือจาง - เปนพษิตอส่ิงมีชีวิตในน้ํา LC50 : 10 mg/l/96 hr. 24.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : 7401 OSHA NO. : - วิธีการเก็บตวัอยาง : กระดาษกรอง วิธีการวิเคราะห : ชั่งน้ําหนัก สเปคโตโฟโตมิเตอร แกซโครมาโตกราฟฟ อะตอมมิกแอบซอปชั่น ขอมูลอ่ืน ๆ : - วิธีการวเิคราะหใชการไตเตรท ( acid - bse titration ) - การเก็บตวัอยางใช : 1 um PTFE membrane - อัตราการไหลสําหรับเก็บตัวอยาง : 1 ถึง 4 ลิตรตอนาที - ปริมาตรเก็บตัวอยางต่ําสุด-สูงสุด : ต่ําสุด 10 ลิตร สูงสุด 1000 ลิตร

Page 131: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

131

24.13 เอกสารอางอิง (Reference) 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 734 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา 262 " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา - " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 2764 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา 49 " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , 0351 " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา - " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา 49 " 10. Source of Ignition หนา - " 11. "อ่ืน ๆ" http://chemtrack.trf.or.th " 24.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : 39 DOT Guide : 154 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

Page 132: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

132

25. Potassium permanganate ชื่อเคมีท่ัวไป - ชื่อพองอื่นๆ Permanganic acid, potassium salt; Permanganic acid (nMnO4), potassium salt; สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 7722-64-7 รหัส EC NO. - UN/ID No. 1490 รหัส RTECS SD 6475000 รหัส EUEINECS/ELINCS 231-760-3 ชื่อวงศ - ชื่อผูผลิต/นําเขา J.T. Baker แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 25.1 การใชประโยชน (Uses) -ใชเปนสารออกซิไดส , ใชในการวิเคราะหเหล็ก , ควบคุมกลิ่น 25.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 1090 ( หน)ู LC50(มก./ม3) : - / - ชั่วโมง ( -) IDLH(ppm) : - ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : 0.77 PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : 0.030949367 TLV-STEL(ppm) : - TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนดิที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ :

Page 133: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

133

25.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ผลึก สี : สีมวง-บรอนซ กล่ิน : ไมมีกล่ิน นน.โมเลกุล : 158.03 จุดเดือด(0ซ.) : - จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแขง็(0ซ.) : 240 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 2.7 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : - ความหนดื(mPa.sec) : - ความดันไอ(มม.ปรอท) : - ที่ - 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : 7 ที่ 20 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : ~ 7-9 ที่ 20 0ซ แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 6.46 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.16 ppm ที่ 25 0ซ ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : อุณหภูมิสลายต่ํา > 240 องศาเซลเซียส 25.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเขาไปจะกอใหเกดิการระคายเคืองตอทางเดินหายใจ ทาํใหเกดิอาการไอ หายใจถี่รัวและการหายใจเอาสารที่มีความเขมขนสูงสามารถทําใหเกิดอาการน้ําทวมปอดได สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงัจะทําใหผิวแหงเปนขุยและสารละลายที่เขมขนจะทําใหมีฤทธิ์กัดกรอน ทําใหเกดิผ่ืนแดง ปวด เปนแผลไหมอยางรุนแรง เปนจุดดางสีน้าํตาลบริเวณทีสั่มผัสถูกและทําใหผิวหนังดานขึน้ สารละลายเจือจางจะกอใหเกิดการระคายเคืองตอผิวหนังเพียงเล็กนอย กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนหรือกินสารนี้ในสภาพของแข็งหรือในสภาพที่มีความเขมขนสูงเขาไป จะทําใหระบบการยอยอาหารเกดิเปนแผลไหมอยางรุนแรงและมีอาการบวมน้ํา ชีพจรเตนเร็ว ความดนัโลหิตลดต่ําลงจนทําใหหมดสติและอาจถึงแกความตายได ถากลนืหรือกินสารที่มีความเขมขน 1% จะทําใหลําคอไหม คล่ืนไส อาเจียน และปวดทอง ที่ความเขมขน 2-3% จะทําใหเปนโรคโลหิตจาง และลําคอบวม ทําใหหายใจไมออก และทีค่วามเขมขน 4-5% ไตถูกทําลาย สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตา สารละลายเขมขนจะกอใหเกิดอาการระคายเคืองอยางรุนแรง ทําใหการมองเห็นไมชดั และอาจจะทําใหตาบอดได การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ - การสัมผัสถูกผิวหนังนานๆ จะทําใหเกิดการระคายเคือง ช้ันไขมนัของผิวหนังถูกทําลายและทําใหผิวหนังอกัเสบ ทําใหเกดิอาการแพพิษแมงกานีสจากการหายใจเอาฝุนเขาไปมากๆ เปนอันตรายตอประสาทสวนกลาง เกิดอาการเชื่องชา งวงนอน และแขนขาออนแอไมมแีรง 25.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัวทางเคมี : สารนี้จะเสถียรภายใตสภาวะปกตขิองการใชและการเก็บ - สารที่เขากันไมได : ผงโลหะ, แอลกอฮอล, สารอารเซไนท, โบรไมด, ไอโอไดด, ฟอสฟอรัส, กรดกํามะถัน, สารประกอบอินทรีย, กํามะถัน, ถานกัมมันต, ไฮดราย, ไฮโดรเจนเปอรออกไซดเขมขน, เหล็ก, เกลือเมอรคิวรัส, ไฮโปฟอสไฟท, ไฮโปซัลไฟท, เปอรออกไซด และออกซาเลท (OXALATES) - สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความรอน เปลวไฟ แหลงจดุไฟ และสารที่เขากันไมได

Page 134: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

134

- สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : เมื่อถูกความรอนจะสลายตวัใหไอโลหะที่เปนพิษออกมา - อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร : จะไมเกิดขึ้น 25.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : - จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : - คา LEL % : - UEL % : - LFL % : - UFL % : - NFPA Code : - สารนี้เปนสารออกซิไดซอยางแรง สามารถระเบิดไดเมือ่เกิดการสั่นสะเทือนอยางแรง หรือสัมผัสถูกความรอน เปลวไฟ หรือมีการเสียดสี - การสัมผัสกับสารออกซิไดซจะกอใหเกดิการเผาไหมอยางรุนแรง - ภาชนะบรรจทุี่ปดผนึกสนทิอาจเกิดระเบดิไดเมื่อไดรับความรอน - สารนี้ไมติดไฟ แตสารนี้เปนสารออกซิไดซอยางแรง ซ่ึงเมื่อสัมผัสกับความรอนที่เกดิจากการเกิดปฏิกิริยากับสารรีดิวซหรือสารที่สามารถลุกติดไฟไดจะทําใหเกิดการจดุติดไฟได - สารดับเพลิงในกรณีเกดิเหตุเพลิงไหม ใหใชน้ําฉีดเปนฝอยเพื่อปกคลมุไฟ - ใหฉีดน้ําเพื่อหลอเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสถูกเพลิงไหม และฉีดลางสวนที่หกร่ัวไหล หรือไอระเหยที่ยังไมติดไฟออกจากบริเวณที่เกิดเพลิงไหม - สารดับเพลิงชนิดอื่นๆ จะไมมีประสิทธิภาพดีกวาน้ํา แตใหหลีกเลี่ยงการไหลลนของน้ําเขาไปในทอระบายน้ําหรือทางน้ํา - ในเหตุการเกดิเพลิงไหม ใหสวมใสชุดปองกันสารเคมีและอุปกรณชวยหายใจชนดิมีถังอากาศในตัว (SCBA) พรอมกับหนากากแบบเต็มหนา 25.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะที่ปดมิดชดิ - เก็บภายในทีท่ี่เย็นและแหง มีการระบายอากาศในพืน้ทีอ่ยางด ี- ปองกันการเสียหายทางกายภาพและความชื้น - แยกเก็บออกจากสารที่เขากนัไมได สารตดิไฟได สารอนิทรีย หรือสารออกซิไดซไดงาย - แยกออกจากแหลงของความรอนหรือแหลงจุดติดไฟใดๆ - หลีกเลี่ยงการเก็บไวบนพืน้ไม - ภาชนะบรรจขุองสารนี้อาจกอใหเกิดอันตรายไดเมื่อเปนถังเปลาที่มีกากของเสียตกคางอยู เชน ฝุนของแข็ง - ใหสังเกตคําเตือนและขอควรระวังทั้งหมดที่ใหไวสําหรับสารนี้ - ชื่อทางการขนสง : โปแตสเซียมแมงกาเนต (POTASSIUM PERMANGANATE) - ประเภทอันตราย : 5.1

Page 135: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

135

- รหัส UN : 1490 25.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - วิธีการปฏิบตัิเมื่อเกิดอุบัติเหตุร่ัวไหล ใหเคลื่อนยายของที่จุดติดไฟทัง้หมดออกไป - ใหมกีารระบายอากาศในพืน้ที่ที่สารหกรัว่ไหล - ใหสวมใสอุปกรณปองกนัอันตรายสวนบุคคลที่เหมาะสม - ทําความสะอาดสวนที่หกร่ัวไหลเพื่อไมใหฝุนแพรกระจายไปในอากาศ - ลดฝุนในบรรยากาศและปองกันการทําใหฝุนฟุงกระจายโดยการทําใหช้ืนดวยน้ํา - อยาใชเครื่องมืออุปกรณที่ทาํใหเกดิประกายไฟ - เก็บสารที่หกร่ัวไหลเพื่อนํากลับไปใชใหม หรือนําไปกาํจัดและใสในภาชนะที่ปดแนนสนิท - การพิจารณากําจัด สารนี้ไมสามารถทําไดอยางปลอดภยัในการนําเอากลับคืนมาใชใหม จะตองจัดการเชนเดยีวกับกากของเสียและสงใหผูซ่ึงไดรับอนุญาตในการกําจัด 25.9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE)

ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : 25.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไปใหเคลื่อนยายผูปวยออกไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขัดใหออกซิเจนชวย แลวรีบนําสงไปพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: - ถากินหรือกลืนเขาไป อยากระตุนใหเกิดการอาเจียน ใหดื่มน้าํปริมาณมากๆ หามไมใหนําสิ่งใดเขาปากผูปวยที่หมดสติ แลวรับนําสงไปพบแพทย สัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนงั ใหฉีดลางผิวหนังทันทดีวยน้ําปริมาณมากๆ อยางนอย 15 นาที พรอมถอดเสื้อผาและรองเทาออก แลวรีบนาํสงไปพบแพทยทันที ลางเสื้อผากอนนํามาใชอีกครั้ง ทําความสะอาดรองเทาอยางทั่วถึงกอนนํามาใชอีกครั้ง สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตา ใหฉดีลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมากๆ อยางนอย 15 นาที พรอมกระพริบตาถี่ขณะทําการลาง แลวรีบนําสงไปพบแพทยทันท ี อ่ืน ๆ: -

Page 136: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

136

25.11 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม (Environmental Impacts) ผลในการฆาแบคทีเรีย , เปนอันตรายตอแหลงน้ําดื่ม , หามทิ้งลงสูระบายน้ํา , น้ําเสีย หรือดิน 25.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : - OSHA NO. : - วิธีการเก็บตวัอยาง : กระดาษกรอง หลอดเก็บตวัอยาง อิมพิน้เจอร วิธีการวิเคราะห : ช่ังน้ําหนัก สเปคโตโฟโตมิเตอร แกซโครมาโตกราฟฟ อะตอมมกิแอบซอปชั่น ขอมูลอ่ืน ๆ : 25.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 740 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา - " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา - " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 2770 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา - " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , - " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา 680 " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา - " 10. Source of Ignition หนา - " 11. "อ่ืน ๆ" http://chemtrack.trf.or.th " 25.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : 30 DOT Guide : 140 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

Page 137: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

137

26. Pyridine ชื่อเคมีท่ัวไป - ชื่อพองอื่นๆ Azabenzene ; Azine; Pyr สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 110-86-1 รหัส EC NO. 613-002-00-7 UN/ID No. 1282 รหัส RTECS UR 8400000 รหัส EUEINECS/ELINCS 203-809-9 ชื่อวงศ Heterocychlc ชื่อผูผลิต/นําเขา J.T.Baker แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 26.1 การใชประโยชน (Uses) - ใชเปนสารเคมีในหองปฏิบตัิการ (Laboratory reagent) 26.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 891 ( หนู) LC50(มก./ม3) : 29160 / 4 ชั่วโมง ( หน)ู IDLH(ppm) : 1000 ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : 5 PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : 5 TLV-STEL(ppm) : N/E TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนดิที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ :

Page 138: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

138

26.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ของเหลว สี : ใส,ไมมีสี- เหลือง กล่ิน : เฉพาะตัว นน.โมเลกุล : 79.10 จุดเดือด(0ซ.) : 115 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -42 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 0.98 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : 2.7 ความหนดื(mPa.sec) : 0.95 ความดันไอ(มม.ปรอท) : 16 ที่ 20 0ซ ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : 100 ที่ 21 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : 8.5 ที่ - 0ซ แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 3.24 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.31 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : 26.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเขาไปจะทําใหปวดศีรษะ คล่ืนไส อาเจียน เวยีนศีรษะ งวงซึม ระบบหายใจลมเหลว ความดันโลหิตต่ํา และหายใจติดขดั สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงั สารนี้สามารถดูดซึมผานผิวหนัง ทําใหเกดิการระคายเคือง เกิดผ่ืนแดง ปวดแสบปวดรอน และเกิดแผลไหมอยางรนุแรง กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนกินเขาไปจะเปนอันตรายและอาจทําใหเสียชีวิตได มีอาการปวดศีรษะ คล่ืนไส อาเจียน ปวดทอง ทวงรวง มนึงง ระคายเคอืงตอกระเพาะอาหาร และลําไส สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตา การระคายเคืองอยางรุนแรงหรือแผลไหม ตาแดง ปวดตา และสายตาพรามัว การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ - สารนี้ไมมีระบุในบัญชีรายช่ือสารกอมะเร็งของ NTP IARC OSHA - การสัมผัสอยางเรื้อรัง มีผลทําใหไตและตบัถูกทําลาย - อวัยวะเปาหมาย : ระบบประสาทสวนกลาง ตับ ไต ระบบทางเดินอาหาร ผิวหนัง 26.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัว : สารนี้จะมีความเสถียร - สารที่เขากันไมได : สารออกซิไดซอยางแรง กรดเขมขน ฟลูออรีน สารประกอบฮาโลเจน กรดไนตริก ไนโตรเจนออกไซด - สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความรอน เปลวไฟ แหลงจดุติดไฟ แสงสวาง ซัลเฟอรออกไซด แอนไฮไดรส - สารที่เกิดจากการสลายตัว : ไนโตรเจนออกไซด ไซยาไนด แอมโมเนีย คารบอนมอนนอกไซด คารบอนไดออกไซด - อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร : จะไมเกิดขึ้น

Page 139: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

139

26.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : 18 จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : 481 คา LEL % : 1.8 UEL % : 12.4 LFL % : - UFL % : - NFPA Code :

- ไอระเหยจะไหลแพรกระจายไปบนพื้นสูแหลงจุดติดไฟ และเกิดการติดไฟยอนกลับมาได - ภาชนะบรรจทุี่ปดสนิทเมื่อสัมผัสกับความรอนอาจจะเกิดการระเบิดขึ้นได - การสัมผัสกับสารออกซิไดซอยางแรง จะทําใหเกิดเพลิงไหมได จะเกิดกาซพษิขณะเกิดเพลิง เชน ออกไซดของไนโตรเจน ไซยาไนด แอมโมเนีย คารบอนมอนนอกไซด คารบอนไดออกไซด - สารนี้ไวตอการเกิดไฟฟาสถิตย - สารดับเพลิง ใหใชโฟมแอลกอฮอล ผงเคมีแหง หรือคารบอนไดออกไซด น้ําจะใชในการฉีดดับเพลิงไมไดผล - ใชน้ําเปนฝอนเพื่อหลอเย็นควบคุมภาชนะบรรจุที่ถูกเพลิงไหม - ขั้นตอนการดับเพลิงรุนแรง จะตองสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายทีเ่หมาะสมและอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) พรอมกับหนากากแบบเต็มหนา - ใหเคลื่อนยายภาชนะบรรจอุอกจากพืน้ทีท่ี่เกิดเพลิงไหม ถาทําไดโดยปราศจากความเสี่ยงตอการเกิดอันตราย 26.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมดิชิด - เก็บในที่เยน็ และแหง มีการระบายอากาศอยางเพยีงพอ - เก็บในบริเวณที่สําหรับเกบ็ของเหลวไวไฟ - เก็บสารนี้ใหหางจากแสง - มีการตอเชื่อมระหวางภาชนะบรรจุ (Bonding) การตอสายลงดิน (Grounding) เมื่อมีการถายเทสารนี้ - ชื่อในการขนสง : Pyridine - ประเภทอันตราย : 3.2 (ของเหลวไวไฟ) - รหัส UN : 1282 - ประเภทการบรรจุหีบหอ : กลุม II

Page 140: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

140

26.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - ขั้นตอนการในการปฏิบัติในเหตุการณ หกร่ัวไหลหรือการปลอย ออกมาใหสวมใสอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) และชุดปองกันแบบคลุมตัว - ปดกั้นแหลงจุดติดไฟ เปลวไฟ การสูบบุหร่ีหรือทําใหเกิดเปลวไฟในบริเวณนี ้- ใหหยดุการรัว่ไหลถาสามารถทําไดโดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย - ปดคลุมสารที่หกร่ัวไหลดวยทรายหรือวสัดุอ่ืนที่ไมติดไฟ และเก็บใสในภาชนะบรรจุสําหรับนําไปกําจัดตอไป - ใหฉีดลางบรเิวณทีห่กร่ัวไหลดวยน้ํา - ใหใชน้ําฉีดเปนฝอยละอองเพื่อลดการเกดิไอระเหย - วิธีการกําจัดใหกําจัดตามวธีิของหนวยงานราชการ และกฎระเบยีบที่เกี่ยวของกับสิ่งแวดลอม 26.9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : - การเลือกประเภทถุงมือ : แนะนําใหใชถุงมือที่ทํามาจากวัสดุประเภท Laminated film แตควรหลีกเลี่ยงถุงมือประเภท Nitrile,Unsupported Neoprene , Polyvinyl Chloride ,Neoprene/Natural Rubber Blend - ขอแนะนําในการเลือกประเภทหนากากปองกันระบบหายใจ - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 125 ppm : ใหใชอุปกรณชวยหายใจประเภททีใ่ชการสงอากาศสําหรับการหายใจ ซ่ึงมีอัตราการไหลของอากาศแบบตอเนื่อง โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 25 หรือใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) ซ่ึงใชสารเคมีประเภทที่เหมาะสมเปนตัวดดูซับในการกรอง (Cartridge) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 25 - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 50 ppm : ใหเลือกใชอุปกรณปองกันระบบหายใจ ซ่ึงใชสารเคมีประเภทที่เหมาะสมเปนตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) พรอมหนากากแบบเตม็หนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา (gas mask) ซ่ึงมี Canister สําหรับปองกันไอระเหยของสารอินทรีย โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอม tight - fitting facepiece โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 1000 ppm : ใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดนัภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 2000 - ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเขาไปสัมผัสกับสารที่ไมทราบชวงความเขมขน หรือการเขาไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เปน IDLH : ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตวั (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดนัภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode)

Page 141: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

141

โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 10,000 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดันภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใชการทํางานรวมกันระหวางอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเปนบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10,000 26.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจ ใหชวยผายปอด ถาผูปวยหายใจลําบาก ใหออกซิเจน นําสงไปพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: - ถากลืนหรือกินเขาไปอยากระตุนทําใหเกดิการอาเจียน ถามีสติอยูใหดื่มน้ําปริมาณมาก ๆ และนําสงไปพบแพทย สัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนงัใหฉีดลางดวยน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตา ใหฉดีลางทันทีดวยน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที และนําสงไปพบแพทย อ่ืน ๆ: - 26.11 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม (Environmental Impacts) - หามทิ้งลงสูระบบน้ํา น้ําเสยี หรือดิน 26.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : 1613 OSHA NO. : 7 วิธีการเก็บตวัอยาง : หลอดเก็บตัวอยาง วิธีการวิเคราะห : แกซโครมาโตกราฟฟ ขอมูลอ่ืน ๆ : - การเกบ็ตวัอยางใช : coconut shell charcoal 100 mg / 50 mg - อัตราการไหลสําหรับเก็บตัวอยาง : 0.01 ถึง 1 ลิตรตอนาที - ปริมาตรเก็บตัวอยางต่ําสุด-สูงสุด : ต่ําสุด 18 ลิตร สูงสุด 150 ลิตร

Page 142: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

142

26.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 765 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา 272-273 " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา 1.305 " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา 325-83 " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 2831 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา 50 " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , 0323 " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา 699 " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา 50 " 10. Source of Ignition หนา 119 " 11. "อ่ืน ๆ" www.chemtrack.trf.or.th " 26.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide :19 DOT Guide : - - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศพัทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

Page 143: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

143

27. Rotenone ชื่อเคมี IUPAC: 1,2,12,12A-tetrahydro-2alpha-isopropenyl-8,9-dimethoxy(1)benzopyrano(3,4-b)furo(2,3-h)(1)benzopyran-6(6aH)-one ชื่อเคมีท่ัวไป Rotenone ชื่อพองอื่นๆ Extrax; Rotocide ; Tubatoxin ; Cube root extract ; Fish-tox ; Cube extract ; (2R,6a5,12axS)-1,2,12,12a-tetrahydro-2a-isopropenyl-8,9-dimethoxy(1)benzopyrano(3,4-b)furo(2,3-H)(1)benzopyran-6(6aH)-one; Tubatoxin; Derris; [2R-(2alpha,6aalpha,12aalpha)]-1,2,12,12a-tetrahydro-8,9-dimethoxy-2-(1-methylethenyl)-[1]Benzopyrano[3,4-b]furo[2,3-h][1]benzopyran-6(6aH)-one; Noxfish; Noxfire; Foliafume; Nusyn-Noxfish; PB-Nox; Chem-Fish; (-)-rotenone; Barbasco; Chem-mite; Cubor; Dactinol; Deril; Derrin; Dri-kil; Extrax; Green cross warble; Haiari; Mexide; Nicouline; Paraderil; Pro-nox fish; RO-KO; Ronone; Rotefive; Rotefour; Rotessenol; Rotocide; Tubotoxin; 1,2,12,12A-tetrahydro-8,9-dimethoxy-2-(1-methylethenyl)-(1)benzopyrano(3,4-b)furo(2,3-h)(1)benzopyran-6(6aH)-one, (2R-(2alpha, 6alpha-12aalpha))-; Synpren; Prenfish; Nusyn; Benzopyrano[3,4-b]furo[2,3-h][1]benzopyran-6(6aH)-one, 1,2,12,12a-tetrahydro-8,9-dimethoxy-2-(1-methylethenyl)-, ([2.2.1]R-([2.2.1]alpha,6aalpha,[2.2.1][2.2.1]aalpha))-; Hydrogenated rotenone; Rotenone, hydrogenated; สูตรโมเลกุล

รหัส IMOCAS No. 83-79-4 รหัส EC NO. - UN/ID No. 2811 รหัส RTECS DJ 2800000 รหัส EUEINECS/ELINCS - ชื่อวงศ - ชื่อผูผลิต/นําเขา - แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 27.1 การใชประโยชน (Uses) - ใชเปนยาฆาแมลง 27.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 60 ( หน)ู LC50(มก./ม3) : - / - ชั่วโมง ( -) IDLH(ppm) : 150 ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : 0.31 PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : -

Page 144: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

144

TLV-TWA(ppm) : 0.31 TLV-STEL(ppm) : - TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนดิที่ 1 ชนิดที ่2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ : สํานักงานอาหารและยา 27.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ผง,ของแข็ง สี : เหลืองถึงน้ําตาล กล่ิน : - นน.โมเลกุล : 394.45 จุดเดือด(0ซ.) : 210-220 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 165-166 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 1.27 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : - ความหนดื(mPa.sec) : - ความดันไอ(มม.ปรอท) : <0.00004 ที่ - 0ซ ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : ไมละลายน้ํา ที่ - 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : - ที่ - 0ซ แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 16.13 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.06 ppm ที่ 25 0ซ ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : -ละลายในแอลกอฮอล อะซิโตน คารบอนเตตระคลอไรด คลอโรฟอรม อีเธอร และสารละลายอินทรียอ่ืน ๆ 27.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเขาไป จะเปนอันตราย ทําใหคล่ืนไส อาเจียน และมีอาการสั่น และระคายเคืองตอเยื่อบ ุสัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงั จะกอใหเกิดการระคายเคือง กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนหรือกินเขาไป จะมีผลตอกระเพาะอาหาร และลําไส สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตา จะกอใหเกดิการระคายเคือง การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ - ผลการเรื้อรัง จะทําใหเปนเนื้องอกและมีผลตอทารกในครรภ ผลของการกลืนหรือกินเขาไป จะมีผลกระทบตอกระเพาะลําไส ทําลายตับ และไต - อาการเฉียบพลันเมื่อสัมผัสกับสารนี้ หมดสติ คล่ืนไส อาเจียน และตัวส่ัน และระคายเคืองตอเยื่อเมือกของผิวหนัง และทางเดินหายใจ

Page 145: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

145

27.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - สารที่เขากันไมได : สารออกซิไดซอยางแรง 27.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : - จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : - คา LEL % : - UEL % : - NFPA Code : LFL % : - UFL % : - - ความไวไฟ : ไมเปนอันตราย - การระเบิด : ไมเปนอันตราย - สารดับเพลิง : คารบอนไดออกไซด ผงเคมีแหง หรือโฟม - สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัวเนื่องจากความรอน : ควันกรด ฟมู/กาซที่กอใหเกิดการระคายเคือง 27.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมดิชิด - เก็บในบริเวณที่เยน็และแหง - เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพยีงพอ - ใหลางทําความสะอาดรางกาย ใหทั่วถึงภายหลังทําการเคลื่อนยาย - ใหสังเกตคําเตือนและขอควรระวังทั้งหมดที่ใหไวสําหรับสารนี้ 27.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - วิธีการปฏิบตัิเมื่อสารหกรั่วไหล ใหดดูซับสารที่หกร่ัวไหลดวยทราย โดโลไมต เวอรคิวไลต หรือสารดูดซับอื่น ๆ และตักกวาดเก็บใสภาชนะบรรจุที่เหมาะสมสําหรับนําไปกําจัด - ใหสวมใสอุปกรณปองกนัอันตรายที่เหมาะสม - ถาเปนกรดหกใหทํากรดใหเปนกลางดวยโซดาแอซ แลวใชวัสดุดูดซบัสารที่หก ตักใสในภาชนะสําหรับนําไปกําจดั หรือลางดวยน้ําปริมาณมาก ๆ - ถาเปนดางหก ทําใหเปนกลางดวย NaHSO4 และใชวสัดุดูดซับสารที่หก ตักเก็บใสภาชนะสําหรับนําไปกําจัด หรือฉีดลางดวยน้ําปริมาณมาก ๆ - การพิจารณาการกําจัด : ปฎิบัติใหเปนไปตามกฎระเบยีบที่ทางราชการกําหนด 27. 9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : - ขอแนะนําในการเลือกประเภทหนากากปองกันระบบหายใจ

Page 146: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

146

- สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 50 mg/m3 : ใหเลือกใชอุปกรณปองกนัระบบหายใจ ซ่ึงใชสารเคมีประเภทที่เหมาะสมเปนตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10 หรือ ใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 125 mg/m3 : ใหใชอุปกรณชวยหายใจประเภททีใ่ชการสงอากาศสําหรับการหายใจ ซ่ึงมีอัตราการไหลของอากาศแบบตอเนื่อง โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 25 หรือใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 50 ซ่ึงมี Cartridge สําหรับปองกันไอระเหยของสารอินทรีย ฝุน ละอองไอ และฟูม โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 25 - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 250 mg/m3 : ใหเลือกใชอุปกรณปองกนัระบบหายใจ ซ่ึงใชสารเคมีประเภทที่เหมาะสมเปนตัวดดูซับในการกรอง (Cartridge) พรอมหนากากแบบเต็มหนา และอปุกรณกรองอนุภาคประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) โดยแนะนาํใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา (gas mask) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือ ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอม tight-fitting facepiece ซ่ึงมี Cartridge สําหรับปองกันไอระเหยของสารอินทรีย และอุปกรณกรองอนุภาคประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือ ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอม tight-fitting facepiece ซ่ึงมีอัตราการไหลแบบตอเนือ่ง โดยแนะนาํใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือในกรณทีี่เกดิเหตุฉุกเฉิน หรือการเขาไปสัมผัสกับสารที่ไมทราบชวงความเขมขน หรือการเขาไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เปน IDLHพรอมหนากากแบบเต็มหนา โดยแนะนาํใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือ ใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 - ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเขาไปสัมผัสกับสารที่ไมทราบชวงความเขมขน หรือการเขาไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เปน IDLH : ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตวั (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดนัภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 10,000 หรือ ใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดันภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือ แบบที่ใชการทํางานรวมกันระหวางอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเปนบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10,000 - ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉิน : ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา และอุปกรณกรองอนุภาคอนภุาคประสิทธิสูง (HEPA filtre) ใหใชอุปกรณที่เหมาะสมสําหรับในกรณกีารหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉินพรอมอปุกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตวั (SCBA) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50

Page 147: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

147

27.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มอีากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขดัใหออกซิเจนชวย นาํสงไปพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: - ถากลืนหรือกินเขาไป ใหดืม่น้ํา 1 ถึง 2 แกว ภายใน 15 นาที กระตุนใหเกิดการอาเจียนและนาํสงไปพบแพทย สัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนงั ใหถอดเสื้อผาที่เปรอะเปอนสารออก ลางดวยสบูและน้ําปริมาณมาก ๆ และนําสงไปพบแพทย สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตา ใหลางตาดวยน้ําปริมาณมาก ๆ หลาย ๆ คร้ัง นําสงไปพบแพทย อ่ืน ๆ: 27.11 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม (Environmental Impacts) - หามทิ้งลงสูแหลงน้ํา น้ําเสีย หรือดิน - สารนี้เปนพษิตอส่ิงแวดลอม และควรสนใจเปนพิเศษตอน้ําและปลา 27.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : 5007 OSHA NO. : - วิธีการเก็บตวัอยาง : กระดาษกรอง วิธีการวิเคราะห : แกซโครมาโตกราฟฟ ขอมูลอ่ืน ๆ : - การเก็บตวัอยางใช 1 mm PTFE membrane - อัตราการไหลสําหรับเก็บตัวอยาง 1 ถึง 4 ลิตรตอนาที - ใช HPLC, UV DETECTION 27.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา - " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา 274 " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา - " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 2885 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมใีนอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา 50 " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , 0944 " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา - "

Page 148: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

148

9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา 50 " 10. Source of Ignition หนา - " 11. "อ่ืน ๆ" http://chemtrack.trf.or.th " 27.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : 39 DOT Guide : 154 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

Page 149: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

149

28. Sodium carbonate ชื่อเคมี IUPAC: - ชื่อเคมีท่ัวไป Sodium carbonate ชื่อพองอื่นๆ - สูตรโมเลกุล

รหัส IMOCAS No. 497-19-8 รหัส EC NO. 011-005-00-2 UN/ID No. - รหัส RTECS VZ 4050000 รหัส EUEINECS/ELINCS 207-838-8 ชื่อวงศ - ชื่อผูผลิต/นําเขา Merck.Ltd แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 28.1 การใชประโยชน (Uses) 28.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 4090 ( หน)ู LC50(มก./ม3) : 2300 / 2 ช่ัวโมง ( หน)ู IDLH(ppm) : - ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : - PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : - TLV-STEL(ppm) : - TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนดิที่ 1 ชนิดที ่2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนดิที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ :

Page 150: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

150

28.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ผง สี : สีขาว กล่ิน : ไมมีกล่ิน นน.โมเลกุล : 105.99 จุดเดือด(0ซ.) : - จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแขง็(0ซ.) : ~ 891 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 2.53 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : - ความหนดื(mPa.sec) : - ความดันไอ(มม.ปรอท) : - ที่ - 0ซ ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : 21 ที่ 20 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : 11.5 ที่ - 0ซ แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 4.33 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.23 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : - 28.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเขาไปจะกอใหเกดิการระคายเคืองชองทางหายใจสวนบน ไอ หลอดลมตอนบนอักเสบ สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงัจะกอใหเกิดการระคายเคืองผิวหนัง มีอาการปวดแสบปวดรอน กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนหรือกินเขาไปจะกอใหเกดิการระคายเคือง ทําใหไอ สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตาจะกอใหเกดิการระคายเคอืงตา การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ - สารนี้มีผลตออวัยวะเจริญพันธ 28.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - สารที่เขากันไมได : กรดแก อะลูมินัม ฟลูออรีน โลหะอัลคาไลท สารประกอบไนโตร กรดซัลฟูริกเขมขน - สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความชื้น - สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : คารบอนมอนนอกไซด คารบอนไดออกไซด 28.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : - จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : - คา LEL % : - UEL % : - NFPA Code : LFL % : - UFL % : - - สารนี้ไมไวไฟ - กรณีเกิดเพลิงไหมใหเลือกใชสารดับเพลิง/วิธีการดับเพลิงที่เหมาะสมสําหรับสภาพเกิดเพลิงโดยรอบ - เมื่อเกิดเพลิงไหมจะเกดิควนัพิษออกมา - กรณีเกิดเพลิงไหมใหสวมใสอุปกรณชวยหายใจชนิดมถัีงอากาศในตวั (SCBA)

Page 151: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

151

28.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมดิชิด - เก็บในบริเวณที่เยน็และแหง ที่อุรหภูมิ +2 ถึง +8 องศาเซลเเซียล - เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพยีงพอ - ใหสังเกตคําเตือนและขอควรระวังทั้งหมดที่ใหไวสําหรับสารนี้ - เก็บหางจาก ความชื้น 28.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - วิธีการปฏิบตัิในกรณีเกดิการหกรั่วไหล อพยพคนออกจากบริเวณที่สารหกรั่วไหล - เก็บสวนที่หกร่ัวไหลในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิดเพื่อนําไปกําจัด - หลีกเลี่ยงการทําใหเกดิผงฝุน - ลางบริเวณสารหกรั่วไหล หลังจากสารเคมีถูกเก็บกวาดเรียบรอยแลว - ใหสวมใสอุปกรณปองกนัอันตรายที่เหมาะสม - การพิจารณาการกําจัด : ปฏิบัติใหเปนไปตามกฎระเบยีบที่ทางราชการกําหนด 28.9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE)

ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : 28.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไปใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มอีากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขดัใหออกซิเจนชวย นาํสงไปพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: - ถากลืนหรือกินเขาไป ใหผูปวยบวนลางปากดวยน้ํา นําสงไปพบแพทย สัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนงั ใหฉีดลางผิวหนังทันทดีวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที พรอมถอดเสื้อผาและรองเทาที่ปนเปอนสารเคมีออก สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตา ใหฉดีลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที ใชนิว้ถางแยกเปลือกตาออก อ่ืน ๆ:

Page 152: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

152

28.11 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม (Environmental Impacts) - ไมกอใหเกดิผลกระทบตอระบบนิเวศน หากมีการใชและจัดการกับผลิตภัณฑอยางเหมาะสม 28.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : - OSHA NO. : - วิธีการเก็บตวัอยาง : กระดาษกรอง หลอดเก็บตวัอยาง อิมพิ้นเจอร วิธีการวิเคราะห : ช่ังน้ําหนัก สเปคโตโฟโตมิเตอร แกซโครมาโตกราฟฟ อะตอมมิกแอบซอปชั่น ขอมูลอ่ืน ๆ : 28.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 792 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา - " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา - " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา - " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา - " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , - " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา - " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา - " 10. Source of Ignition หนา - " 11. "อ่ืน ๆ" http://chemtrack.trf.or.th " 28.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : - DOT Guide : - - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

Page 153: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

153

29. Sodium dichromate ชื่อเคมี IUPAC: Disodium dichromate ชื่อเคมีท่ัวไป Sodium dichromate ชื่อพองอื่นๆ Dichromic acid, disodium salt ; Chromic acid (H2Cr2O7), disodium salt; Sodium Bichromate - Carc.; สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 10588-01-9 รหัส EC NO. - UN/ID No. 3085 รหัส RTECS - รหัส EUEINECS/ELINCS - ชื่อวงศ - ชื่อผูผลิต/นําเขา JT.BAKER Inc., SAF-T.DATA แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 29.1 การใชประโยชน (Uses) - ใชในกระบวนการแยกสารดวยไฟฟา (eletrochemical) และทําใหสารแขวนลอย 29.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 50 ( หน)ู LC50(มก./ม3) : - / - ชั่วโมง ( -) IDLH(ppm) : - ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : - PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : 0.0082 TLV-TWA(ppm) : 0.0041 TLV-STEL(ppm) : - TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนดิที่ 1 ชนิดที ่2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะส้ัน - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนดิที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ :

Page 154: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

154

29.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ผลึก ของแข็ง สี : แดงสม กล่ิน : ไมมีกล่ิน นน.โมเลกุล : 298.0 จุดเดือด(0ซ.) : 400 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 357 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 2.35 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : - ความหนดื(mPa.sec) : - ความดันไอ(มม.ปรอท) : 0 ที่ 20 0ซ ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : 73 ที่ - 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : 3.5 ที่ - 0ซ แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 0.082 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 12.195 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : 29.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเขาไป เนื่องจากสารนี้มีฤทธิ์กัดกรอน จะกอใหเกิดเนื้อเยื่อของเยื่อบุและทางเดินหายใจสวนบนอยางรุนแรง อาจทําใหเกดิแผลเปอยหรือทําใหโพรงจมูกทะลไุด จะกอใหเกดิอาการเจ็บคอ ไอ หายใจตดิขัด อาจทําใหเกดิอาการหอบหือ และการสัมผัสสารที่ความเขมขนสูงอาจทําใหเกิดน้ําทวมปอดได สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงั เนื่องจากสารนี้มีทธิ์กัดกรอน จะกอใหเกิดผ่ืนแดง ปวด และอาจเกิดแผลไหมรุนแรงได ฝุนและสารละลายเขมขนของสารนี้จะกอใหเกดิการระคายเคือง การสัมผัสกับผิวหนังทีแ่ตกจะกอใหเกิดแผลพุพอง หรือแผลเปอยได การดูดซึมของสารนี้ผานผิวหนังเขาสูรางกายจะกอใหเกิดพษิ และเกดิผลกระทบตอการทํางานของตับและไต รวมทั้งอาจทําใหเกิดภาวะภูมิไวตอการสัมผัสทางผิวหนัง กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนหรือกินสารนี้เขาไปจะกอใหเกดิแผลไหมบริเวณปาก ลําคอ และกระเพาะอาหาร และอาจทําใหเสยีชีวติได กอใหเกิดอาการเจ็บคอ อาเจียน ทองรวง กระเพาะอาหารและลําไสอักเสบ เสนเลือดหดตวั วิงเวยีนศีรษะ กระหายน้ํา เปนตะคริว หมดสติ เกิดความผิดปกติของการสูบฉีดโลหิต เปนไข ทําลายตับ และอาจทําใหเกดิภาวะไตลมเหลวอยางเฉยีบพลันได สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตาจะกอใหเกดิอาการตาแดง สายตาพรามัว ปวดตา และเกิดแผลไหมของเนื้อเยื่ออยางรุนแรง อาจทําใหเกิดการทําลายกระจกตา และทําใหตาบอดได การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ - เปนสารกอมะเร็งในมนุษย (NTP) - การสัมผัสสารเปนระยะเวลานานหรือการสัมผัสสารซํ้าๆ จะทําใหเกิดแผลเปอยและแผลทะลุของโพรงจมูก ระคายเคืองตอทางเดินหายใจ ทําลายตับและไต เกดิแผลเปอยหรือแผลพพุองที่ผิวหนงั การเกิดแผลพุพองอาการเริ่มแรกจะไมมีอาการเจ็บปวดแตสารจะคอยๆเกดิการทําลายลึกเขาจนถึงกระดกู , สารนี้เปนสารกอมะเร็งในมนุษย

Page 155: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

155

29.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัวทางเคมี : สารนี้มีความเสถียรภายใตสภาวะปกติของการใชและการเก็บรักษา - สารที่เขากันไมได : ไฮดรอกซีน อะซิตกิแอนไฮดราย เอททานอล ไตรไนโตรโทลูอีน ไฮดรอกซลีามัน กรดเขมขน สารที่ไวไฟ สารอินทรียหรือสารที่สามารเกิดปฏิกิริยาออกซิไดสไดงาย เชน กระดาษ ไม ซัลเฟอร อลูมินัม พลาสติก - สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความรอน และสารที่เขากันไมได - สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : กาซโครเมียมออกไซด - อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร : จะไมเกิดขึ้น 29.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : - จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : - คา LEL % : - UEL % : - LFL % : - UFL % : - NFPA Code :

- สารนี้ไมไวไฟ แตสารนี้เปนสารออกซิไดสอยางแรง ซ่ึงสามารถเกิดปฏิกิริยาคายความรอนกับสารรีดิวซทําใหเกดิการลุกติดไฟได - การกระแทกอยางแรง การสัมผัสถูกความรอน การเสียดสี หรือการสัมผัสกับประกายไฟอาจกอใหเกิดการระเบิดได - กรณีเกิดเพลิงไหมใหเลือกใชสารดับเพลิง/วิธีการดับเพลิง ที่เหมาะสมสําหรับสภาพการเกิดเพลิงโดยรอบ - ใหใชน้ําฉีดหลอเปนฝอยเพื่อหลอเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสถูกเพลิงไหม - ใชน้ําฉีดหลอหลอเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสถูกเพลิงไหมจนกระทั้งไฟดับหมด - กรณีเกิดเพลิงไหมใหสวมใสอุปกรณชวยหายใจชนิดมถัีงอากาศในตวั (SCBA) และชุดปองกนัสารเคมีพรอมหนากากแบบเต็มหนา 29.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในบริเวณที่แหงและเกบ็แยกออกจากสารที่สามารถติดไฟได สารอินทรีย สารที่สามารถออกซิไดสไดงาย - การเคลื่อนยายและการเก็บรักษาจะตองมกีารปองกันความเสียหายทางกายภาพ - หลีกเลี่ยงการเก็บสารนี้ไวบนพื้นไม

Page 156: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

156

- ใหสวมใสอุปกรณปองกนัอันตรายโดยเฉพาะการเขาไปบํารุงรักษารอยแตกราวภายใน หรือที่ซ่ึงมีการสัมผัสสารมากเกินกวาทีก่ําหนด - ใหทําการลางมือทุกครั้งกอนการกินอาหาร ดื่มน้ํา หรือสูบบุหร่ี - ใหลางทําความสะอาดรางกาย ใหทั่วถึงภายหลังทําการเคลื่อนยาย - ภาชนะบรรจขุองสารที่เปนถังเปลา แตมีกากสารเคมีตกคางอยู เชน ฝุน ของแข็ง อาจเปนอันตรายได - ใหสังเกตคําเตือนและขอควรระวังทั้งหมดที่ใหไวสําหรับสารนี้ - ชื่อในการขนสง : Oxidation Solid , Corrosive , N.O.S. (Sodium bichromate) - ประเภทอันตราย : 5.1 , 8 - รหัสผลิตภัณฑ : UN 3085 - กลุมการบรรจุ : II - หลีกเลี่ยงการสัมผัสสารที่ความเขมขนสูงเปนระยะเวลานาน 29.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - วิธีการปฏิบตัิในกรณีเกดิการหกรั่วไหล ใหจดัใหมกีารระบายอากาศในบริเวณที่หกร่ัวไหล - เก็บสวนที่หกร่ัวไหลในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิดเพื่อนําไปกําจัด - ใหใชการดดูหรือการกวาดขณะชื้นเพื่อหลีกเลี่ยงการแพรกระจายของฝุน - ใหสวมใสอุปกรณปองกนัอันตรายที่เหมาะสม - การพิจารณาการกําจัด : ปฎิบัติใหเปนไปตามกฎระเบยีบที่ทางราชการกําหนด 29.9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE)

ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกนัอันตรายสวนบคุคล(PPD/PPE) : 29.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขดัใหออกซิเจนชวย แลวนําสงไบพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: ถากลืนหรือกินเขาไป อยากระตุนใหเกดิการอาเจียน ใหผูปวยดื่มน้ําปริมาณมาก หามนําสิ่งใดเขาปากผูปวยทีห่มดสติ นําสงไปพบแพทยทนัท ี

Page 157: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

157

สัมผัสถูกผิวหนัง: ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังทันทีดวยน้าํปริมาณมากๆอยางนอย 15 นาที พรอมถอดเสื้อผาและรองเทาที่เปรอะเปอนสารเคมีออก นําสงไปพบแพทย และใหซักทําความสะอาดเสื้อผาและรองเทากอนนํากลับมาใชใหม สัมผัสถูกตา : ถาสัมผัสถูกตาใหฉีดลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมากๆอยางนอย 15 นาที พรอมกระพริบตา ถ่ีๆขณะทําการลาง นําสงไปพบแพทย อ่ืน ๆ: 29.11 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม (Environmental Impacts) - เมื่อร่ัวไหลสูดิน สารนี้จะถกูชะลงสูน้ําใตดินได - เมื่อร่ัวไหลสูน้ํา คาดวาสารนี้ไมสามารถระเหยได - สารนี้จะสะสมในสิ่งมีชีวติไดในบางชวงความเขมขน - เมื่อร่ัวไหลสูอากาศ สารนี้อาจเกิดการสลายตัวแบบเปยกออกจากอากาศได - คาดวาสารนีจ้ะเปนพิษตอสัตวและพืชน้าํ 29.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : 7024 OSHA NO. : - วิธีการเก็บตวัอยาง : กระดาษกรอง วิธีการวิเคราะห : อะตอมมิกแอบซอปชั่น ขอมูลอ่ืน ๆ : - การเก็บตวัอยางใช : 0.8 um Cellulose ester membrane - อัตราการไหลสําหรับเก็บตัวอยาง : 1 ถึง 3 ลิตรตอนาที - ปริมาตรเก็บตัวอยางต่ําสุด-สูงสุด : ต่ําสุด 10 ลิตร สูงสุด 1000 ลิตร 29.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา - " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา - " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา - " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 2961 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันวีัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา - " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , - " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา - "

Page 158: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

158

9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา - " 10. Source of Ignition หนา - " 11. "อ่ืน ๆ" http://chemtrack.trf.or.th " 29.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : - DOT Guide : - - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

Page 159: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

159

30. Sodium dithionite ชื่อเคมี IUPAC: Sodium hydrosulfite ชื่อเคมีท่ัวไป Sodium dithionite ชื่อพองอื่นๆ Sodium sulphide hydrated สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 1313-84-4 รหัส EC NO. - UN/ID No. 1849 รหัส RTECS WE 1925000 รหัส EUEINECS/ELINCS - ชื่อวงศ Inorganic Sulphide ชื่อผูผลิต/นําเขา Caledron Laboratories Ltd. แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 30.1 การใชประโยชน (Uses) - ใชในหองปฏิบัติการเคมี 30.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 50 ( หน)ู LC50(มก./ม3) : - / - ชั่วโมง ( -) IDLH(ppm) : - ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : 10 PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : 10 TLV-STEL(ppm) : - TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนดิที่ 1 ชนิดที ่2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ :

Page 160: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

160

30.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ของแข็ง สี : ขาว-เหลืองออน กล่ิน : กล่ินกาซ ไขเนา นน.โมเลกุล : 240.18 จุดเดือด(0ซ) : 920 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : ~50 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 1.427 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : - ความหนดื(mPa.sec) : - ความดันไอ(มม.ปรอท) : - ที่ - 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : - ที่ - 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : ดางแก ที่ - 0ซ แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 9.82 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.10 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : 30.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเขาไป จะทาํใหเจ็บคอ ทําใหเกดิอาการไอ หายใจติดขดั การไดรับสารที่มีความเขมขนสูงหรือสัมผัสนานๆจะทําให เวียนศีรษะ คล่ืนไส อาเจียน ปอดบวม และอาจเสียชีวิตได สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงัจะกอใหเกิดการระคายเคือง อาการคัน เปนแผลไหม ปวดแสบปวดรอน กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนหรือกินเขาไปจะทําใหเกดิแผลที่ปาก ลําคอ และระบบทางเดินอาหาร คล่ืนไส ทองรวง ในกรณีรุนแรงอาจทําใหลําไสทะลุ และอาจเสียชีวิตได สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตาจะกอใหเกดิการระคายเคืองอยางรุนแรง เจ็บตา เปนแผลไหม และอาจทําใหตาบอดได การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ - ไมเปนสารกอมะเร็ง 30.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัวทางเคมี : สารนี้มีความเสถียรปานกลาง เปนสารดูดความชืน้ จะเปลีย่นสีเมื่อสัมผัสกับแสงและอากาศ ทําใหเกิดกาซไฮโดรเจนซัลไฟดหรือกาซไขเนาออกมา - สารที่เขากันไมได : กรอแร กรดอินทรีย สารออกซิไดซ เกลือ คารบอนไดอะโซเนยีม (Diazonium) N,N-dichloromethylamine - สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : ทําใหเกดิกาซไฮโดรเจนซัลไฟด และซัลเฟอรไดออกไซด - อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร : จะทําปฏิกิริยากับกรดทําใหเกิดกาซพษิ กาซไฮโดรเจนซลัไฟดที่ไวไฟ จะเกิดปฏิกิริยาอยางรนุแรงกับกาซออกซิไดซจะทําใหเกดิซัลเฟอรไดออกไซด ทําปฏิกิริยาที่ระเบิดไดกับเกลือไดอะโซเนียมและ N,N-dichloromethylamine จะทําปฏิกิริยากับคารบอนทําใหเกดิความรอน มีฤิทธิ์กัดกรอนสังกะสี อลูมิเนียม ทองแดง

Page 161: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

161

30.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : - จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : 260 คา LEL % : 4 UEL % : 44 LFL % : - UFL % : - NFPA Code : - สารนี้ทําการเผาไหมไดแตติดไฟยาก - อนุภาคที่ละเอียดที่แพรกระจายออกอาจเกิดระเบดิขึ้นได - การเผาไหมจะทําใหเกิดกาซไฮโดรเจนซลัไฟด ซ่ึงเปนกาซไวไฟสูงทําใหเสี่ยงตอการเกิดอัคคีภยัและการระเบิด - สารดับเพลิงใหใชคารบอนไดออกไซด โฟม ผงเคมีแหง - สารอันตรายจากการเผาไหม ทําใหเกิดกาซไฮโดรเจนซลัไฟด และซัลเฟอรไดออกไซด 30.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมดิชิด ปดภาชนะบรรจุทุกครั้งที่เลิกใชงานและเปนถังเปลา - เก็บในบริเวณที่เยน็และแหง และมีอากาศถายเทอยางดี - เก็บใหหางจากแหลงความรอน เปลวไฟ ผิวโลหะรอน - เก็บใหหางจากการสัมผัสกับแสงแดดโดยตรง - ปองกันความเสียหายทางกายภาพ - เก็บหางจากสารที่เขากันไมได - ตรวจสอบความเสียหายและการรั่วไหลอยางเปนระยะ - หลีกเลี่ยงการทําใหเกดิฝุน - เกบ็ในภาชนะบะจุทีเ่หมาะสม ติดฉลากบนภาชนะบรรจุ 30.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - ใหอพยพบุคคลที่ไมมีหนาที่เกี่ยวของออกจากบริเวณทีม่ีการหกรัว่ไหล -ใหหยดุการรัว่ไหล ถาสามารถทําไดโดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย - เก็บใสในภาชนะบรรจุและขนสงไปเก็บในที่ที่ปลอดภยั - ลางทําความสะอาดบริเวณหกรั่วไหลดวยน้ําและผงซักฟอก - การพิจารณาการกําจัด : ปฎิบัติใหเปนไปตามกฎระเบยีบที่ทางราชการกําหนด

Page 162: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

162

30.9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE)

ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกนัอันตรายสวนบคุคล(PPD/PPE) : 30.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มอีากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขดัใหออกซิเจนชวย นาํสงไปพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: - ถากลืนหรือกินเขาไป ใหผูปวยบวนลางปากดวยน้ําสะอาด ใหดื่มน้ํา 2-4 แกวเพื่อเจือจาง หามใหส่ิงใดๆเขาปากผูปวยทีห่มดสตหิรือไมรูสึกตัว ชักกระตุก นาํสงไปพบแพทย สัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนงั ใหฉีดลางผิวหนังทันทดีวยน้ําปริมาณมากๆ อยางนอย 15 นาที พรอมถอดเสื้อผาและรองเทาที่เปรอะเปอนสารเคมีออก ถาเกิดการระคายเคืองใหนําสงแพทย สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตา ใหฉดีลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที ใชนิว้ถางแยกเปลือกตาออกใหกวางเพื่อใหมั่นใจวาลางน้ําออกอยางทัว่ถึง นําสงไปพบแพทย อ่ืน ๆ: - 30.11 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม (Environmental Impacts) - 30.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : - OSHA NO. : - วิธีการเก็บตวัอยาง : กระดาษกรอง หลอดเก็บตัวอยาง อิมพิ้นเจอร วิธีการวิเคราะห : ชั่งน้ําหนกั สเปคโตโฟโตมิเตอร แกซโครมาโตกราฟฟ อะตอมมิกแอบซอปชั่น ขอมูลอ่ืน ๆ :

Page 163: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

163

30.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา - " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา - " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา - " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา - " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา - " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , - " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา - " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา - " 10. Source of Ignition หนา - " 11. "อ่ืน ๆ" http://chemtrack.trf.or.th " 30.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : 40 DOT Guide : 153 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

Page 164: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

164

31. Sodium fluoride ชื่อเคมี IUPAC: Sodium monofluoride ชื่อเคมีท่ัวไป Sodium fluoride ชื่อพองอื่นๆ Disodium difluoride; Floridine; Florocid; Villiaumite; NaF; Sodium hydrofluoride; Sodium monofluoride; Trisodium trifluoride; Alcoa sodium fluoride; Antibulit; Cavi-trol; Chemifluor; Credo; Duraphat; Fda 0101; F1-tabs; Flozenges; Fluoral; Fluorident; Fluorigard; Fluorineed; Fluorinse; Fluoritab; Fluorocid; Fluor-o-kote; Fluorol; Fluoros; Flura; Flura-gel; Flura-loz; Flurcare; Flursol; Fungol b; Gel II; Gelution; Gleem; Iradicav; Karidium; Karigel; Kari-rinse; Lea-cov; Lemoflur; Luride; Luride lozi-tabs; Luride-sf; Nafeen; Nafpak; Na frinse; Nufluor; Ossalin; Ossin; Osteofluor; Pediaflor; Pedident; Pennwhite; Pergantene; Phos-flur; Point two; Predent; Rafluor; Rescue squad; Roach salt; Sodium fluoride cyclic dimer; So-flo; Stay-flo; Studafluor; Super-dent; T-fluoride; Thera-flur; Thera-flur-n; Zymafluor; Les-cav; Sodium Fluoride, 99.9%; สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 7681-49-4 รหัส EC NO. - UN/ID No. 1690 รหัส RTECS - รหัส EUEINECS/ELINCS - ชื่อวงศ Metallic halide (inorganic salt) ชื่อผูผลิต/นําเขา Caledon Laboratories Ltd. แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 31.1 การใชประโยชน (Uses) - ใชฟอกขาวในอุตสาหกรรมกระดาษ ส่ิงทอ และใชเปนสารเคมีในหองปฏิบัติการ 31.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 64 ( -) LC50(มก./ม3) : - / - ชั่วโมง ( -) IDLH(ppm) : 146 ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : 1.46 PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : 1.46 TLV-STEL(ppm) : N/E TLV-C(ppm) : -

Page 165: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

165

พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนดิที่ 1 ชนิดที ่2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ : สํานักงานอาหารและยา 31.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ของแข็ง, ผลึก สี : ไมมีสี , ขาว กล่ิน : ไมมีกล่ิน นน.โมเลกุล : 41.99 จุดเดือด(0ซ.) : 1695 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 998 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 2.78 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : 1.45 ความหนดื(mPa.sec) : - ความดันไอ(มม.ปรอท) : ~ 0 ที่ - 0ซ ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : > 10 ที่ - 0ซ ความเปนกรด-ดาง(pH) : 7.4 ที่ - 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 1.72 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.58 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : 31.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเขาไปจะทําใหเกดิการระคายเคือง เจ็บคอ ไอ หายใจตดิขัด คล่ืนไส อาเจียน ทองรวง เกิดภาวะลําตวัเขียวคลํ้าเนื่องจากขาดออกซิเจน ออนเพลีย สารนี้ดูดซึมและเกิดผลกระทบตอระบบในรางกายได สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงัทําใหเกิดการระคายเคือง แผลไหม ผ่ืนแดง ปวดแสบปวดรอน แผลพุพอง และทําใหเนื้อเยื่อบริเวณที่สัมผัสถูกทําลาย กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนหรือกินเขาไปจะทําใหเจบ็คอ ปวดทอง ทองรวง เปนตะคริวในทอง คล่ืนไส อาเจียน ความดันโลหิตลดลง ออนเพลีย อาจทําใหเกิดการทําลายสมองและไตได และการสัมผัสที่ความเขมขนที่ทําใหเสียชีวิตได (5-10 g) และกอใหเกิดอาการกลามเนื้อออนเพลีย ชัก เกิดภาวะการทํางานไมประสานกัน หายใจตดิขัด ระบบหายใจและระบบไหลเวียนโลหิตทํางานผิดปกติ และทําใหเสียชีวิตได สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตา จะทําใหเกดิการระคายเคือง ตาแดง เจ็บตา สายตาพลามัวและอาจทําใหตาบอดได การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ - ผลกระทบตอการสัมผัสสารนี้เปนระยะเวลานานทางการหายใจจะกอใหเกิดอาการหายใจติดขดั ไอ อุณหภูมริางกายสูงขึ้น และเกดิภาวะลําตัวเขียวคลํ้าเนื่องจากขาดออกซิเจน

Page 166: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

166

31.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียรที่อุณหภมูิต่ํากวา 1800 องศาเซลเซียส - สภาวะที่ตองหลีกเลี่ยง : ไมมี - อันตรายจากการสลายตัว : เกิดออกไซดของคารบอนและไนโตรเจน ฟูม/กาซพิษของไฮโดรเจนและโซเดียมออกไซด - การเกดิปฏิกริิยา : จะทําปฏิกิริยากับกรดฟอมิคที่สามารถระเบิดได ทําปฏิกิริยารุนแรงกับอะซิโตนไนไตรสเซลูโลส สารนี้สามารถทําปฏิกิริยากับกรดทําใหเกดิไฮโดรเจนฟลูออไรดซึ่งเปนพิษและมีฤทธิ์กัดกรอนรุนแรง - สารที่เขากันไมได : สารออกซิไดซอยางแรง กรดแรเขมขน แกว 31.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : - จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : - คา LEL % : - UEL % : - LFL % : - UFL % : - NFPA Code :

- สารนี้จะเกิดติดไฟจากความรอน, ประกายไฟ เปลวไฟ - ไอระเหยของสารนี้อาจไหลแพรกระจายไปสูแหลงจุดติดไฟและเกดิติดไฟยอนกลับมาได - ภาชนะบรรจอุาจเกิดการระเบิดขึ้นไดจากความรอนและเปลวไฟ - ไอระเหยสามารถทําใหระเบิดไดทั้งในรมและกลางแจงหรือในทอ - อันตรายจากการเผาไหมจะเกิดฟูม/กาซพฒิของคารบอนมอนอกไซด คารบอนไดออกไซด และไอระเหย - สารดับเพลิงใหใชสารเคมแีหง คารบอนไดออกไซด ใชน้ําฉีดใหเปนฝอย และโฟม - ใหเคลื่อนยายภาชนะบรรจอุอกถาทําไดโดยปราศจากความเสี่ยง - ใชน้ําฉีดหลอเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสถูกเพลิง เพื่อปองกันการระเบดิใหออกหางจากดานทายของภาชนะบรรจุ - กรณีเกิดเพลิงไหมใหสวมใสอุปกรณชวยหายใจชนิดมถัีงอากาศในตวั (SCBA)

Page 167: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

167

31.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมดิชิด ปองกันการสัมผัสโดยตรงกับแสง และปองกันการเสียหายทางกายภาพ - เก็บในที่ที่เยน็ แหง มกีารระบายอากาศเปนอยางด ี- เก็บใหหางจากแหลงจดุติดไฟ เปลวไฟและการเอื้อมถึงของมือเด็ก และสารที่เขากันไมได - หลีกเลี่ยงการทําใหเกดิฝุน - ประเภทอันตราย : 6.1 , 9.2 - ประเภทบรรจุหีบหอ : กลุม III - รหัส UN : 1690 31.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - หยดุการรั่วไหลของสารถาสามารถหยุดไดโดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย - ดูดซับสารที่หกร่ัวไหลดวยทรายหรือวัสดุอ่ืน ๆ และเกบ็ใสในภาชนะบรรจุที่ปดมดิชิดสําหรับนาํไปกําจัด - หลีกเลี่ยงการสูบบุหร่ี, การดื่มหรือการกนิ - สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล (PPD/PPR) อยางเหมาะสม - การพิจารณาการกําจัด : ปฏิบัติใหเปนไปตามกฎระเบยีบที่ทางราชการกําหนด 31.9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : - ถุงมือใหเลือกใชวัสดุที่ทํามาจากไนไตร ยาง นีโอพริน PVC หรือซาราเนก TM - ขอแนะนําในการเลือกประเภทหนากากปองกันระบบหายใจ - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 12.5 mg/m3 : ใหใชหนากากปองกนัฝุนและละอองไอ โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 5 - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 25 mg/m3 : ใหใชหนากากปองกันฝุนและละอองไอ ซ่ึงเปนแบบ quarter mask โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 10 - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 62.5 mg/m3 : ใหใชอุปกรณชวยหายใจประเภทที่ใชการสงอากาศสําหรับการหายใจ ซ่ึงมีอัตราการไหลของอากาศแบบตอเนื่อง โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 25 หรือใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมอุปกรณกรองฝุน และละอองไอ โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 25 - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 125 mg/m3 : ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนาพรอมอุปกรณกรองอนภุาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50

Page 168: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

168

- สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 250 mg/m3 : ใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดนัภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 2000 - ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเขาไปสัมผัสกับสารที่ไมทราบชวงความเขมขน หรือการเขาไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เปน IDLH : ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตวั (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดนัภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 10,000 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดันภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใชการทํางานรวมกันระหวางอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเปนบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10,000 - ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉิน : ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมอุปกรณกรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) และพรอมหนากากแบบเต็มหนา หรือใหใชอุปกรณที่เหมาะสมสําหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉินพรอมอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนาํใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 31.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไปใหเคลื่อนยายผูปวยไปยังที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ แลวนําไปพบแพทยโดยดวน ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาผูปวยหายใจติดขัดใหออกซิเจนชวย กินหรือกลืนเขาไป: - ถากลืนหรือกินเขาไป ใหบวนลางปากดวยน้ําสะอาดและนําผูปวยไปพบแพทยทันท ี สัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนงั ใหฉีดลางออกดวยน้ําปรมิาณมาก ๆ สัมผัสถูกตา : - การสัมผัสถูกตา ใหฉีดลางออกดวยน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที อ่ืน ๆ: - 31.11 ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม (Environmental Impacts) - หามทิ้งลงสูระบบน้ํา น้ําเสยี หรือดิน - ไมกอใหเกดิผลกระทบตอระบบนิเวศน หากมีการใชและจัดการกับผลิตภัณฑอยางเหมาะสม 31.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : 7902 , 7906 OSHA NO. : ID 110 วิธีการเก็บตวัอยาง : กระดาษกรอง หลอดเก็บตวัอยาง อิมพิ้นเจอร วิธีการวิเคราะห : ช่ังน้ําหนัก สเปคโตโฟโตมิเตอร แกซโครมาโตกราฟฟ อะตอมมกิแอบซอปชั่น

Page 169: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

169

ขอมูลอ่ืน ๆ : - การเก็บตวัอยางใช 0.8 cellulose ester filter - อัตราการไหลสําหรับเก็บตัวอยาง 1 - 2 ลิตรตอนาที - ปริมาตรเก็บตัวอยางต่ําสุด 12 ลิตร -สูงสุด 800 ลิตร 31.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 802 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา 282 " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา - " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 2965 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา - " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , - " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา 737 " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา - " 10. Source of Ignition หนา - " 11. "อ่ืน ๆ" - " 31.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide :39 DOT Guide : 154 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

Page 170: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

170

32. Sodium hydroxide ชื่อเคมีท่ัวไป - ชื่อพองอื่นๆ Caustic soda ; Lye; Sodium hydrate; Soda lye; White Caustic; Lye, caustic; Augus Hot Rod; สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 1310-73-2 รหัส EC NO. 011-002-00-6 UN/ID No. 1823 รหัส RTECS WB 4900000 รหัส EUEINECS/ELINCS 215-185-5 ชื่อวงศ - ชื่อผูผลิต/นําเขา JT Baker Inc. แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 32.1 การใชประโยชน (Uses) - เปนสารเคมีในหองปฏิบัติการ 32.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 40 ( หน)ู LC50(มก./ม3) : - / - ชั่วโมง ( -) IDLH(ppm) : 6.11 ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : - PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : 1.22 TLV-TWA(ppm) : - TLV-STEL(ppm) : - TLV-C(ppm) : 1.22 2mg/m3 พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนดิที่ 1 ชนิดที ่2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ช่ัวโมง 1.22 ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ : กรมโรงงานอุตสาหกรรม

Page 171: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

171

32.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ของแข็ง สี : ขาว กล่ิน : ไมมีกล่ิน นน.โมเลกุล : 40.00 จุดเดือด(0ซ.) : 1390 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 318 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 2.13 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : >1.4 ความหนดื(mPa.sec) : - ความดันไอ(มม.ปรอท) : เล็กนอย ที่ - 0ซ ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : 111 ที่ 20 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : 13 - 14 ที่ 20 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 1.635 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.611 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : 32.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเขาไปจะกอใหเกดิการระคายเคือง และทําใหเกดิการทําลายตอทางเดินหายใจสวนบน ทําใหเกิดอาการจาม ปวดคอ หรือน้ํามูกไหล ปอดอักเสบอยางรุนแรง หายใจติดขัด หายใจถี่รัว สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงั จะกอใหเกิดการระคายเคืองรุนแรง เปนแผลไหม และเกิดเปนแผลพุพองได กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนหรือกินเขาไป ทําใหแสบไหมบริเวณปาก คอ กระเพาะอาหาร ทําใหเปนแผลเปน เลือดออกในกระเพาะอาหาร อาเจยีน ทองรวง ความดันเลือดลดต่ําลง อาจทําใหเสียชีวิต สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตา จะมีฤทธิ์กดักรอน ทําใหเกิดการระคายเคืองรุนแรง เปนแผลแสบไหม อาจทําใหมองไมเห็นถึงขั้นตาบอดได การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ - การสัมผัสสารติดตอกันเปนเวลานาน จะทําใหเกดิการทําลายเนือ้เยื่อ - สารนี้มีฤทธิ์กัดกรอนเนื้อเยื่อ 32.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัวทางเคมี : สารนี้มีความเสถียรภายใตสภาวะปกติของการใชและการเก็บ - สารที่เขากันไมได : น้ํา, กรด, ของเหลวไวไฟ, สารประกอบอินทรียของฮาโลเจน โดยเฉพาะไตรคลอโรเอทิลีน ซ่ึงอาจกอใหเกดิไฟหรอืการระเบิด การสัมผัสไนโตรมีเทนและสารประกอบไนโตรทําใหเกดิเกลือที่ไวตอการกระแทก - สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความชื้น, ฝุน และสารที่เขากันไมได - สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : โซเดียมออกไซด การทําปฏิกริิยากับโลหะเกิดกาซไฮโดรเจนที่ไวไฟ - สารนี้ผสมความชื้นในอากาศและทําปฏิกริิยากับคารบอนไดออกไซดในอากาศเปนสารโซเดียมคารบอเนต - สารนี้มีฤทธิ์เปนเบสเขมขน - อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร : จะไมเกิดขึ้น

Page 172: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

172

32.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : - จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : - คา LEL % : - UEL % : - LFL % : - UFL % : - NFPA Code :

- สารนี้ไมทําใหเกดิอันตรายจากเพลิงไหม สารที่รอนหรือหลอมอยูจะทําปฏิกิริยารุนแรงกับน้ํา - สารนี้ทําปฏิกิริยากับโลหะ เชน อะลูมิเนยีม เกิดกาซไฮโดรเจนที่ไวไฟ - สารดับเพลิงกรณีเกดิเพลิงไหมใหเลือกใชสารดับเพลิง/วิธีการดับเพลิง ที่เหมาะสมสําหรับสภาพการเกิดเพลิงโดยรอบ หามใชน้ําในการดับเพลิง - กรณีเกิดเพลิงไหมใหสวมใสอุปกรณชวยหายใจชนิดมถัีงอากาศในตวั (SCBA) 32.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมดิชิด ปองกันการเสียหายทางกายภาพ - เก็บในบริเวณที่เยน็และแหง - เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพยีงพอ - เก็บหางจากความรอน, ความชื้น, สารที่เขากันไมได - เก็บหางจากอะลูมเินียม, แมกนีเซียม - ภาชนะบรรจขุองสารที่เปนถังเปลา แตมีกากสารเคมีตกคางอยู เชน ฝุน ของแข็ง อาจเปนอันตรายได - อยาผสมสารนี้กับกรดหรือสารอินทรีย - ใหสังเกตคําเตือนและขอควรระวังทั้งหมดที่ใหไวสําหรับสารนี้ - ช่ือในการขนสง : Sodium Hydroxide - รหัส UN : 1832 - ประเภทอันตราย : 8 - ประเภทบรรจุหีบหอ : กลุม II - รายงานขอมลูสําหรับผลิตภัณฑ/ขนาด : 300 ปอนด 32.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - วิธีการปฏิบตัิในกรณีเกดิการหกรั่วไหล ระบายอากาศบริเวณสารหกรั่วไหล - ปองกันบุคคลเขาไปในบริเวณสารรั่วไหล - ใหสวมใสอุปกรณปองกนัอันตรายสวนบุคคลที่เหมาะสม

Page 173: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

173

- ใหดูดซับสวนที่หกร่ัวไหลดวยทราย, แรเวอรมิคิวไลต หรือวัสดุดดูซับอื่น - เก็บสวนที่หกร่ัวไหลในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิดเพื่อนําไปกําจัด โดยวธีิไมทําใหเกดิฝุน - ปองกันไมใหสารเคมีที่หกร่ัวไหล ไหลลงสูทอระบายน้าํ แมน้ํา และแหลงน้ําอื่น ๆ - สารที่หลงเหลืออยู สามารถทําใหเจือจางดวยน้ําหรือทําใหเปนกลางดวยกรด เชน อะซีติก, ไฮโดรคลอริก, ซัลฟูริก - การพิจารณาการกําจัด : ปฎิบัติใหเปนไปตามกฎระเบยีบที่ทางราชการกําหนด 32.9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : - ขอแนะนําในการเลือกประเภทหนากากปองกันระบบหายใจ - สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 125 ppm : ใหใชอุปกรณชวยหายใจประเภททีใ่ชการสงอากาศสําหรับการหายใจ ซ่ึงมีอัตราการไหลของอากาศแบบตอเนื่อง โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 25 ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมหนากากแบบเตม็หนา และอุปกรณกรองอนภุาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) โดยแนะนาํใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) ซ่ึงมีอุปกรณกรองฝุน และละอองไอ โดยแนะนาํใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 25 หรือใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พรอมหนากากแบบเตม็หนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 - ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเขาไปสัมผัสกับสารที่ไมทราบชวงความเขมขน หรือการเขาไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เปน IDLH : ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตวั (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดนัภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 10,000 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดันภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใชการทํางานรวมกันระหวางอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเปนบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10,000 - ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉิน : ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา (gas mask) ซ่ึงมี Canister ที่สามารถปองกันไอระเหยของสารอินทรีย ฝุน ละอองไอ และฟูม ใหใชอุปกรณที่เหมาะสมสําหรับในกรณกีารหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉินพรอมอปุกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตวั (SCBA) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50

Page 174: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

174

32.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มอีากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจลําบากใหออกซิเจนชวย นําสงไปพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: - ถากลืนหรือกินเขาไป อยากระตุนใหเกิดการอาเจียน ใหดื่มน้าํหรือนมปริมาณมากๆ หามไมใหส่ิงใดเขาปากผูปวยที่หมดสติ นําสงไปพบแพทย สัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนงั ใหฉีดลางผิวหนังทันทดีวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที พรอมถอดเสื้อผาและรองเทาที่ปนเปอนสารเคมีออก นําสงไปพบแพทยทันที ซักทําความสะอาดเสือ้ผาและรองเทากอนนาํกลับมาใชไหม สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตา ใหฉดีลางตาโดยทันทดีวยน้ําปริมาณมากๆอยางนอย 15 นาที พรอมกระพริบตาถี่ๆ นําสงไปพบแพทยทนัท ีอ่ืน ๆ: - 32.11 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม (Environmental Impacts) - หามทิ้งลงสูแหลงน้ํา น้ําเสีย หรือดิน - สารนี้ไมสามารถยอยสลายไดทางชีวภาพ - สารนี้เปนพษิตอปลาก และแพลงคตอน ซ่ึงสงผลเปนอันตรายเนื่องจากเปลี่ยนแปลงพีเอช อาจทําใหปลาตายได 32.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : 7401 OSHA NO. : - วิธีการเก็บตวัอยาง : กระดาษกรอง วิธีการวิเคราะห : ช่ังน้ําหนัก สเปคโตโฟโตมิเตอร แกซโครมาโตกราฟฟ อะตอมมกิแอบซอปชั่น ขอมูลอ่ืน ๆ : - วิธีวิเคราะหใช acid - base titration - อัตราการไหลสําหรับเก็บตัวอยาง 1 ถึง 4 ลิตรตอนาที - ปริมาตรเก็บตัวอยางต่ําสุด-สูงสุด ต่ําสุด 70 ลิตร สูงสุด 1000 ลิตร

Page 175: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

175

32.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 805 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา 284 " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา - " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 2970 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา 52 " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , 0360 " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา 52 " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา 52 " 10. Source of Ignition หนา - " 11. "อ่ืน ๆ" http://chemtrack.trf.or.th " 32.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide :39 DOT Guide : 154 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศพัทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

Page 176: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

176

33. Sodium hypochlorite ชื่อเคมีท่ัวไป - ชื่อพองอื่นๆ Clorox; Bleach; Liquid bleach; Sodium oxychloride; Javex; Antiformin; Showchlon; Chlorox; B-K; Carrel-dakin solution; Chloros; Dakin's solution; Hychlorite; Javelle water; Mera industries 2MOM3B; Milton; Modified dakin's solution; Piochlor; Sodium hypochlorite, 13% active chlorine; สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 7681-52-9 รหัส EC NO. 017-011-01-9 UN/ID No. 1791 รหัส RTECS NH 3486300 รหัส EUEINECS/ELINCS 231-668-3 ชื่อวงศ - ชื่อผูผลิต/นําเขา 1675 No. Main Street, Orange, California 92867 แหลงขอมูลอ่ืนๆ - 33.1 การใชประโยชน (Uses) - ใชเปนสารทาํความสะอาด 33.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 8910 ( หน)ู LC50(มก./ม3) : - / - ชั่วโมง ( -) IDLH(ppm) : - ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : - PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : - TLV-STEL(ppm) : - TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ : สํานักงานอาหารและยา

Page 177: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

177

33.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ของเหลว สี : เขียว-เหลือง กล่ิน : ฉุน คลายคลอรีน นน.โมเลกุล : 74.4 จุดเดือด(0ซ.) : 48-76 จุดหลอมเหลว/จุดเยอืกแข็ง(0ซ.) : - ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 1.20-1.26 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : 2.5 ความหนดื(mPa.sec) : - ความดันไอ(มม.ปรอท) : <17.5 ที่ - 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : 100 ที่ - 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : 12 ที่ - 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 3.05 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.32 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : 33. 4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายเขาไปจะทําใหเกิดการระคายเคืองตอเยื่อเมือกของทางเดินหายใจ สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงั จะทําใหเกดิการระคายเคืองปานกลาง และเกิดผ่ืนแดงบนผิวหนัง กินหรือกลืนเขาไป - การกนิหรือกลืนเขาไปจะทําใหเกดิระคายเคืองตอเยื่อบุที่ปากและลําคอ เกิดอาการปวดทอง และแผลเปอย สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตาจะทําใหระคายเคืองอยางรุนแรง การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ - ไมมีรายงานวาสารนี้กอมะเร็ง - สารนี้มีผลทําลายปอด ทรวงอก ระบบหายใจ ผิวหนัง 33.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัวทางเคมี : สารนี้ไมเสถียร - สารที่เขากันไมได : กรดเขมขน, สารออกซไดสอยางแรง, โลหะหนกั, สารรีดิวซ, แอมโมเนีย, อีเธอร, สารอินทรีย และสารอนินทรีย เชน สี, เคอรโรซีน, ทินเนอร, แลคเกอร - สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความเสถียรของสารจะลดลงเมื่อความเขมขนเพิ่มขึ้น, สัมผัสกับความรอน, แสง, คาpHลดลง, ผสมกับโลหะหนัก เชน นิกเกลิ, โคบอลต, ทองแดง และเหล็ก - อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร : ไมเกิดขึ้น 33.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : - จุดลุกติดไฟไดเอง(0ซ.) : ไมติดไฟ คา LEL % : - UEL % : - LFL % : - UFL % : - NFPA Code :

Page 178: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

178

- สารนี้ไมไวไฟ - สารดับเพลิงในกรณีเกดิเพลิงไหมใหใช ผงเคมีแหง - การสัมผัสกับสารอื่นอาจกอใหเกดิการตดิไฟ - ความรอนและการผสม/ปนเปอนกับกรด จะทําใหเกดิฟมู/กาซที่เปนพษิและมีฤทธิ์ระคายเคือง ซ่ึงการสลายตัวที่เกดิขึ้นจะทําใหเกดิกาซคลอรีนออกมา 33.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมดิชิด - เก็บในที่แหง เย็น และมีการระบายอากาศที่ดี - เก็บใหหางจากแสง และสารเคมีอ่ืน - อยาผสมสารนี้หรือทําใหสารนี้ปนเปอนกับแอมโมเนยี, ไฮโดรคารืบอน, กรด, แอลกอฮอล และอีเธอร - ใหสังเกตคําเตือนและขอควรระวังทั้งหมดที่ใหไวสําหรับสารนี้ - ทําการเคลื่อนยายในที่โลง - ใหลางทําความสะอาดรางกาย ใหทั่วถึงภายหลังทําการเคลื่อนยาย 33.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - วิธีปฏิบัติกรณีเกดิอุบัติเหตร่ัุวไหล ใหระบายอากาศในพื้นที่ที่มีสารหกร่ัวไหล - ใหกันแยกพืน้ที่ที่สารหกรัว่ไหล และกันคนที่ไมมีอุปกรณปองกันออกไป - ใหเก็บสวนที่หกร่ัวไหล เก็บใสในภาชนะบรรจุและทําใหเปนกลางดวยโซเดียมซัลไฟด, ไบดซัลไฟด, ไทโอซัลไฟด - ใหดูดซับสวนที่หกร่ัวไหลดวยวัสดุดดูซับ เชน ดินเหนยีว ทราย หรือวัสดุดูดซับ แลวเก็บใสในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิดเพื่อนําไปกาํจัด - ใหฉีดลางบรเิวณทีห่กร่ัวไหลดวยน้ํา 33.9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE)

ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกนัอันตรายสวนบคุคล(PPD/PPE) :

Page 179: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

179

33.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มอีากาศบริสุทธิ์ นําสงไปพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: - ถากลืนหรือกินเขาไป หามไมใหส่ิงใดเขาปากผูปวยทีห่มดสต ิหากผูปวยยังมีสติอยูใหดื่มสารละลายโปรตีน หรือ ถาไมสามารถหาไดกใ็หดืม่น้ําปริมาณมากๆ อยาใหผูปวยดื่มน้ําสม,เบคกิงโซดา,ยาที่มีฤทธิ์เปนกรด นาํสงไปพบแพทย สัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนงั ใหฉีดลางผิวหนังดวยน้ําปริมาณมากๆ สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตา ใหฉดีลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที พรอมกระพริบตาถ่ีๆขณะทําการลาง นําสงไปพบแพทย อ่ืน ๆ: 33.11 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม (Environmental Impacts) - หามทิ้งลงสูระบบน้ํา น้ําเสยี หรือดิน 33.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : - OSHA NO. : - วิธีการเก็บตวัอยาง : กระดาษกรอง หลอดเก็บตวัอยาง อิมพิ้นเจอร วิธีการวิเคราะห : ชั่งน้ําหนกั สเปคโตโฟโตมิเตอร แกซโครมาโตกราฟฟ อะตอมมิกแอบซอปชั่น ขอมูลอ่ืน ๆ : 33.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 807 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา - " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา - " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 2971 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา - " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , - " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา 742 " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา - " 10. Source of Ignition หนา - " 11. "อ่ืน ๆ" http://chemtrack.trf.or.th "

Page 180: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

180

33.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : 39 DOT Guide : 154 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

Page 181: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

181

34. Sulfuric acid ชื่อเคมี IUPAC: Sulfuric acid ชื่อเคมีท่ัวไป Sulfuric acid ชื่อพองอื่นๆ Oil of vitriol; BOU; Dipping Acid; Vitriol Brown Oil; Sulfuric; Acid Mist; Hydrogen sulfate; Sulfur acid; Sulfuric acid, spent; สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 7664-93-9 รหัส EC NO. 016-020-00-8 UN/ID No. 1830 รหัส RTECS WS 5600000 รหัส EUEINECS/ELINCS 231-639-5 ชื่อวงศ - ชื่อผูผลิต/นําเขา Kyhochem (pty) Limited แหลงขอมูลอ่ืนๆ Modderfontein Ganteng 1645 34.1 การใชประโยชน (Uses) - ใชเปนตวัเรงปฏิกิริยา เปนสารละลายอิเล็กโตรไลต เปนตัวชะลางถานหิน เปนตัวแลกเปลี่ยนไอออน 34.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 2140 ( หน)ู LC50(มก./ม3) : 510 / 2 ชั่วโมง ( หน)ู IDLH(ppm) : 0.25 ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : 3.75 PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : 0.25 TLV-STEL(ppm) : 0.75 TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : - พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนดิที่ 1 ชนิดที ่2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง 0.25 ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ : กรมโรงงานอุตสาหกรรม

Page 182: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

182

34.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ของเหลว สี : ไมมีสี กล่ิน : ไมมกีล่ิน นน.โมเลกุล : 98 จุดเดือด(0ซ.) : 276 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -1 - (-30) ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 1.84 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : 3.4 ความหนดื(mPa.sec) : 26.9 ความดันไอ(มม.ปรอท) : 0.001 ที่ 20 0ซ. ความสามารถในการละลายน้าํที่(กรัม/100 มล.) : ละลายน้ําได ที่ 20 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : - ที่ - 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 4.07 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.25 ppm ที่ 25 0ซ ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : 34.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ - การหายใจเขาไป สารนี้มีฤทธิ์กัดกรอนและกอใหเกิดการระคายเคืองตอระบบทางเดินหายใจ ทําใหมีอาการน้ําทวมปอด เจ็บคอ ไอ หายใจติดขัด และหายใจถี่รัว การหายใจเอาสารที่ความเขมขนสูงอาจทําใหเสียชีวิตได สัมผัสทางผิวหนัง - การสัมผัสถูกผิวหนงั สารนี้มีฤทธิ์กัดกรอน ทําใหเปนแผลไหม และปวดแสบปวดรอน กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนหรือการกนิเขาไป ทําใหคล่ืนไส อาเจียน แตไมมีผลตอเนื้อเยื่อ สัมผัสถูกตา - การสัมผัสถูกตา สารนี้มีฤทธิ์กัดกรอน ทําใหตาแดง ปวดตา และสายตาพรามัว การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ - สารนี้มีผลทําลายฟน ระบบหลอดเลือดเลี้ยงหวัใจ 34.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - สารที่เขากันไมได : เบสแก น้ํา สารอินทรีย โลหะอัลคาไลน - สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : เมื่อทําปฏิกิริยากับโลหะจะเกดิออกไซดของกํามะถันและไฮโดรเจน - สารนี้ทําปฏิกิริยากับสารอนิทรียทําใหเกดิเพลิงไหมและการระเบดิ 34.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : - จุดลุกตดิไฟไดเอง(0ซ.) : - คา LEL % : - UEL % : - LFL % : - UFL % : - NFPA Code :

Page 183: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

183

- สารนี้ไมไวไฟ - สารดับเพลิง ในกรณีเกดิเพลิงไหมใหใชคารบอนไดออกไซด ผงเคมีแหง น้ํา - สารเคมีอันตรายจากการเผาไหม : ออกไซดของกํามะถัน - สารนี้เมื่อทําปฏิกิริยากับสารอินทรีย อาจทําใหเกดิเพลิงไหมและการระเบิดได 34.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมดิชิด - เก็บในบริเวณที่เยน็และแหง - เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพยีงพอ - เก็บหางจากแสง ไอน้ํา เบสแก สารประกอบอินทรีย - เก็บภาชนะบรรจุสารไวในบริเวณเก็บสารเคมีที่เหมาะสม - หลีกเลี่ยงการหายใจและการสัมผัสถูกผิวหนังและตา - ชื่อในการขนสง : Sulphuric acid - ประเภทอันตราย : 8 - รหัส UN : 1830 34.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) - วิธีการปฏิบตัิในกรณีเกดิการหกรั่วไหลใหกั้นบริเวณสารหกแยกจากบริเวณอืน่ - ใหดูดซับสารที่หกร่ัวไหลดวยสารอัลคาไลด เชน โซดาแอซ สารอนินทรยี หรือดนิ - เก็บสวนที่หกร่ัวไหลในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิดเพื่อนําไปกําจัด - ลางบริเวณสารหกรั่วไหล หลังจากสารเคมีถูกเก็บกวาดเรียบรอยแลว - ปองกันไมใหสารเคมีที่หกร่ัวไหล ไหลลงสูทอระบายน้าํ แมน้ํา และแหลงน้ําอื่นๆ - ใหสวมใสอุปกรณปองกนัอันตรายที่เหมาะสม - การพิจารณาการกําจัด : ปฏิบัติใหเปนไปตามกฎระเบยีบที่ทางราชการกําหนด 34.9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE) ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล(PPD/PPE) : - การเลือกประเภทถุงมือ : แนะนําใหใชถุงมือที่ทํามาจากวัสดุประเภท Laminated film ซ่ึงควรมีระยะเวลาที่จะทําใหเกดิการซึมผานผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกวา 480 นาที และควรมีอัตราการเสื่อมสภาพของถุงมือ (Degradation Rating) อยูในระดับ และไมแนะนําใหใชถุงมือที่ทํามาจากวัสดุประเภท Nitrile , Supported Polyvinyl Alcoho, Natural Rubber, Neoprene/Natural Rubber Blend - ขอแนะนําในการเลือกประเภทหนากากปองกันระบบหายใจ

Page 184: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

184

- สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 15 mg/m3 ใหใชอุปกรณชวยหายใจประเภททีใ่ชการสงอากาศสําหรับการหายใจ ซ่ึงมีอัตราการไหลของอากาศแบบตอเนื่อง โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 25 หรือ ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) ซ่ึงมี Cartridge สําหรับปองกันกาซของสารจําพวกกรด และอุปกรณกรองอนุภาคประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 25 หรือ ใหเลือกใชอุปกรณปองกันระบบหายใจ ซ่ึงใชสารเคมีประเภทที่เหมาะสมเปนตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) พรอมหนากากาแบบเต็มหนา พรอม Cartridge สําหรับปองกันกาซของสารจําพวกกรด และอุปกรณกรองอนุภาคประสทิธิภาพสูง (HEPA filter) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือ ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา (gas mask) ซ่ึงมี Canistr สําหรับปองกันกาซของสารจําพวกกรด และอุปกรณกรองอนภุาคประสิทธิภาพสูง โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดทีม่ีถังอากาศในตัว (SCBA) พรอมหนากากาแบบเต็มหนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 50 หรือ ใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา โดยแนะนําใหใชอุปกรณทีม่ีคา APF. = 50 - ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเขาไปสัมผัสกับสารที่ไมทราบชวงความเขมขน หรือการเขาไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เปน IDLH : ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตวั (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดนัภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 10,000 หรือใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับการหายใจ (Supplied - air respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดันภายในเปนบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใชการทํางานรวมกันระหวางอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเปนบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มีคา APF. = 10,000 - ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉิน : ใหใชอุปกรณทําใหอากาศบริสุทธิ์ (Air - purifying respirator) พรอมหนากากแบบเต็มหนา (gas mask) ซ่ึงมี Canister สําหรับปองกันกาซของสารจําพวกกรด และอุปกรณกรองอนุภาคประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) หรือใหใชอุปกรณที่เหมาะสมสําหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณฉุกเฉิน พรอมอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตวั (SCBA) โดยแนะนําใหใชอุปกรณที่มคีา APF. = 50 34.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มอีากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขดัใหออกซิเจนชวย รักษารางกายผูปวยใหอบอุนและอยูนิง่ นําสงไปพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: - ถากลืนหรือกินเขาไป อยากระตุนใหเกิดการอาเจียน ใหผูปวยบวนลางปากดวยน้ํา ใหผูปวยดื่มน้ํา 200-300 มิลลิลิตร นําสงไปพบแพทย สัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนงั ใหฉีดลางผิวหนังทันทดีวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที นําสงไปพบแพทย

Page 185: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

185

สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตา ใหฉดีลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที นําสงไปพบแพทย อ่ืน ๆ: - การรักษาอื่น ๆ อยูในการวินิจฉยัของแพทยภายใน 24 ช่ัวโมง อาการเกี่ยวกับปอดบวม อักเสบ บางทีอาจจะมขีึ้น 34.11 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม (Environmental Impacts) - หามทิ้งลงสูแหลงน้ํา น้ําเสีย หรือดิน 33.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : 7903 OSHA NO. : ID 165SG วิธีการเก็บตวัอยาง : กระดาษกรอง หลอดเก็บตวัอยาง วิธีการวิเคราะห : แกซโครมาโตกราฟฟ ขอมูลอ่ืน ๆ : - การเก็บตวัอยางใชหลอดขนาด 400 mg/200mg. และ glass fiber filter - อัตราการไหลสําหรับเก็บตัวอยาง 0.2 ถึง 0.5 ลิตรตอนาที - ปริมาตรเก็บตัวอยางต่ําสุด-สูงสุด 0.3 ลิตร , 100 ลิตร 34.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 838 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา 290 " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา - " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา - " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 3046 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา 53 " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , 0362 " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา - " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา 53 " 10. Source of Ignition หนา - " 11. "อ่ืน ๆ" http:\\chemtgrack.trf.or.th "

Page 186: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

186

34.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : 42 DOT Guide : 137 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

Page 187: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

187

35. Xylene ชื่อเคมี IUPAC: Dimethylbenzene ชื่อเคมีท่ัวไป Xylene ชื่อพองอื่นๆ Xylol; Xylene; Dimethylbenzene (mixed isomers); Xylene (mixed isomers); Xylenes mixed isomers; Xylenes (o-, m-, p-isomers); Dimethylbenzenes; Xylene mixture (60% m-xylene, 9% o-xylene, 14% p-xylene, 17% ethylbenzene); Xylene (mixed); Xylene (o-, m-, p-isomers); Except p-xylene, mixed or all isomers; Xylene, mixed or all isomers, except p-; M & p-xylene; Xylenes (mixed); Xylene mixture (m-xylene, o-xylene, p-xylene); Total xylenes; M-,p-,o-Xylene; O-,m-,p-Xylene; Xylene, (total); Xylene mixture; Socal aquatic solvent 3501; Xylenes ; Xylene (o-,m-,p-); สูตรโมเลกุล รหัส IMO

CAS No. 1330-20-7 รหัส EC NO. 601-022-00-9 UN/ID No. 1307 รหัส RTECS ZE2100000 รหัส EUEINECS/ELINCS 215-535-7 ชื่อวงศ Aromatic Solvent ชื่อผูผลิต/นําเขา Champion Technologies,LTD แหลงขอมูลอ่ืนๆ 6555-30th Street South East Calgary Alberta Canada T2C 1R4 35.1 การใชประโยชน (Uses) - ใชเปน Solvent 35.2 คามาตรฐานและความเปนพิษ (Standard and Toxicity) LD50(มก./กก.) : 4000 ( หนู) LC50(มก./ม3) : 21700 / 4 ช่ัวโมง ( หน)ู IDLH(ppm) : - ADI(ppm) : - MAC(ppm) : - PEL-TWA(ppm) : 100 PEL-STEL(ppm) : - PEL-C(ppm) : - TLV-TWA(ppm) : 100 TLV-STEL(ppm) : 150 TLV-C(ppm) : - พรบ. สงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535(ppm) : - พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 (ppm) : -

Page 188: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

188

พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ พ.ศ. 2530 : ชนดิที่ 1 ชนิดที ่2 ชนิดที่ 3 พรบ. คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ppm) : เฉลี่ย 8 ชั่วโมง - ระยะสั้น - คาสูงสุด - สารเคมีอันตราย : พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 : ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบ : 35.3 คุณสมบตัิทางกายภาพและเคมี (Physical and Chemical Properties) สถานะ : ของเหลว สี : ใส กล่ิน : กล่ินหอมหวาน นน.โมเลกุล : 106.16 จุดเดือด(0ซ.) : 138.3 จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 30 ความถวงจําเพาะ(น้ํา=1) : 0.87 ความหนาแนนไอ(อากาศ=1) : 3.7 ความหนดื(mPa.sec) : 0.62 - 0.81 ความดันไอ(มม.ปรอท) : 6.72 ที่ 21 0ซ. ความสามารถในการละลายน้ําที่(กรัม/100 มล.) : 0.13 ที่ - 0ซ. ความเปนกรด-ดาง(pH) : - ที่ - 0ซ. แฟคเตอรแปลงหนวย 1 ppm = 4.34 มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 0.23 ppm ที่ 25 0ซ. ขอมูลทางกายภาพและเคมีอ่ืน ๆ : 35.4 อันตรายตอสุขภาพอนามัย (Health Effect) สัมผัสทางหายใจ -การหายใจเขาไปจะกอใหเกดิการระคายเคือง และหายใจติดขัด สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนังจะกอใหเกิดการระคายเคือง เกิดแผลแสบไหม และทําใหผิวหนังอักเสบ กินหรือกลืนเขาไป - การกลืนหรือกินเขาไป เปนอันตรายตอรางกาย ทําใหมีการขับของน้ําลายออกมามาก มีเหงื่อออก คล่ืนไส อาเจียน ทองรวง ปวดทอง และเบื่ออาหาร สัมผัสถูกตา -การสัมผัสถูกตาจะกอใหเกดิการระคายเคืองและเกดิแผลไหม การกอมะเร็ง ความผดิปกต,ิอ่ืน ๆ - สารนี้ไมเปนสารกอมะเร็ง - สารนี้ทําลายประสาท เลือด ดวงตา หู ตบั ไต และเปนอันตรายตอทารกในครรภ 35.5 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and Reaction) - ความคงตัวทางเคมี : สารนี้มีความคงตัว - สารที่เขากันไมได : สารออกซิไดซอยางแรง - สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : คารบอนมอนนอกไซด, คารบอนไดออกไซด, ควัน และไอระเหย - อันตรายจากปฏิกิริยาโพลิเมอร : จะไมเกดิขึ้น

Page 189: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

189

35.6 การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion) จุดวาบไฟ(0ซ.) : 26.1 จุดลุกตดิไฟไดเอง(0ซ.) : 527 คา LEL % : 1 UEL % : 7 LFL % : - UFL % : - NFPA Code :

-สารนี้เปนสารไวไฟ อาจลุกติดไฟไดเมื่อสัมผัสกับความรอน, ประกายไฟ หรือเปลวไฟ -ไอระเหยของสารสามารถแพรกระจายออกไปถึงแหลงจดุติดไฟและอาจเกิดการติดไฟยอนกลับมา -ภาชนะบรรจขุองสารอาจเกิดการระเบิดไดเมื่อสัมผัสกับความรอนหรือไฟ -ไอระเหยของสารนี้อาจกอใหเกิดอนัตรายจากการระเบิดไดทั้งภายในบริเวณอาคาร, ภายนอก หรือในทอระบบระบายน้าํ -การไหลของสารไปในทอระบายน้ําอาจกอใหเกดิอันตรายจากไฟไหมและการระเบดิได -สารดับเพลิงในกรณีเกิดเพลิงไหมใหใชผงเคมีแหง คารบอนไดออกไซด น้ําฉีดเปนฝอย หรือโฟม -ใหเคลื่อนยายภาชนะบรรจุออกจากบริเวณที่เกิดเพลิงไหม ถาสามารถทําไดโดยปราศจากความเสีย่งอันตราย -ใหใชการฉีดน้ําเพื่อหลอเยน็ภาชนะบรรจุที่ถูกเพลิงไหม จนกระทั่งไฟดับสนิท -ใหอยูหางจากภาชนะบรรจุสาร -สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : คารบอนมอนนอกไซด, คารบอนไดออกไซด, ควัน และไอระเหย 35.7 การเก็บรักษา/สถานที่เก็บ/เคล่ือนยาย/ขนสง (Storage and Handling) -เก็บในภาชนะบรรจุที่เหมาะสม -เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพยีงพอ -เก็บหางจากแหลงจุดติดไฟทั้งหมด -เก็บหางจากเด็ก - ชื่อในการขนสง : Xylene - รหัส UN : 1307 - กลุมการบรรจุ : กลุม II 35.8 การกําจัดกรณีร่ัวไหล (Leak and Spill) -วิธีการปฏิบัตใินกรณีเกดิการหกรั่วไหล -ใหหยดุการรัว่ไหล ถาสามารถทําไดโดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย -ใหดูดซับสวนที่หกร่ัวไหลดวยทรายหรือวัสดุดูดซับอื่นที่ไมติดไฟ -เก็บสวนที่หกร่ัวไหลในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิดเพื่อนําไปกําจัด -การพิจารณาการกําจัด : ปฎิบัติใหเปนไปตามกฎระเบยีบที่ทางราชการกําหนด

Page 190: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

190

35.9 อุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล (PPD/PPE)

ขอแนะนําการเลือกใชอุปกรณปองกนัอันตรายสวนบคุคล(PPD/PPE) : การเลือกประเภทถุงมือ : แนะนําใหใชถุงมอืที่ทํามาจากวสัดุประเภท Laminated film ซ่ึงควรมีระยะเวลาที่จะทําใหเกดิการซึมผานผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกวา 480 นาที และควรมีอัตราการเสื่อมสภาพของถุงมือ (Degradation Rating) อยูในระดับ ดมีากและแนะนําใหใชถุงมือที่ทํามาจากวัสดุประเภท Supported Polyvinyl Alcohol ซ่ึงควรมีระยะเวลาที่จะทําใหเกดิการซึมผานผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกวา 360 นาที และควรมีอัตราการเสื่อมสภาพของถุงมือ (Degradation Rating) อยูในระดับดีมาก และไมแนะนําใหใชถุงมือที่ทาํมาจากวัสดุประเภท Unsupported Neoprene ,Polyvinyl Chloride , Natural Rubber,Neoprene/Natural Rubber Blend 35.10 การปฐมพยาบาล (First Aid) หายใจเขาไป: - ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มอีากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจลําบากใหออกซิเจนชวย นําสงไปพบแพทย กินหรือกลืนเขาไป: -ถากลืนหรือกินเขาไป อยากระตุนใหอาเจียน นําสงไปพบแพทย สัมผัสถูกผิวหนัง: - ถาสัมผัสถูกผิวหนงัใหลางออกดวยน้ําและสบูอยางนอย 15 นาที พรอมกับถอดเสื้อผาและรองเทาที่เปรอะเปอนสารเคมีออก นําสงไปพบแพทย สัมผัสถูกตา : - ถาสัมผัสถูกตา ใหฉดีลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที นําสงไปพบแพทย อ่ืน ๆ: - 35.11 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม (Environmental Impacts) -

Page 191: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

191

35.12 การเก็บและวิเคราะห (Sampling and Analytical) NMAM NO. : - OSHA NO. : - วิธีการเก็บตวัอยาง : กระดาษกรอง หลอดเก็บตัวอยาง อิมพิ้นเจอร วิธีการวิเคราะห : ช่ังน้ําหนกั สเปคโตโฟโตมิเตอร แกซโครมาโตกราฟฟ อะตอมมิกแอบซอปชั่น ขอมูลอ่ืน ๆ : 35.13 เอกสารอางอิง 1. "Chemical Safety Sheet ,Samsom Chemical Publisher ,1991 ,หนา 926 " 2. "NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards.US.DHHS ,1990 ,หนา - " 3. "Lange'S Handbook of Chemistry McGrawHill ,1999 ,หนา 1.342 " 4. "Fire Protection Guide to Hazardous Material ,NFPA ,1994 ,หนา 325-94 " 5. "ITP. SAX'S Dangerous Properties of Industrial Materials ,1996 ,หนา 3403 " 6. "สอป.มาตรฐานสารเคมีในอากาศและดชันีวัดทางชวีภาพ ,นําอักษรการพิมพ ,2543 ,หนา 60 " 7. "http://www.cdc.gov/NIOSH ,CISC Card. , - " 8. "Firefighter 's Hazardous Materials Reference Book ,1997 ,หนา 844-846 " 9." ACGIH. 2000 TLVs and BEIs Threshold Limit Values for Chemical Substances and Physical Agents ,and Biological Exposure Indices. Ohio.,2000 ,หนา 60 " 10. Source of Ignition หนา 126 " 11. "อ่ืน ๆ" http://chemtrack.trf.or.th " 35.14 ขั้นตอนการปฎิบตังิานฉุกเฉิน (Emergency Response) AVERS Guide : 16 DOT Guide : 130 - กรณีฉุกเฉินโปรดใชบริการระบบใหบริการขอมูลการระงับอุบัติภยัจากสารเคมีทางโทรศัพทหรือสายดวน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท 1650 - ตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดตดิตอ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคมุมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

Page 192: คํําาน - Fisheries- สารน นของเหลวไวไฟเป - สารท าปฏ ก ร ยาร นแรงก าบน อาจเป นอนตรายต

192