เพอร์เมทริน (permethrin) - pcd.go.thinfofile.pcd.go.th/waste/3-2559.pdf ·...

2
5. อันตรายจากการลุกไหม้ - เมื่อสารนี้ได้รับความร้อนสูงหรือเมื่อไหม้ไฟ จะสลายตัวให้ควันพิษทีมีฤทธิ์กัดกร่อน ท�าให้เกิดการระคายและเป็นพิษในการดับเพลิง ให้สวม ชุดป้องกันอันตรายจากสารเคมีที่ปิดมิดชิดทั้งตัว พร้อมเครื่องช่วยหายใจ ชนิดมีถังอากาศในตัว - กรณีเกิดเพลิงไหม้เล็กน้อย ใช้ผงเคมีแห้ง คาร์บอนไดออกไซด์หรือฉีด น�้าฝอย ถ้าไม่เสี่ยงต่ออันตรายให้เคลื่อนย้ายภาชนะบรรจุหรือหีบห่อ ที่ไม่เสียหายออกจากบริเวณที่เกิดเพลิงไหม้ - กรณีเกิดเพลิงไหม้รุนแรง ใช้น�้าฉีดฝอย หรือโฟม ห้ามใช้น�้าฉีดโดยตรง https://archive.epa.gov/pesticides/reregistration/web/pdf/ endosulfan_red.pdf - กรณีเกิดเพลิงไหม้ภาชนะบรรจุขนาดใหญ่ รวมถึงภาชนะขนส่งทางรถไฟ และรถยนต์ ให้อพยพผู้คนออกไปอย่างน้อย 800 เมตร โดยรอบทันที ห้ามอยู ่บริเวณหัวหรือท้ายของท่อหรือภาชนะบรรจุ เพราะภาชนะบรรจุ อาจระเบิดเมื่อได้รับความร้อนสูง - หล่อน�้าเย็นภาชนะบรรจุด้วยน�้าปริมาณมากๆ หลังจากที่ดับไฟแล้ว - น�้าจากการดับเพลิงมีฤทธิ์กัดกร่อนอาจเป็นพิษ และก่อให้เกิดปัญหา น�้าเสียได6. การหกรดและภาวะเหตุฉุกเฉิน - ให้กั้นแยกบริเวณที่มีการหกรดของสารเพอร์เมทิน อย่างน้อย 50-100 เมตร โดยรอบทันที ให้บุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องออกจากบริเวณ กรณีที่มีการ หกรดมากให้อพยพผู้ที่อยู่ใต้ลมออกอย่างน้อย 250 เมตร - ห้ามแตะต้องภาชนะบรรจุที่ได้รับความเสียหายหรือสารที่หกรดโดย ไม่ได้สวมชุดป้องกัน - ป้องกันไม่ให้สารเพอร์เมทินไหลลงสู่แหล่งน�้า ท่อระบายน�้า ชั้นใต้ดิน หรือบริเวณที่อับอากาศ - ดูดซับสารที่หกรดด้วย ดิน ทราย และสารดูดซับอื่นที่ไม่ติดไฟ และ เก็บในภาชนะปิดเพื่อด�าเนินการจัดการต่อไป 7. การปฐมพยาบาล กรณีสัมผัสตา ให้ล้างตาด้วยน�้าไหลผ่านเป็นเวลาประมาณ 15 นาที กรณีสัมผัสผิวหนัง ควรถอดเสื้อผ้า รองเท้าที่เปื้อนสารเพอร์เมทินออก เพื่อป้องกันไม่ให้สารถูกดูดซึมเข้าผ่านผิวหนัง และหากสารหกรดเปื ้อน ผิวหนังให้ล้างผิวหนังด้วยสบู่และน�้าปริมาณมากๆ กรณีกลืนเข้าไป ก�าจัดสารโดยการล้างทางเดินอาหาร และให้ผงถ่านกัมมันต์ หรือการท�าให้อาเจียน โดยให้ดื่มน�้าสะอาด 2 แก้ว แล้วล้วงคอ ภายหลัง การได้รับสารเข้าสู่ร่างกาย กรณีหายใจเข้าไป น�าผู ้ป่วยออกจากบริเวณที่เกิดเหตุ และให้ผู ้ป่วยพักผ่อน ในที่ที่มีอากาศถ่ายเทสะดวก ถ้าผู้ป่วยไม่หายใจหรือหายใจติดขัดให้ใช้ เครื่องช่วยหายใจหรือให้ออกซิเจน ระวังอย่าให้ผู ้ป่วยชักและขาดออกซิเจน หำกประสงค์ต้องกำรทรำบรำยละเอียดข้อมูลสำรเคมีเพิ่มเติม สำมำรถดำวน์โหลดได้ที่ http;//msds.pcd.go.th เพอร์เมทริน (Permethrin) เพอร์เมทริน (Permethrin): เป็นสารก�าจัดแมลงกลุ่มไพรีธรอยด์สังเคราะห์ เพื่อท�าให้สารเคมีที่มีความเป็นพิษต่อแมลง สูงขึ้นมีพิษตกค้างนานขึ้น ต้นทุน การผลิตถูกลง และสะดวกต่อการน�าไปใช้ในการก�าจัดแมลงจ�าพวก หิด เหา โลน เห็บ หมัด และแมลง IUPAC Name : (3-phenoxyphenyl)methyl 3-(2,2-dichloroethenyl)-2,2-dimethylcyclopropane-1-Carboxylate ชื่อพ้องอื่น ๆ : Ambush ; Anomethrin N; Antiborer 3768; Atroban; Biomist; Chinetrin; Coopex; Cyclopropanecarboxylic acid,3-(2 ,2-d ichlorovin yl)-2,2-dimethyl-,3-phenoxybenzyl ester,(+-)-,(cis,trans)-; 3-(2,2Dichloroethenyl) 2,2dimeth ylcy clopropane carboxylic acid (3-phenoxyphenyl)methyl ester; 3-Phenoxyben zyl 3-(2,2 -dichlorovinyl)-2,2-dimethylcyclopropanecarboxylate; m-phenoxybenzyl (+/-) cis,trans-3-(2,2-dichlorovinyl) -2,2-dimethylcyclopropanecarboxylate; 3-phenoxy benzyl (1RS)-cis,trans-3-(2,2 dichlorovinyl) -2,2 dimethyl cyclopropane carboxylate; CAS No. : 52645-53-1 UN No. : 3352 หน่วยงานที่รับผิดชอบ : วัตถุอันตรายชนิดที่ 3 หน่วยงานรับผิดชอบ กรมโรงงานอุตสาหกรรม 1. คุณสมบัติทั่วไปของสาร - เป็นของเหลวหนืด/ของแข็ง มีสีเหลืองหรือสีขาวขุ่น - สูตรโครงสร้าง - สูตรเคมี : C 21 H 20 Cl 2 O 3 - จุดหลอมเหลว (˚C) : 34 – 39 (˚C) - น�้าหนักโมเลกุล : 391.287 2. ความเป็นพิษของสาร สารนี้เป็นพิษอย่างยิ่งต่อปลา สัตว์น�้าที่ไม่มีกระดูกสันหลังและเป็นพิษ ต่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม และแมลง เมื่อร่างกายเกิดการสัมผัสสารเพอร์เมทริน (permethrin) จะมีอาการที่แสดงออกใน 2 ลักษณะ คือ (1) อาการเฉียบพลัน (Acute symptom) การสัมผัสสารทางผิวท�าให้ ผิวหนังเป็นผื่นหรือผิวหนังชา มีพิษเฉียบพลันต่อระบบประสาท ก่อให้เกิด อาการปวดศีรษะ คลื่นไส้ เมื่อยล้า อ่อนเพลีย สั่น หายใจล�าบาก หมดสติ และชัก หากสูดดม กลืนกิน หรือได้รับสัมผัสทางผิวหนัง ในระดับความเป็นพิษ สูงสามารถอาจเป็นอัมพาตได้ (2) อาการแบบเรื้องรัง (Chronic symptom) มีผลต่อพฤติกรรมมนุษย์ ที่ได้รับสารเคมีเป็นเวลานานกรณีสัมผัสถูกผิวหนัง สารเคมีจะชะล้างไขมัน บนผิวหนังให้หลุดออกไป อาจระคายเคืองอย่างรุนแรง และสามารถก่อให้เกิด มะเร็งได้ 3. แนวทางในการปฏิบัติเพื่อลดความเสี่ยงในการสัมผัสสาร - สวมอุปกรณ์ช่วยหายใจแบบครบชุด แว่นตานิรภัย ถุงมือป้องกันสารเคมี รองเท้าบูท และชุดป้องกันสารเคมี - อย่าหายใจเอาไอระเหยเข้าไป ระวังอย่าให้เข้าตา โดนผิวหนัง หรือเสื้อผ้า หลีกเลี่ยงการได้รับสารเป็นเวลานานหรือซ�้าหลายครั้ง - ควรล้างมือให้สะอาดก่อนรับประทานอาหาร ดื่มน�้า - สารนี้เป็นพิษอย่างยิ่งที่ต่อปลาและสัตว์น�้าที่ไม่มีกระดูกสันหลังและ เป็นพิษกับนกและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อย่าใช้โดยตรงกับน�้าหรือแหล่งน�้า ผิวดิน - ควรถอดอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลออกทันทีที่ใช้งานสารดังกล่าวเสร็จ ล้างถุงมือก่อนถอด ท�าความสะอาดร่างกายและสวมใส่เสื้อผ้าที่สะอาด รวมทั้งอย่าปนเปื้อนน�้า เมื่อมีน�้าทิ้งจากการล้างอุปกรณ์ 4. การจัดเก็บและการเก็บรักษา - ควรหลีกเลี่ยง การเก็บรวมกับสารหรือวัตถุติดไฟ และสารรีดิวซิ่งเอเจนท์ หรือสารที่สามารถออกซิไดซ์อย่างรุนแรง - เก็บในอุณหภูมิปกติ ที่แห้งและมืด ในห้องที่มีการระบายอากาศที่ดี - เก็บให้ห่างจากเด็ก สัตว์เลี้ยง อาหาร เมล็ดพันธุ์และปุ๋ย - ห้ามเก็บในพื้นที่อุณหภูมิสูง หรือมีเปลวไฟ _16-0812 ������.indd 3 8/13/59 BE 3:51 PM

Upload: others

Post on 03-Oct-2020

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: เพอร์เมทริน (Permethrin) - PCD.go.thinfofile.pcd.go.th/waste/3-2559.pdf · เฟอร์แบม (Ferbam) 5. อันตรายจากการลุกไหม้

5. อันตรายจากการลุกไหม้ - เม่ือสารนี้ได้รับความร้อนสูงหรือเม่ือไหม้ไฟ จะสลายตัวให้ควันพิษท่ี มีฤทธิ์กัดกร่อน ท�าให้เกิดการระคายและเป็นพิษในการดับเพลิง ให้สวม ชดุป้องกนัอนัตรายจากสารเคมทีีปิ่ดมดิชดิทัง้ตวั พร้อมเครือ่งช่วยหายใจ ชนิดมีถังอากาศในตัว - กรณีเกิดเพลิงไหม้เล็กน้อย ใช้ผงเคมีแห้ง คาร์บอนไดออกไซด์หรือฉีด น�้าฝอย ถ้าไม่เสี่ยงต่ออันตรายให้เคลื่อนย้ายภาชนะบรรจุหรือหีบห่อ ที่ไม่เสียหายออกจากบริเวณที่เกิดเพลิงไหม้ - กรณีเกิดเพลิงไหม้รุนแรง ใช้น�้าฉีดฝอย หรือโฟม ห้ามใช้น�้าฉีดโดยตรง https://archive.epa.gov/pesticides/reregistration/web/pdf/ endosulfan_red.pdf - กรณเีกดิเพลงิไหม้ภาชนะบรรจขุนาดใหญ่ รวมถงึภาชนะขนส่งทางรถไฟ และรถยนต์ ให้อพยพผู้คนออกไปอย่างน้อย 800 เมตร โดยรอบทันที ห้ามอยูบ่ริเวณหวัหรือท้ายของท่อหรอืภาชนะบรรจ ุเพราะภาชนะบรรจุ อาจระเบิดเมื่อได้รับความร้อนสูง - หล่อน�้าเย็นภาชนะบรรจุด้วยน�้าปริมาณมากๆ หลังจากที่ดับไฟแล้ว - น�้าจากการดับเพลิงมีฤทธ์ิกัดกร่อนอาจเป็นพิษ และก่อให้เกิดปัญหา น�้าเสียได้6. การหกรดและภาวะเหตุฉุกเฉิน - ให้กั้นแยกบริเวณที่มีการหกรดของสารเพอร์เมทิน อย่างน้อย 50-100 เมตร โดยรอบทันที ให้บุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องออกจากบริเวณ กรณีที่มีการ หกรดมากให้อพยพผู้ที่อยู่ใต้ลมออกอย่างน้อย 250 เมตร - ห้ามแตะต้องภาชนะบรรจุที่ได้รับความเสียหายหรือสารท่ีหกรดโดย ไม่ได้สวมชุดป้องกัน - ป้องกันไม่ให้สารเพอร์เมทินไหลลงสู่แหล่งน�้า ท่อระบายน�้า ชั้นใต้ดิน หรือบริเวณที่อับอากาศ - ดูดซับสารที่หกรดด้วย ดิน ทราย และสารดูดซับอื่นท่ีไม่ติดไฟ และ เก็บในภาชนะปิดเพื่อด�าเนินการจัดการต่อไป7. การปฐมพยาบาล กรณีสัมผัสตา ให้ล้างตาด้วยน�้าไหลผ่านเป็นเวลาประมาณ 15 นาที กรณีสัมผัสผิวหนัง ควรถอดเสื้อผ้า รองเท้าที่เปื้อนสารเพอร์เมทินออก เพื่อป้องกันไม่ให้สารถูกดูดซึมเข้าผ่านผิวหนัง และหากสารหกรดเปื้อน ผิวหนังให้ล้างผิวหนังด้วยสบู่และน�้าปริมาณมากๆ กรณีกลนืเข้าไป ก�าจดัสารโดยการล้างทางเดนิอาหาร และให้ผงถ่านกมัมนัต์ หรือการท�าให้อาเจียน โดยให้ดื่มน�้าสะอาด 2 แก้ว แล้วล้วงคอ ภายหลัง การได้รับสารเข้าสู่ร่างกาย กรณหีายใจเข้าไป น�าผูป่้วยออกจากบรเิวณท่ีเกดิเหต ุและให้ผูป่้วยพกัผ่อน ในที่ที่มีอากาศถ่ายเทสะดวก ถ้าผู้ป่วยไม่หายใจหรือหายใจติดขัดให้ใช้ เครือ่งช่วยหายใจหรอืให้ออกซเิจน ระวงัอย่าให้ผูป่้วยชกัและขาดออกซเิจน

หำกประสงค์ต้องกำรทรำบรำยละเอียดข้อมูลสำรเคมีเพิ่มเติม สำมำรถดำวน์โหลดได้ที่ http;//msds.pcd.go.th

เพอร์เมทริน (Permethrin)

เพอร์เมทริน (Permethrin) : เป็นสารก�าจัดแมลงกลุ่มไพรีธรอยด์สังเคราะห์ เพื่อท�าให้สารเคมีที่มีความเป็นพิษต่อแมลง สูงขึ้นมีพิษตกค้างนานขึ้น ต้นทุน การผลิตถูกลง และสะดวกต่อการน�าไปใช้ในการก�าจัดแมลงจ�าพวก หิด เหา โลน เห็บ หมัด และแมลงIUPAC Name : (3-phenoxyphenyl)methyl 3-(2,2-dichloroethenyl)-2,2-dimethylcyclopropane-1-Carboxylateชื่อพ้องอื่น ๆ : Ambush ; Anomethrin N; Antiborer 3768; Atroban; Biomist; Chinetrin; Coopex; Cyclopropanecarboxylic acid,3-(2 ,2-d ichlorovin yl)-2,2-dimethyl-,3-phenoxybenzyl ester,(+-)-,(cis,trans)-; 3-(2,2Dichloroethenyl) 2,2dimeth ylcy clopropane carboxylic acid (3-phenoxyphenyl)methyl ester; 3-Phenoxyben zyl 3-(2,2 -dichlorovinyl)-2,2-dimethylcyclopropanecarboxylate; m-phenoxybenzyl (+/-) cis,trans-3-(2,2-dichlorovinyl) -2,2-dimethylcyclopropanecarboxylate; 3-phenoxy benzyl (1RS)-cis,trans-3-(2,2 dichlorovinyl) -2,2 dimethyl cyclopropane carboxylate;CAS No. : 52645-53-1UN No. : 3352หน่วยงานที่รับผิดชอบ : วัตถุอันตรายชนิดที่ 3 หน่วยงานรับผิดชอบ กรมโรงงานอุตสาหกรรม

1. คุณสมบัติทั่วไปของสาร - เป็นของเหลวหนืด/ของแข็ง มีสีเหลืองหรือสีขาวขุ่น - สูตรโครงสร้าง - สูตรเคมี : C21H20Cl2O3 - จุดหลอมเหลว (˚C) : 34 – 39 (˚C) - น�้าหนักโมเลกุล : 391.287 2. ความเป็นพิษของสาร สารนี้เป็นพิษอย่างยิ่งต่อปลา สัตว์น�้าที่ไม่มีกระดูกสันหลังและเป็นพิษ ต่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม และแมลง เมื่อร่างกายเกิดการสัมผัสสารเพอร์เมทริน (permethrin) จะมีอาการที่แสดงออกใน 2 ลักษณะ คือ (1) อาการเฉียบพลัน (Acute symptom) การสัมผัสสารทางผิวท�าให้ผิวหนังเป็นผื่นหรือผิวหนังชา มีพิษเฉียบพลันต่อระบบประสาท ก่อให้เกิด อาการปวดศีรษะ คลื่นไส้ เมื่อยล้า อ่อนเพลีย สั่น หายใจล�าบาก หมดสติ และชกั หากสดูดม กลนืกนิ หรอืได้รับสมัผสัทางผวิหนงั ในระดบัความเป็นพษิ สูงสามารถอาจเป็นอัมพาตได้ (2) อาการแบบเรื้องรัง (Chronic symptom) มีผลต่อพฤติกรรมมนุษย์ที่ได้รับสารเคมีเป็นเวลานานกรณีสัมผัสถูกผิวหนัง สารเคมีจะชะล้างไขมัน บนผวิหนงัให้หลดุออกไป อาจระคายเคอืงอย่างรนุแรง และสามารถก่อให้เกิด มะเร็งได้3. แนวทางในการปฏิบัติเพื่อลดความเสี่ยงในการสัมผัสสาร - สวมอปุกรณ์ช่วยหายใจแบบครบชดุ แว่นตานริภัย ถงุมอืป้องกนัสารเคมี รองเท้าบูท และชุดป้องกันสารเคมี - อย่าหายใจเอาไอระเหยเข้าไป ระวังอย่าให้เข้าตา โดนผิวหนงั หรอืเสือ้ผ้า หลีกเลี่ยงการได้รับสารเป็นเวลานานหรือซ�้าหลายครั้ง - ควรล้างมือให้สะอาดก่อนรับประทานอาหาร ดื่มน�้า - สารนี้เป็นพิษอย่างยิ่งที่ต่อปลาและสัตว์น�้าที่ไม่มีกระดูกสันหลังและ เป็นพษิกบันกและสตัว์เลีย้งลกูด้วยนม อย่าใช้โดยตรงกบัน�า้หรือแหล่งน�า้ ผิวดิน - ควรถอดอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลออกทันทีที่ใช้งานสารดังกล่าวเสร็จ ล้างถุงมือก่อนถอด ท�าความสะอาดร่างกายและสวมใส่เสื้อผ้าที่สะอาด รวมทั้งอย่าปนเปื้อนน�้า เมื่อมีน�้าทิ้งจากการล้างอุปกรณ์

4. การจัดเก็บและการเก็บรักษา - ควรหลกีเลีย่ง การเกบ็รวมกบัสารหรอืวตัถตุดิไฟ และสารรดีวิซิง่เอเจนท์ หรือสารที่สามารถออกซิไดซ์อย่างรุนแรง - เก็บในอุณหภูมิปกติ ที่แห้งและมืด ในห้องที่มีการระบายอากาศที่ดี - เก็บให้ห่างจากเด็ก สัตว์เลี้ยง อาหาร เมล็ดพันธุ์และปุ๋ย - ห้ามเก็บในพื้นที่อุณหภูมิสูง หรือมีเปลวไฟ

_16-0812 ������.indd 3 8/13/59 BE 3:51 PM

Page 2: เพอร์เมทริน (Permethrin) - PCD.go.thinfofile.pcd.go.th/waste/3-2559.pdf · เฟอร์แบม (Ferbam) 5. อันตรายจากการลุกไหม้

เฟอร์แบม (Ferbam)

5. อันตรายจากการลุกไหม้ - เมื่อสารนี้ได้รับความร้อนสูงหรือเมื่อไหม้ไฟ จะให้ฟูมที่เป็นพิษท�าให้เกิด การระคาย และเป็นพิษ ในการดับเพลิง ให้สวมชุดป้องกันอันตรายจาก สารเคมทีีปิ่ดมดิชดิทัง้ตวั พร้อมเครือ่งช่วยหายใจชนดิทีม่ถีงัอากาศในตวั - กรณีเกิดเพลิงไหม้เล็กน้อย ใช้ผงเคมีแห้ง คาร์บอนไดออกไซด์ หรือ ฉดีน�า้ฝอย ถ้าไม่เสีย่งต่ออนัตรายให้เคลือ่นย้ายภาชนะ บรรจหุรือหบีห่อ ทีไ่ม่เสยีหายออกจากบรเิวณทีเ่กดิเพลงิไหม้............................................ - กรณีเกิดเพลิงไหม้รุนแรง ใช้น�้าฉีดฝอย หรือโฟม ห้ามใช้น�้าฉีดโดยตรง h ttps://archive.epa.gov/pesticides/reregistration/web/pdf/ endosulfan_red.pdf - กรณเีกดิเพลงิไหม้ภาชนะบรรจขุนาดใหญ่ รวมถึงภาชนะ ขนส่งทางรถไฟ และรถยนต์ ให้อพยพผู้คนออกไปอย่างน้อย 800 เมตร โดยรอบทันที ห้ามอยูบ่ริเวณหวัหรือท้ายของท่อหรอืภาชนะบรรจ ุเพราะภาชนะบรรจ ุ อาจระเบิดเมื่อได้รับความร้อนสูง.............................................. - หล่อน�้าเย็นภาชนะบรรจุด้วยน�้าปริมาณมากๆ หลังจากที่ดับไฟแล้ว - น�้าจากการดับเพลิงมีฤทธ์ิกัดกร่อนอาจเป็นพิษ และก่อให้เกิดปัญหา น�้าเสียได้6. การหกรดและภาวะเหตุฉุกเฉิน - ให้กัน้แยกบรเิวณทีม่กีารหกรดของสารเฟอร์แบม อย่างน้อย 50-100 เมตร โดยรอบทันที ให้บุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องออกจากบริเวณ กรณีที่มีการหกรด มากให้อพยพผู้ที่อยู่ใต้ลมออกอย่างน้อย 250 เมตร - ห้ามแตะต้องภาชนะบรรจุที่ได้รับความเสียหายหรือสารท่ีหกรดโดย ไม่ได้สวมชุดป้องกัน - ป้องกันไม่ให้สารเฟอร์แบมไหลลงสู่แหล่งน�้า ท่อระบายน�้า ช้ันใต้ดิน หรือบริเวณที่อับอากาศ - ดูดซับสารที่หกรดด้วย ดิน ทราย และสารดูดซับอื่นท่ีไม่ติดไฟ และ เก็บในภาชนะปิดเพื่อด�าเนินการจัดการต่อไป7. การปฐมพยาบาล กรณีสัมผัสตา ให้ล้างตาด้วยน�้าไหลผ่านเป็นเวลาประมาณ 15 นาที กร ณีสัมผัสผิวหนัง ควรถอดเสื้อผ้า รองเท้าที่เปื้อนสารเฟอร์แบมออก เพื่อป้องกันไม่ให้สารถูกดูดซึมเข้าผ่านผิวหนัง และหากสารหกรดเปื้อน ผิวหนังให้ล้างผิวหนังด้วยสบู่และน�้าปริมาณมากๆ กรณีกลนืเข้าไป ก�าจดัสารโดยการล้างทางเดนิอาหาร และให้ผงถ่านกมัมนัต์ หรือการท�าให้อาเจียน โดยให้ดื่มน�้าสะอาด 2 แก้ว แล้วล้วงคอ ภายหลัง การได้รับสารเข้าสู่ร่างกาย กรณีหายใจเข้าไป น�าผูป่้วยออกจากบรเิวณทีเ่กดิเหต ุและให้ผูป่้วยพกัผ่อน ใน ที่ที่มีอากาศถ่ายเทสะดวก ถ้าผู้ป่วยไม่หายใจหรือหายใจติดขัดให้ใช้ เครือ่งช่วยหายใจหรอืให้ออกซเิจน ระวงัอย่าให้ผูป่้วยชกัและขาดออกซเิจน

หำกประสงค์ต้องกำรทรำบรำยละเอียดข้อมูลสำรเคมีเพิ่มเติม สำมำรถดำวน์โหลดได้ที่ http;//msds.pcd.go.th

เฟอร์แบม (ferbam) : เป็นสารอยู่ในกลุ่ม Dimethey Dithiocarbamates ใช้ก�าจัดโรคที่เกิดจากเชื้อราในพืช เช่น ยาสูบ มะเขือเทศ แอปเปิล ถั่วลันเตา แตงกวา องุ่น พริกไทย และพืชอื่นๆ IUPAC Name : iron tris(dimethyldithiocarbamate); iron(III) dimethyldithiocarbamateชื่อทั่วไป : ferric dimethyldithiocarbamateชื่อพ้องอื่นๆ .. : Knockmate; Ferbeck; Dimethyldithiocarbamic acid, iron salt; Fermate; Ferradow; Karbam Black; Dragon Ferbam; Hexaferb; Trifungol; (OC-6-11)-; Carbamic acid, dimethyldithio-, iron(3+) salt; Carbamodithioic acid, dimethyl-, iron complex; Iron, tris (dimethylcarbamodithioato-S,S’),(OC- 6 -11)-; Iron tris (N,N-dimethyldithiocarbamate)CAS No. : 14484-64-1UN No. : 2771หน่วยงานที่รับผิดชอบ : วัตถุอันตรายชนิดที่ 3 หน่วยงานรับผิดชอบ กรมวิชาการเกษตร

1. คุณสมบัติทั่วไปของสาร - เป็นผงผลึกสีด�าไม่มีกลิ่น - สูตรโครงสร้าง - สูตรเคมี : C9H18FeN3S6 / ((CH3)2NCS2)3Fe - จุดหลอมเหลว (˚C) : 180 (˚C) - น�้าหนักโมเลกุล : 416.5

2. ความเป็นพิษของสาร สารนี้เป็นพิษอย่างยิ่งต่อปลา สัตว์น�้าที่ไม่มีกระดูกสันหลังและเป็นพิษต่อ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม และแมลง เมื่อร่างกายเกิดการสัมผัสสารเฟอร์เบม จะม ีอาการที่แสดงออกใน 2 ลักษณะ คือ (1) อาก า รเฉียบพลัน (Acute symptom) การสัมผัสสารทางผิวท�าให้ ผิ ว หนังเ ป็นผ่ืนหรือผิวหนังชา มีพิษเฉียบพลันต่อระบบประสาท ก่อให้เกิด อาการปวดศีรษะ คลื่นไส้ เมื่อยล้า อ่อนเพลีย สั่น หายใจล�าบาก หมดสติ และ ชักหากสูดดม กลืนกิน หรือได้รับสัมผัสทางผิวหนัง ในระดับความเป็นพิษสูง สามารถอาจเป็นอัมพาตได้ (2) อาการแบบเรื้องรัง (Chronic symptom) มีผลต่อพฤติกรรมมนุษย ์ท่ี ได้รั บ สาร เคมีเป็นเวลานานกรณีสัมผัสถูกผิวหนัง สารเคมีจะชะล้างไขมัน บนผวิหนงัให้หลดุออกไป อาจระคายเคอืงอย่างรนุแรง และสามารถก่อให้เกิด มะเร็งได้3. แนวทางในการปฏิบัติเพื่อลดความเสี่ยงในการสัมผัสสาร - สวมอปุกรณ์ช่วยหายใจแบบครบชดุ แว่นตานริภัย ถงุมอืป้องกนัสารเคมี รองเท้าบูท และชุดป้องกันสารเคมี - อย่าหายใจเอาไอระเหยเข้าไป ระวังอย่าให้เข้าตา โดนผิวหนงั หรอืเสือ้ผ้า หลีกเลี่ยงการได้รับสารเป็นเวลานานหรือซ�้าหลายครั้ง - ควรล้างมือให้สะอาดก่อนรับประทานอาหาร ดื่มน�้า - ป้องกันไม่ให้เกิดการฟุ้งกระจายของสาร - สารนี้เป็นพิษอย่างยิ่งที่ต่อปลาและสัตว์น�้าที่ไม่มีกระดูกสันหลังและ เป็นพษิกบันกและเลีย้งลกูด้วยนม อย่าใช้โดยตรงกบัน�า้หรอืแหล่งน�า้ผวิดนิ - ควรถอดอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลออกทันทีที่ใช้งานสารดังกล่าวเสร็จ ล้างถุ งมือก่อนถอด ท�าความสะอาดร่างกายและสวมใส่เสื้อผ้าที่สะอาด รวมทั้งอย่าปนเปื้อนน�้า เมื่อมีน�้าทิ้งจากการล้างอุปกรณ์

4. การจัดเก็บและการเก็บรักษา - เก็บแยกออกจากสารออกซิไดซ์อย่างรุนแรง สารประกอบที่มีทองแดง หรือปรอทเป็นส่วนประกอบ และวัสดุอัลคาไลน์ - เก็บในอุณหภูมิปกติ ที่แห้งและมืด ในห้องที่มีการระบายอากาศที่ดี - เก็บให้ห่างจากเด็ก สัตว์เลี้ยง อาหาร เมล็ดพันธุ์และปุ๋ย - ห้ามเก็บในพื้นที่อุณหภูมิสูง หรือมีเปลวไฟ

_16-0812 ������.indd 4 8/13/59 BE 3:51 PM