neonate 46

5
1/22/2009 1 การพยาบาลทารกที่มีภาวะเสี่ยง ทารกแรกเกิด หมายถึง ทารกอายุตั ้งแต่แรกเกิดจนถึง 28 วัน แบ่งเป็นทารกแรกเกิดระยะต้น-7 วัน ทารกแรกเกิดระยะท้าย 7-28 วัน ทารกนํ้าหนักตัวน้อย หมายถึงทารกที่มีนํ้าหนักตัว น้อยกว่า 2500 กรัม ประเภทของนํ้าหนักตัวน ้อย SGA(Small for gestation age) ทารกที่มีนํ้าหนักน้อยกว่า 10 percentile ของนํ้าหนักปกติที่อายุครรภ์นั ้นๆ LGA(Small for gestation age) ทารกที่มีนํ้าหนักมากกว่า 10 percentile ของนาหนกปกตอายครรภนๆ percentile ของนาหนกปกตทอายครรภนนๆ AGA(Appropriate for gestation age) ทารกที่มีนํ้าหนัก ตัวสมกับอายุครรภ์นั ้นๆ IUGR(Intrauerine Growth Retarddation) ทารกที่มีนํ้าหนัก น้อยกว่าอายุครรภ์นั ้นๆ ทารกคลอดกอนกําหนด (Prematurity) หมายถึง ทารกที่คลอดกอนอายุครรภ 37 สัปดาห (นอย กวา 259 วัน ) ทารกคลอดกอนกําหนด (Prematurity) การวินิจฉัย โดยใชวิธี Dubowitz Nicolopoulos และ Ballard โดยดู จากลักษณะภายนอก 6 อยาง และการตรวจระบบประสาท 6 อยาง เมื่อรวมคะแนนแลวจึงนําไปเทียบกับตารางอายุครรภ ควรทําหลังจากคลอด 24 ชั่วโมงไปแลว การดูแลทารกคลอดกอนกําหนด 1.การควบคุมอุณหภูมิของรางกาย 2.การปองกันการติดเชื้อ 3. ปองกันภาวะเลือดออก 4.การสังเกตอาการอยางใกลชิด 5.การอาหาร 6.การใหวิตามินและเหล็ก ภาวะแทรกซอนที่พบไดในทารกคลอดกอนกําหนด Birth Asphysia หมายถึง ภาวะขาดออกซิเจนหลังคลอด Apgar score ต่ํา กวา 6 หรือ 7 ที1 นาที และ5 นาที มักตองชวยหายใจนาน เกิน 2-3 นาที อาการและอาการแสดง 1.การขาดออกซิเจนกระทันหัน ทําใหเกิดการ เปลี่ยนแปลงในปอด ความดันในปอดสูงมากขึ้น ถา ความดันเลือดในรางกายต่ําดวย ก็จะมีผลทําใหเลือด ไปเลี้ยงปอดลดลง 2.การเปลี่ยนแปลงของระบบหมุนเวียนเลือด 3.การเปลี่ยนแปลงของระบบประสาท 4. การเปลี่ยนแปลงของระบบทางเดินอาหาร 5 การเปลยนแปลงทไต เกacute renal failure ได5.การเปลี่ยนแปลงที่ไต เกิด acute renal failure ได 5.การเปลยนแปลงทไต เกด acute renal failure ได 6.การเปลี่ยนแปลงทาง metabolic

Upload: susheewa

Post on 10-Apr-2015

2.551 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Neonate 46

1/22/2009

1

การพยาบาลทารกที่มภีาวะเส่ียง

ทารกแรกเกดิ หมายถึง ทารกอายุต้ังแต่แรกเกิดจนถึง 28

วนั แบ่งเป็นทารกแรกเกดิระยะต้น-7 วนั

ทารกแรกเกดิระยะท้าย 7-28 วนั

ทารกนํา้หนักตัวน้อย หมายถึงทารกท่ีมีนํา้หนักตัว

น้อยกว่า 2500 กรัม

ประเภทของนํา้หนักตัวน้อย

SGA(Small for gestation age) ทารกท่ีมีนํา้หนักน้อยกว่า 10

percentile ของนํา้หนักปกติท่ีอายุครรภ์น้ันๆLGA(Small for gestation age) ทารกท่ีมีนํา้หนักมากกว่า 10

percentile ของนํา้หนักปกติท่ีอายครรภ์น้ันๆpercentile ของนาหนกปกตทอายุครรภนนๆ

AGA(Appropriate for gestation age) ทารกท่ีมีนํา้หนัก

ตัวสมกบัอายุครรภ์น้ันๆIUGR(Intrauerine Growth Retarddation) ทารกท่ีมีนํา้หนัก

น้อยกว่าอายุครรภ์น้ันๆ

ทารกคลอดกอนกําหนด (Prematurity)หมายถึง ทารกที่คลอดกอนอายุครรภ 37 สัปดาห (นอย

กวา 259 วัน ) ทารกคลอดกอนกําหนด (Prematurity)

การวินิจฉัย โดยใชวิธี Dubowitz Nicolopoulos และ Ballard โดยดู

จากลักษณะภายนอก 6 อยาง และการตรวจระบบประสาท 6 อยาง เม่ือรวมคะแนนแลวจึงนําไปเทียบกับตารางอายุครรภ ควรทําหลังจากคลอด 24 ช่ัวโมงไปแลว

การดูแลทารกคลอดกอนกําหนด1.การควบคุมอุณหภูมิของรางกาย2.การปองกันการติดเช้ือ 3. ปองกันภาวะเลือดออก4.การสังเกตอาการอยางใกลชิด

ใ 5.การใหอาหาร 6.การใหวิตามินและเหล็ก

ภาวะแทรกซอนที่พบไดในทารกคลอดกอนกําหนดBirth Asphysia

หมายถึง ภาวะขาดออกซิเจนหลังคลอด Apgar score ตํ่ากวา 6 หรือ 7 ท่ี 1 นาที และ5 นาที มักตองชวยหายใจนานเกิน 2-3 นาที

อาการและอาการแสดง1.การขาดออกซิเจนกระทันหัน ทําใหเกิดการ

เปลี่ยนแปลงในปอด ความดันในปอดสูงมากขึ้น ถาความดันเลือดในรางกายต่ําดวย ก็จะมีผลทําใหเลือดไปเล้ียงปอดลดลง

2.การเปลี่ยนแปลงของระบบหมุนเวียนเลือด

3.การเปลี่ยนแปลงของระบบประสาท

4. การเปลี่ยนแปลงของระบบทางเดนิอาหาร 5 การเปล่ียนแปลงท่ีไต เกิด acute renal failure ได้

5.การเปลี่ยนแปลงที่ไต เกิด acute renal failure ได

5.การเปลยนแปลงทไต เกด acute renal failure ได

6.การเปลี่ยนแปลงทาง metabolic

Page 2: Neonate 46

1/22/2009

2

ทารกที่มีภาวะหายใจลําบาก ( Idiopathic Distress Syndrome)

IRDS หรือ HMD ( Hyaline Membrane Disease ) เปนกลุมอาการหายใจลําบากในทารกคลอดกอนกําหนด

อาการและอาการแสดง ทารกจะปรากฎอาการหายใจลําบากภายใน 8 ชม.หลงัคลอด ในระยะที่เป็นใหม่ๆ ใน 48-72 ชม.แรก

อาการ-หายใจเร็ว หนาอกบุม อัตราการหายใจ

มากกวา 60 คร้ัง/นาที ในทารกแรกเกิด-Expiratory grunting-Cyanosisy-Systemic hypotention-Abnormal Breath sound เชนอาจพบ

crepitation

การรักษา

แบบประคับประคอง โดยใชเคร่ืองชวยหายใจชนิด CPAP (Continuous Positive airway Pressure)หรือ PEEP

ั(Positive End Expiratory Pressure)ความดันไมเกิน 10 cmH2O ควบคุมระดับออกซิเจนในเลือดใหไดเทากับ50-70 mmHg และระดับคารบอนไดออกไซดในเลือดอยูระหวาง 35-45 mmHg จึงคอยๆลดออกซิเจนลง

การพยาบาล-รักษาอุณหภูมิของรางกาย-ใหการพยาบาลที่นุมนวลและรวดเร็ว-บันทึกสัญญาณชีพ-งดนํ้าและอาหารทางปากในระยะทีห่ายใจลําบาก-ใหอาหารทาง NG tube

ํ ื่ ช ใ-ดูแลการทางานของเครองชวยหายใจ-clear air way ใหโลง สังเกตภาวะ cyaosis และอาการ

หายใจลําบาก-ปองกันการติดเช้ือเพ่ิม ดูแลสิ่งแวดลอม และความ

สะอาดของอุปกรณ-ดูแลความสะอาดรางกาย

การหยุดหายใจทารกแรกเกิด ( Apnea )

การหยุดหายใจนานเกิน 20 วินาที มีหัวใจเตนชา เขยีวหรือซีดรวมดวยหวใจเตนชา เขยวหรอซดรวมดวย

สาเหตุ -ทารกคลอดกอนกําหนด-มีปญหาที่ระบบประสาทสวน กลาง-ชัก-ซีด-REM sleep-sepsis-Hypothermia-PDA-Electrolyte Imbalance-drug effect

Page 3: Neonate 46

1/22/2009

3

การรักษามีหลายวิธี -รักษาตามอาการและสาเหต-ดูแลใหออกซิเจน -หลีกเลี่ยงการกระตุน Reflex-รักษาทางยา ลดการกดหนาท่ีศูนยหายใจ

การพยาบาล -หลีกเลี่ยงสิง่ท่ีจะกระตุนใหเกดิภาวะ Apn

-สังเกตอาการอยางใกลชิดในทารกที่อยูในภาวะเส่ียง -ดูแลทางเดินหายใจใหโลง -สังเกตสัญญาณชีพ

-เตรียมอุปกรณใหพรอม เชน ออกซิเจน เครื่องชวยหายใจ-ดูแลใหไดรับออกซิเจนอยางเพียงพอ

Aspiration Syndrome

เปนกลุมอาการสําลักน้ําครํ่าหรือส่ิงที่เจือปนเขาไปขณะคลอด เชนกลมสงทเจอปนเขาไปขณะคลอด เชนกลุมอาการสําลักขี้เทา(Meconium aspiration syndrome)

อาการแสดง

-ทารกหายใจเร็วมากกวาปกติ(60/นาที)-ปลายมือปลายเทาเขียว Cyanosis-Apnea ได-หนาอกโปงผิดปกติ-Abnormal Breath sound อาจเจอ crepitation-อาจพบ pneumothorax-ภาพถายรังสีจะพบ pleural effusion-มีไข เกิด pneumonia ได

การรักษา-suction ให clear ในทารกที่มีภาวะเส่ียง-ติดตามอาการแสดง -ใหออกซิเจน-ใหยา antibiotic

การพยาบาลการพยาบาล-สังเกตอาการอยางใกลชิด-clear airway -สังเกตสัญญาณชีพ-ดูแลใหไดรับออกซิเจนอยางเพียงพอ-Hygine Care

ภาวะเลือดออกในปอด(Pulmonary Heamorrhage)

พบไดบอยในทารกแรกเกิดน้ําหนักตัวนอย (ต่ํากวา 2500 กรัม) หรือพวก SGAสาเหตุ

-อาจพบรวมกับภาวะพรองออกซิเจนกอนคลอด หรือระยะแรกคลอด ภาวะกรดเกิน sepsis โรคหัวใจแตกําเนิด หัวใจวายเลือดค่ัง ภาวะเลือดออกผิดปกติ DIC (Disseminated intravascular clotting)

อาการแสดงมีภาวะหายใจลําบาก คลายๆกับ

พวก IRDS ฟงเสียงปอดพบ crepitation อาจพบเลือดออกทางจมูก ปาก การรักษา

แบบประคับประคอง ขึ้นอยูกับสาเหตุ ใหออกซิเจน ใหเลือด

Page 4: Neonate 46

1/22/2009

4

การพยาบาล-ดูแล airwayั ใ ิ-สังเกตอาการอยางใกลชิด

-ใหการพยาบาลดวยความนุมนวล-ถามีภาวะผิดปกติของระบบไหลเวียน

ภาวะลมในชองเย่ือหุมปอด ( Pneumothorax)สาเหตุ

-การสูดสําลักขี้เทา-เกิดขึ้นเอง Spontaneous-ปอดเจริญนอยกวาปกติ ซ่ึงอาจพบเปนที่

ป ใ ึ่ปอดขางใดขางหนง-fetal distress-ภาวะแทรกซอนจากการใหเคร่ืองชวย

หายใจ-ไสเล่ือนกระบังลม-ปอดอักเสบ

อาการ

มีภาวะหายใจลําบาก grunting retraction หนาอกโปงผิดปกติขางใดขางหนึ่งและการเคลื่อนไหวของหนาอกไมเทากัน การรักษาการรกษา-รักษาตามอาการขึ้นอยูกับความรุนแรงของโรค

-ดูแลใหเคร่ืองชวยหายใจ-เจาะเอาลมออก-ใสสาย ICD

การพยาบาล-สังเกตอาการอยางใกลชิด-ดูแลใหไดรับออกซิเจนอยางเพียงพอ-สังเกตการทํางานของ ICD-เตรียมความพรอมของอุปกรณกูชีวิต-ใหการพยาบาลตามอาการ

ภาวะแรงดันเลือดของปอดสูง (Pulmonary persistantHypertention)หมายถึงแรงตานของหลอดเลือด pulmonary

vascular resistance สูงภายหลังทารกเกิดสาเหตุุ-มีความผิดปกติของปอด-ไมมีความผิดปกติของปอด เชนBirth asphysia ซ่ึงพบไดบอยที่สุด และภาวะสูดสําลักขี้เท-มีความผิดปกติของเลือด-มีความผิดปกติของหัวใจ

อาการแสดง พบใน24 ชั่วโมงแรก-เขียว Cyanosis ถารองจะเขียวมากขึ้น-อาการ หายใจลําบากซ่ึงไมรุนแรงมาก-เสียงหัวใจผิดปกติ อาจพบ murmur

การรักษา-วินิจฉัยแยกโรคระหวางโรคปอดกับหัวใจโดยวิธี Hyperoxia Test

Page 5: Neonate 46

1/22/2009

5

การรักษา-รักษาตามสาเหตุ-ใหออกซิเจน 100% เพื่อรักษาระดับออกซิเจนใเลือดใหมากกวา 60 mmHgg-รักษาแรงดันของเลือดใหอยูในระดับ systolic 6080 mmHg-ใหยา control ความดัน

การพยาบาล-ดูแลทารก หลีกเลี่ยงการทําใหทารกเจ็บปวด-สังเกตการหายใจ และภาวะขาดออกซิเจน-ตรวจสอบสัญญาณชีพอยางใกลชิด-Hygine careHygine care-หลีกเลี่ยงการตรวจรางกายโดยไมจําเปน-ดูแลควบคุมอุณหภูมิของรางกาย