pracha tangjitthamapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/c00615/c00615-2.pdf ·...

92
ผลงานที่เปนผลการดําเนินงานที่ผานมา การมีสวนรวมอนุรักษและจัดการปาตนน้ําของชุมชนตําบลเมืองคอง อําเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation for conservation and management watershed Forest of Community in Tumbon Muang Kong, Amphoe Chiang Dao, Changwat Chiang Mai ประชา ตั้งจิตธรรม PRACHA TANGJITTHAM สํานักบริหารพื้นที่อนุรักษที16 (เชียงใหม) กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ..2549

Upload: others

Post on 14-Mar-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

ผลงานที่เปนผลการดําเนินงานที่ผานมา

การมีสวนรวมอนุรักษและจัดการปาตนน้ําของชุมชนตําบลเมืองคอง อําเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม

Participation for conservation and management watershed Forest of Community

in Tumbon Muang Kong, Amphoe Chiang Dao, Changwat Chiang Mai

ประชา ตั้งจิตธรรม PRACHA TANGJITTHAM

สํานักบริหารพื้นที่อนุรักษท่ี 16 (เชียงใหม) กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช

พ.ศ.2549

Page 2: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

บทคัดยอ การศึกษาการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําของชุมชนตําบลเมืองคอง อําเภอเชียงดาว จังหวัดเชยีงใหม มีวตัถุประสงคเพื่อศึกษาถึงลักษณะสวนบุคคล ปจจัยทางเศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนปญหา อุปสรรค ขอเสนอแนะ ของประชากรในตําบลเมืองคอง อําเภอเชียงดาว จังหวัดเชยีงใหม กับการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําโดยรอบชุมชน

ประชากรที่ศึกษามีจํานวน 3,954 คน โดยกาํหนดกลุมตัวอยางตามหลักการของ Yamanae ที่ระดับความเชื่อมั่นของขอมูลรอยละ 95 จํานวน 270 ตัวอยาง และแบงจํานวนตามสัดสวนของประชากรใน 6 หมูบาน โดยทําการวิเคราะหขอมูลดวยโปรแกรมสถิติสําเร็จรูปทางสังคมศาสตร (SPSS/PC, Statistical Package for the Social Science) ไดแก คารอยละ คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบหาความสัมพันธระหวางปจจยัตางๆกับการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํ โดยการทดสอบคาไคสแควร (Chi-square Test)

ผลการศึกษาพบวาประชากรที่ทําการศึกษาสวนใหญเปนเพศชาย อายุระหวาง 36-50 ป มีสถานภาพสมรสอยูดวยกัน เปนหวัหนาครัวเรือน การศึกษาระดับประถมศึกษา อาชีพเกษตรกร สมาชิกในครัวเรือน 4-6 คน รายไดต่ํากวา 10,000 บาท/ป ที่ดินทําการเกษตรสวนใหญมีเอกสารสิทธิ์ รอยละ 38.1 ไมเคยมีการติดตอกับเจาหนาที่สงเสริมจากหนวยจดัการตนน้ํา รอยละ 54.1 ไมเคยไดรับการฝกอบรมเกี่ยวกบัการอนุรักษและจดัการปาตนน้ํา รอยละ 60.7 การรับขาวสารดานปาไมอยูในระดับนอย มีสวนรวมในกิจกรรมปาไมนอย แตมีความรูความเขาใจเกีย่วกับการอนุรักษและจดัการปาตนน้ําคอนขางมาก การมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํา พบวา การเสนอความคิดเห็น ,การวางแผนการดําเนินงาน, การรวมลงมือปฏิบัติ และการติดตามและประเมินผลโครงการ อยูในระดับนอย สําหรับการทดสอบหาความสมัพนัธของตัวแปรมีเพียง การติดตอกับเจาหนาที่ การรับขาวสารและการฝกอบรมเกี่ยวกับการอนรัุกษและจัดการปาตนน้ํา มีความสัมพันธกับการมีสวนรวมในการอนรัุกษและจัดการปาตนน้ํา อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชือ่มั่น 0.05

คําหลัก... ปาตนน้ํา / การมสีวนรวม / การอนุรักษ / การจัดการ / ชุมชน

Page 3: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

Abstract The study purpose of the participation for conservation and management watershed forest of community in Tumbon Muang Kong, Amphoe Chiang Dao, Changwat Chiang Mai is on studying the individual’s personality, economic and social factors covering the problems and proposals of the local people toward the watershed forest conservation and management participating around the community’s area.

The study group consisted of 3,954 people. According to Yamanae’s principle, the researcher divided the group into 270 examples by 95 percent reliable information. Also the researcher separated the amount of the population in 6 villages by the proportion and analyzed the information by SPSS/PC ( Statistical Package for the Social Science) namely percentage, mean, standard deviation and figuring out the relation between factors and the watershed forest conservation and management participating by Chi-square Test.

The result of the study found out that the majority of the study group is male age between 36-50 years. These men are married and also the leaders of family. They are elementary school educated and earn their living on being farmers. There are 4-6 people altogether in the family. The income is less than 10,000 baht per year. Most agricultural land is sole privilege 38.1 %. They have never consulted the officer of watershed management offices 54.1% and have never been trained on watershed forest conservation and management 60.7%. However they hardly get news about the forest and seldom participate in the activities of Department of Forestry. They are pretty much skillful on watershed forest conservation and management. The Opinion, Action plans, Implementation and Monitor-evaluation are still low level in participation for conservation and management watershed forest. According to the examine on relation of factors, there are only consulting the officials, getting news and training on the watershed forest conservation and management which related to the participating on the watershed forest conservation and management on the statistical significant level 0.05

KEY WORD… WATERSHED FOREST / PARTICIPATION / CONSERVATION / MANAGEMENT / COMMUNITY

Page 4: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

บทคัดยอ การศึกษาวิจยัการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําของชุมชนตําบลเมืองคอง อําเภอเชียงดาว จังหวัดเชยีงใหม มีวตัถุประสงคเพื่อศึกษาถึงลักษณะสวนบุคคล ปจจัยทางเศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนปญหา อุปสรรค ขอเสนอแนะ ของประชากรในตําบลเมืองคอง อําเภอเชียงดาว จังหวัดเชยีงใหม กับการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําโดยรอบชุมชน ประชากรที่ศึกษามีจํานวน 3,954 คน โดยกาํหนดกลุมตัวอยางตามหลักการของ Yamanae ที่ระดับความเชื่อมั่นของขอมูลรอยละ 95 จํานวน 270 ตัวอยาง และแบงจํานวนตามสัดสวนของประชากรใน 6 หมูบาน โดยทําการวิเคราะหขอมูลดวยโปรแกรมสถิติสําเร็จรูปทางสังคมศาสตร (SPSS/PC, Statistical Package for the Social Science) ไดแก คารอยละ คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบหาความสัมพันธระหวางปจจยัตางๆกับการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํ โดยการทดสอบคาไคสแควร (Chi-square Test) ผลการศึกษาวจิัยพบวาประชากรที่ทําการศึกษาสวนใหญเปนเพศชาย อายุระหวาง 36-50 ป มีสถานภาพสมรสอยูดวยกัน เปนหัวหนาครัวเรือน การศึกษาระดับประถมศึกษา อาชพีเกษตรกร สมาชิกในครัวเรือน 4-6 คน รายไดต่ํากวา 10,000 บาท/ป ที่ดินทําการเกษตรสวนใหญมีเอกสารสิทธิ์ ไมเคยมีการติดตอกบัเจาหนาที่สงเสริมจากหนวยจัดการตนน้ํา ไมเคยไดรับการฝกอบรมเกี่ยวกับการอนรัุกษและจัดการปาตนน้ํา การรับขาวสารดานปาไมอยูในระดับนอย มีสวนรวมในกิจกรรมปาไมนอย แตมีความรูความเขาใจเกีย่วกับการอนุรักษและจดัการปาตนน้ําคอนขางมาก สําหรับการทดสอบหาความสัมพันธของตัวแปรมีเพยีง การติดตอกับเจาหนาที่ การรับขาวสารและการฝกอบรมเกี่ยวกับการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํา มีความสัมพันธกับการมีสวนรวมในการอนรัุกษและจัดการปาตนน้ํา อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 0.05

Page 5: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

Abstract The research purpose of the participation of the community Tumbol Muang Kong, Amphoe Chiang Dao, Changwat Chiang Mai for conservation and management watershade forest is on studying the individual’s personality, economic and social factors covering the problems and proposals of the local people toward the watershade forest conservation and management participating around the community’s area.

The study group consisted of 3,954 people. According to Yamanae’s principle, the researcher divided the group into 270 examples by 95 percent reliable information. Also the researcher separated the amount of the population in 6 villages by the proportion and analyzed the information by SPSS/PC ( Statistical Package for the Social Science) namely percentage, mean, standard deveation and figuring out the relation between factors and the watershade forest conservation and management participating by Chi-square Test.

The result of the study found out that the majority of the study group is male age between 36-50 years. These men are married and also the leaders of family. They are elementary school educated and earn their living on being farmers. There are 4-6 people altogether in the family. The income is less than 10,000 baht per year. Most agricultural land is sole privilege. They have never consulted the officer of watershade managemant offices and have never been trained on watershade forest conservation and management. However they hardly get news about the forest and seldom participate in the activities of Department of Forestry. They are pretty much skillful on watershade forest conservation and management. According to the examine on relation of factors, there are only consulting the officials, getting news and training on the watershade forest conservation and management which related to the participating on the watershade forest conservation and management on the statistical significant level 0.05

Page 6: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

สารบาญ

หนา บทคัดยอภาษาไทย ก บดคัดยอภาษาอังกฤษ ข สารบาญตาราง จ สารบาญภาพ ซ บทที่ 1 บทนํา 1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 1 วัตถุประสงค 1 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 2 สมมติฐานในการวิจยั 2 นิยามศัพท 3 บทที่ 2 แนวคดิ ทฤษฎี และงานวิจยัที่เกีย่วของ 4 2.1 แนวคดิระบบนิเวศนวิทยามนุษย 4 2.2 แนวคดิการมีสวนรวมของประชาชน 4 2.3 แนวคดิเกีย่วกับการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ 7 2.3.1 ความหมายของการอนุรักษ 7 2.3.2 ความจําเปนในการจัดการลุมน้ํา 9 2.4 แนวคดิการจัดการทรัพยากรตามแนวทางการพัฒนาทีย่ั่งยืน 10 2.5 สภาพทั่วไปของตําบลเมืองคอง 11 2.6 งานวิจยัที่เกี่ยวของ 12 บทที่ 3 วิธีการดาํเนินการวิจยั 14 ประชากรที่ใชในการศึกษา 14 การสุมตัวอยาง 14 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 16 การทดสอบแบบสอบถาม 16 การเก็บรวบรวมขอมูล 16 การวิเคราะหขอมูล 17

Page 7: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

สารบาญ (ตอ)

หนา บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล 18

ตอนที่ 1 ปจจยัพื้นฐานสวนบุคคล เศรษฐกิจและสังคม 18 ตอนที่ 2 วิเคราะหขอมูลดานความรูความเขาใจเกีย่วกับการ

อนุรักษและจดัการปาตนน้ํา 27

ตอนที่ 3 วิเคราะหขอมูลดานการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํของประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษา

31

ตอนที่ 4 วิเคราะหปจจยัที่มคีวามสัมพันธกับการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําของชุมชนตําบลเมืองคอง อําเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม

38

ตอนที่ 5 ปญหา อุปสรรคและขอเสนอแนะเกี่ยวกับการมีสวนรวมในการอนรัุกษและจัดการพื้นที่ปาตนน้าํ

54

บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย อภปิรายผล และขอเสนอแนะ 58 สรุปผลการวิจัย 58 สรุปผลการทดสอบสมมติฐาน 59 ปญหา อุปสรรคของประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษาตอการมี

สวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํ 59

ขอเสนอแนะและแนวทางการแกไข 59 อภิปรายผลการวิจัย 60 ขอเสนอแนะจากผลการวิจยั 61 ขอเสนอแนะในการวจิัยคร้ังตอไป 62

เอกสารอางอิง 63 ภาคผนวก

ภาคผนวก ก แบบสอบถาม 65 ภาคผนวก ข การทดสอบหาความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม 70 ภาคผนวก ค แผนที่แสดงรายละเอียดเกีย่วกับตําบลเมืองคอง

อําเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม 72

Page 8: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

สารบาญตาราง

ตารางที่ หนา

1 กลุมตัวอยาง(ครัวเรือน) เพือ่เก็บขอมูลแตละหมูบานในตําบลเมืองคอง 15 2 เพศของประชากรตําบลเมืองคองที่ทําการศึกษา 18 3 อายุของประชากรตําบลเมืองคองที่ทําการศึกษา 19 4 สถานภาพสมรสของประชากรตําบลเมืองคองที่ทําการศึกษา 19 5 สถานภาพในครัวเรือนของประชากรตําบลเมืองคองที่ทําการศึกษา 20 6 ระดับการศึกษาของประชากรตําบลเมืองคองที่ทําการศึกษา 20 7 อาชีพหลักของประชากรตําบลเมืองคองที่ทําการศึกษา 21 8 จํานวนสมาชิกในครัวเรือนของประชากรตําบลเมืองคองที่ทําการศึกษา 21 9 จํานวนแรงงานในภาคการเกษตรของครัวเรือนของประชากรตําบลเมือง

คองที่ทําการศึกษา 22

10 จํานวนแรงงานนอกภาคการเกษตรของครัวเรือนของประชากรตําบลเมืองคองที่ทําการศึกษา

22

11 รายไดจากการประกอบอาชพีของประชากรตําบลเมืองคองที่ทําการศึกษา 23 12 ลักษณะการถอืครองที่ดินทําการเกษตรของประชากรตาํบลเมืองคองที่

ทําการศึกษา 23

13 การติดตอกับเจาหนาที่สงเสริมจากหนวยจดัการตนน้ํา 24 14 การไดรับการฝกอบรมเกี่ยวกับการอนุรักษปาไมในพื้นที่ตนน้ําของ

ประชากรตําบลเมืองคองที่ทําการศึกษา 24

15 แหลงขาวสารและความรูเกี่ยวกับการอนุรักษและจดัการปาตนน้ํา 26 16 ความรูความเขาใจเกีย่วกับการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํของประชากร

ตําบลเมืองคองที่ทําการศึกษา 29

17 คะแนนความรูเกี่ยวกับความรูความเขาใจเกี่ยวกับการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําของประชากรตําบลเมืองคองที่ทําการศกึษา

31

18 การมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําของประชากรตําบลเมืองคองที่ทําการศึกษา

35

19 ความสัมพันธระหวางเพศของประชากรตาํบลเมืองคองที่ศึกษากับการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํ

38

Page 9: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

สารบาญตาราง (ตอ)

ตารางที่ หนา

20 ความสัมพันธระหวางอายุของประชากรตาํบลเมืองคองที่ศึกษากับการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํ

39

21 ความสัมพันธระหวางสถานภาพสมรสของประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษากับการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํ

40

22 ความสัมพันธระหวางสถานภาพในครัวเรือนของประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษากบัการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํา

41

23 ความสัมพันธระหวางระดับการศึกษาของประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษากับการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํ

42

24 ความสัมพันธระหวางอาชพีหลักของประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษากับการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํา

43

25 ความสัมพันธระหวางความรูความเขาใจเกี่ยวกับการอนรัุกษและจัดการปาตนน้ําของประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษากับการมีสวนรวมในการอนุรักษและจดัการปาตนน้ํา

45

26 ความสัมพันธระหวางรายไดของครัวเรือนของประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษากับการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํ

46

27 ความสัมพันธระหวางจํานวนสมาชิกในครัวเรือนของประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษากับการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํา

47

28 ความสัมพันธระหวางจํานวนแรงงานในครัวเรือนของประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษากับการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํา

48

29 ความสัมพันธระหวางการครอบครองที่ดินของประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษากับการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํ

49

30 ความสัมพันธระหวางการตดิตอกับเจาหนาที่ของประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษากบัการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํา

50

31 ความสัมพันธระหวางการรับขาวสารของประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษากับการมีสวนรวมในการอนรัุกษและจัดการปาตนน้ํา

51

32 ความสัมพันธระหวางการฝกอบรมของประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษากับการมีสวนรวมในการอนรัุกษและจัดการปาตนน้ํา

52

Page 10: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

สารบาญตาราง (ตอ)

ตารางที่ หนา

33 สรุปความสัมพันธระหวางตวัแปรอิสระกบัการมีสวนรวมอนุรักษและจัดการพืน้ที่ปาตนน้ํา

53

34 ปญหา และอปุสรรคตอการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการพื้นทีป่าตนน้ํา

56

35 ขอเสนอแนะ และแนวทางแกไขในการอนรัุกษและจัดการพื้นที่ปาตนน้าํ 57

Page 11: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

สารบาญภาพ

ภาพที ่ หนา

1 แสดงแนวคิดสัมพันธของการมีสวนรวม 6

Page 12: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

บทท่ี 1 บทนํา

ความเปนมาและความสําคญัของปญหา ในปจจุบนัสถานการณเกี่ยวกับน้ํามีปญหาเกิดขึ้นเปนอันมากทั้งในดานการขาดแคลนน้ําในฤดูแลงตามทองถ่ินตางๆทั่วประเทศ สภาวะน้ําทวมในฤดูฝนทําความเสียหายใหกับพืชผลและชุมชน ตลอดจนการเกิดปญหาทางดานสิ่งแวดลอมของทรัพยากรน้าํในทุกภูมิภาคของประเทศมีสภาพของปญหาใกลเคยีงกนั ภาคเหนือมีปญหาการขาดแคลนน้ําเกดิขึ้นเฉพาะบางพื้นที่และตามฤดูกาล ซ่ึงมีสาเหตุมาจากปาไมบริเวณตนน้ําลําธารถูกทําลายลงไปมาก และการนาํเอาทรัพยากรมาใชประโยชน โดยไมไดมีการวางแผนการจัดการที่เหมาะสม รองรับปญหาที่เกิดขึ้น ทําใหทรัพยากรธรรมชาติที่เหลืออยูมีสภาพเสื่อมโทรมลงโดยเฉพาะปาตนน้าํ สงผลใหปริมาณน้ําฝนที่ตกลงมา ไมไดถูกดูดซับโดยปาไม เปนผลใหมีน้ําผิวดนิจํานวนมาก โดยเกดิน้ําหลากในฤดูฝนและขาดแคลนในฤดูแลง

ดวยเหตนุี้จึงเปนเรื่องสําคัญที่ควรจะมกีารศึกษาวจิัยการมีสวนรวมในการอนุรักษและการจัดการปาตนน้าํของชุมชน โดยผูวจิัยจะทําการศึกษาในพืน้ที่ตําบลเมืองคอง ซ่ึงเปนตําบลหนึ่งที่อยูในอําเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม โดยพ้ืนที่ของตําบลเมืองคองอยูในเขตพื้นทีป่าตนน้ํา และประชากรสวนใหญเปนชาวไทยภูเขาเผาตาง ๆ ประกอบไปดวย เผากะเหรี่ยง ลีซอ จีนฮอ และไทยใหญ และคาดวาผลการศกึษาวจิัยจะเปนแนวทางใหหนวยงานจัดการตนน้ําแมสลาหลวงหรือผูที่เกี่ยวของนําไปเปนแนวทางปฏิบัติเพื่อใหเกิดประสิทธิผลและประสิทธิภาพในการบริหารและจัดการตอไป

วัตถุประสงค 1. เพื่อศึกษาถึงการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําของชุมชน ตําบล

เมืองคอง อําเภอเชียงดาว จงัหวัดเชียงใหม 2. เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางลักษณะสวนบุคคล ปจจัยทางเศรษฐกิจและสังคม

ของชาวบาน ตําบลเมืองคอง อําเภอเชียงดาว จังหวดัเชียงใหม กับการอนุรักษและจัดการทรัพยากรปาตนน้ํา

3. เพื่อศึกษาปญหาอุปสรรคและขอเสนอแนะที่มีตอการอนุรักษและจดัการปาตนน้ําของชุมชน ตําบลเมืองคอง อําเภอเชียงดาว จงัหวัดเชียงใหม

Page 13: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

2

ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ ผลการศึกษานีส้ามารถใชเปนแนวทางในการที่จะกําหนดยุทธศาสตรและวางแผนในดานการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําใหเหมาะสมไดยิ่งขึ้นไปอีก และยังเปนประโยชนในการศึกษาตอชุมชนอื่น ๆ และหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชนที่สนใจศึกษาในดานการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําได สมมติฐานในการวิจัย ลักษณะสวนบคุคล ปจจัยทางดานเศรษฐกิจและสังคมของประชาชนตําบลเมืองคองมีความสัมพันธกับการมีสวนรวมในการอนรัุกษและจดัการปาตนน้ํา

กรอบแนวความคิดในการวิจัย

ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม (Independent Variables) (Dependent Variables)

ลักษณะสวนบุคคล - เพศ - อายุ - สถานภาพสมรส - สถานภาพในครอบครัว - การศึกษา - ความรูความเขาใจเกี่ยวกับการ

อนุรักษและจัดการปาตนน้ํา ปจจัยทางดานเศรษฐกิจ - รายไดของครอบครัว - จํานวนสมาชิกในครอบครัว - จํานวนแรงงานในครอบครัว - ที่ดินทําการเกษตร ปจจัยทางดานสังคม - การติดตอกับเจาหนาที่ - การรบัขาวสาร - การฝกอบรมเกี่ยวกับการ

อนุรักษและจัดการทรัพยากรปาตนน้ํา

การมีสวนรวมอนุรักษ และจัดการพื้นที่ปาตนน้ําลําธาร 1.การมีสวนรวมในการตัดสินใจ 2.การมีสวนรวมในการวางแผนดําเนินกิจกรรม 3.การมีสวนรวมในการปฏิบัติงาน 4.การมีสวนรวมในการติดตามและประเมินผล

Page 14: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

3

นิยามศัพท

ปาตนน้ํา หมายถึง พื้นที่ปาตอนบนของลุมน้ําเปนพื้นที่ที่คอยรับน้ําฝน ควบคุมปริมาณและคณุภาพของน้ํา ทําใหเกิดการระบายน้ําลงสูลําน้ําสายยอยแลวรวมกนัเปนลําน้ําสาขาตอไป

การมีสวนรวม หมายถึง การที่ประชาชนไดเขาไปมีสวนรวมตั้งแตการคนหาปญหา การตัดสินใจ การดําเนินงานและการประเมนิผลของกิจกรรม

การอนุรักษ หมายถึง การใชทรัพยากรใหเกิดประโยชนมากที่สุด และใชอยางระมัดระวังรวมถึงรักษาทรัพยากรเหลานัน้ใหอยูตอไปอยางยั่งยืนที่สุด

การจัดการ หมายถึง การลงมือปฏิบัติแกปญหาที่เกิดขึ้นตอทรัพยากรธรรมชาติ ชุมชน หมายถึง ประชาชนที่อาศัยอยูบริเวณปาตนน้ําของตําบลเมืองคอง

อําเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม

Page 15: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

4

บทท่ี 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยท่ีเก่ียวของ

การวิจยัเร่ืองการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการทรัพยากรปาตนน้ําของชุมชนตําบลเมืองคอง อําเภอเชียงดาว จงัหวัดเชียงใหม มวีัตถุประสงคเพื่อศึกษาถึงการมีสวนรวมของชุมชนในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํา รวมถึงศึกษาดานความสัมพันธระหวางลกัษณะสวนบุคคล ปจจัยทางเศรษฐกิจและสังคมของชาวบานกับการอนุรักษทรัพยากรปาตนน้ํา และปญหาอุปสรรค ขอเสนอแนะตอการอนุรักษทรัพยากรปาตนน้ําของชุมชน ดังนั้นเพื่อใหการวิเคราะหปญหาสามารถดําเนินการไดอยางถูกตอง มีกรอบแนวความคิด แนวทางการวิจยัที่ชัดเจน ผูวิจัยจึงไดศึกษาและทบทวนเอกสารตาง ๆ เพื่อทําความเขาใจถึงหลักการ แนวความคดิ ทฤษฎี และงานวิจยัที่เกีย่วของดังนี ้

1. แนวคดิระบบนิเวศนวิทยามนุษย 2. แนวคดิการมสีวนรวมของประชาชน 3. แนวคดิเกีย่วกับการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ 4. แนวคดิการจดัการทรัพยากรตามแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยนื 5. สภาพทั่วไปของตําบลเมืองคอง อําเภอเชยีงดาว จังหวดัเชียงใหม 6. เอกสารงานวิจยัที่เกีย่วของ

2.1 แนวคิดระบบนิเวศนวิทยามนุษย นิเวศวิทยามนษุยเปนการศึกษาแนวทางการอยูรวมกลุมของมนุษยเพื่อความอยูรอดในพื้นที่หนึ่ง ๆ และมนุษยถือไดวามพีัฒนาการที่เหนือสัตวและพืช มนษุยไมอยูในระบบยอมจํานนตอธรรมชาติ แตมนุษยจะอาศัยเทคโนโลยีเปนเครื่องมือในการตอสูกับสภาพแวดลอม ตลอดจนมีสถาบันตามลักษณะวัฒนธรรมและการอาศัยอยูรวมกันเปนสังคม

2.2 แนวคิดการมีสวนรวมของประชาชน การมีสวนรวมของประชาชนคือ กระบวนการใหประชาชนเขามามีสวนเกี่ยวของในการพัฒนา รวมคดิ รวมตดัสินใจแกปญหาของตนเอง รวมใชความคิดสรางสรรค ความรูและความชํานาญรวมกบัการใชวิทยาการที่เหมาะสม และสนับสนุนติดตามผลการปฏิบัติขององคกร และเจาหนาที่ทีเ่กีย่วของ (Erwin, 1976)

Page 16: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

5

ประสาน (2538) กลาววา การมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ไดแก

1.ชุมชนพัฒนาอยางยั่งยืนตองเกิดขึ้นบนพื้นฐานของสญัญาประชาชน ที่จะใชระบบนิเวศนของตนเองภายใตขีดจาํกัดอยางเหมาะสม เพือ่ปรับปรุงคุณภาพชีวติและแกไขปญหาที่เกิดขึ้นดวยความพยายามของชุมชน โดยไดรับความชวยเหลือจากภาครัฐ องคกรพัฒนาเอกชน และองคกรประชาชน

2. ตองประชาสัมพันธใหชุมชนเห็นถึงการมีสวนรวมของประชาชนในชุมชนพัฒนาอยาง ยั่งยืนโดยชุมชนเอง

3. องคกรเอกชนจะเปนกลไกสําคัญในการขับเคลื่อนการมีสวนรวมของประชาชน 4. การจัดการเรื่องทรัพยากรเพื่อความเหมาะสมกับการพัฒนา จะตองผานการทํางานขององคกรชุมชน การใหขาวสารสาธารณะอยางตอเนื่อง การวิจัยและการศึกษาสภาพของชุมชน การติดตามและเฝาระวังคุณภาพสิ่งแวดลอมอยางตอเนื่อง

วิธีและขั้นตอนการมีสวนรวม ขั้นตอนของการมีสวนรวมในการดําเนนิงานใหบรรลุวัตถุประสงค และนโยบายการพัฒนาที่กําหนดไวคือ การมีสวนรวมของประชาชนอาจจะตกีรอบไดแตกตางกัน แตเดิมภาครฐัมักจะมองในแงการรวมสมทบแรงงาน / วสัดุ / เงิน รวมคิด รวมวางแผน รวมทํางาน และรวมบํารุงรักษามากกวารวมสมทบ วัสดุและเงิน แมวาจะยังจําเปนอยู ดังนั้น โดยภาพรวมกย็งัเนนการมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาที่เกี่ยวกับเรื่อง ตอไปนี ้(ไพรัตน, 2527)

1.รวมทําการศกึษา คนควาปญหา สาเหตุของปญหาที่เกิดขึ้นในชุมชน รวมตลอดจนความตองการชุมชน

2.รวมคนหา สรางรูปแบบและวิธีการพัฒนาเพื่อแกไข และลดปญหาของชุมชน หรือเพื่อสรางสรรคส่ิงใหมที่เปนประโยชนตอชุมชน หรือสนองความตองการของชุมชน

3.รวมวางแผน นโยบายหรือแผนงาน หรือโครงการ กิจกรรม เพื่อขจัดแกไขและสนองความตองการของชุมชน

4.รวมตัดสินใจในการใชทรัพยากรที่มีจํากดัใหเห็นประโยชนตอสวนรวม 5.รวมหรือปรับปรุงระบบการบริหารงานพฒันาใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 6.รวมการลงทุนในกจิกรรมโครงการของชุมชน ตามขีดความสามารถของตนเองและ

หนวยงาน 7.รวมปฏิบัติตามนโยบาย แผนงานโครงการ และกิจกรรมใหบรรลุตามเปาหมายทีว่างไว

Page 17: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

6

8.รวมควบคุม ติดตาม ประเมินผล และรวมบํารุงรักษาโครงการหรือกิจกรรมที่ทําไวทั้งภาครัฐและเอกชนใหสามารถใชประโยชนตอไป

การมีสวนรวมโดยทั่วไปในขั้นตอนการตดัสินใจไมไดหมายความวา จะเปนการตัดสินใจ

ไดเพยีงอยางเดียว ยังใชการตัดสินใจควบคูไปกับขั้นตอนการปฏิบัติการดวย การตัดสินใจยงัเกี่ยวของกับประชาชนในเรื่องของผลประโยชนและการประเมินผลในกิจกรรมการพฒันาดวย จะเห็นวาการตัดสินใจนั้นเกีย่วของเกือบโดยตรงกับการปฏิบัติ แตกเ็กีย่วของกับผลประโยชนและการประเมินผลดวย โดยทีผ่ลประโยชนนั้นเปนผลมาจากการปฏิบัตกิารและผลประโยชนก็มาเปนตัวกําหนดใหมีการประเมินผล ซ่ึงตางก็ไดผลมาจากขั้นตอนการตัดสนิใจแลวทั้งสิน้ นอกจากนีก้็จะมีผลสะทอนกลับจากการประเมินผล และการปฏิบตัิการกลับไปสูการตัดสินใจอีกดวย (Cohen and Uphoff ,1977) ดังภาพที่ 1

ภาพที่ 1 แสดงแนวคดิสัมพนัธของการมีสวนรวม

หมายถึง การสงผลโดยตรง หมายถึง การสงผลยอนกลับ ที่มา : John M. Cohen and Norman T. Uphoff (1977) การมีสวนรวมโดยทั่วไป การมีสวนรวมมี 4 ขั้นตอน คือ การมีสวนรวมในการตดัสินใจ การมีสวนรวมในการปฏิบัติการ การมีสวนรวมในการรับผลประโยชน และการมีสวนรวมในการประเมินผล ทุกขั้นตอนมีความสัมพันธซ่ึงกันและกนั โดยมุงเนนการมีสวนรวมที่ขั้นตอนการตัดสินใจเปนประการสําคัญ ซ่ึงในแนวทางการมีสวนรวมนั้นมุงใหประชาชนเปนผูคิดคนปญหา เปนผูที่มี

การตัดสินใจ การปฏิบัติการ การรับผลประโยชน การประเมินผล

Page 18: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

7

บทบาทในทุก ๆ เรื่อง ไมใชวากําหนดใหประชาชนปฏิบัติในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ทกุอยางตองเปนเรื่องของประชาชนที่จะคิด ซ่ึงแนวความคิดนี้มีกรอบพืน้ฐานและวิเคราะหการมีสวนรวมดังนี ้

1.การมีสวนรวมในการตัดสนิใจ ประกอบดวย 3 ขั้นตอน ไดแก การริเริ่มตัดสินใจ การดําเนินการตัดสินใจ และการตัดสินใจปฏบิัติการ

2.การมีสวนรวมในการปฏิบัติ ประกอบดวย การสนบัสนุนดานทรพัยากร การบริหารและการประสานขอความชวยเหลือ

3.การมีสวนรวมในผลประโยชน ไมวาจะเปนประโยชนทางวัตถุ ผลประโยชนทางดานสังคม หรือผลประโยชนสวนบุคคล

4.การมีสวนรวมในการประเมินผล เปนการควบคุม ตรวจสอบการดําเนินกจิกรรมทั้งหมด และเปนการแสดงถึงการปรับตัวในการมีสวนรวม จากแนวคิดเรื่องของขั้นตอนในการมีสวนรวมของประชาชนที่ไดศึกษามานั้น ทําใหสามารถกําหนดขั้นตอนของการมีสวนรวมเพื่อใชเปนแนวทางในการศกึษา ออกเปน 4 ขั้นตอน คือ

1.การมีสวนรวมการตัดสินใจ (คนหาปญหา สาเหตุของปญหาและการแสดงความคิดเห็น)

2.การมีสวนรวมในการวางแผนดําเนนิกจิกรรม 3.การมีสวนรวมในการปฏิบัติงาน 4.การมีสวนรวมในการติดตามและประเมนิผล

แนวความคิดเกี่ยวกับการมีสวนรวมของประชาชน เปนแนวคิดในยุคปจจุบนัที่เปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวนในกระบวนการพัฒนา ซ่ึงจะดําเนนิการรวมกับหนวยงานตางๆทั้งของภาครัฐและองคกรเอกชน แนวความคิดการมีสวนรวมนี้เปนมาตรการหนึ่งของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาตฉิบับที่ 9 ซ่ึงตอเนื่องมาจนถึงแผนพัฒนาฯฉบับที่ 10 ที่สนับสนุนและสงเสริมใหประชาชนรวมในการตัดสนิใจเลือกการพัฒนาชุมชนของตนเองตามความตองการของคนในชุมชน

2.3 แนวความคิดเกี่ยวกับการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาต ิ 2.3.1 ความหมายของการอนุรักษ การอนุรักษเปนการเก็บรักษา สงวน ซอมแซม ปรับปรุง และการใชตอทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เพื่อจะไดเอื้ออํานวยใหเกิดคณุภาพสูงในการสนองความ

Page 19: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

8

เปนอยูของมนษุยตลอดไป โดยอยูภายใตวัตถุประสงคของนักอนุรักษ คือ ตองทําใหโลกนี้ดี (rich) และใหผลผลิต การอนุรักษ คือ การรูจักนาํทรัพยากรมาใชประโยชนตอมหาชนมากที่สุด สูญเสียนอยที่สุด ใชไดนานและตองกระจายการใชประโยชนใหทั่วถึงกัน โดยถูกตองตามสถานการณดวย นอกจากนี้ นวิตัิ (2547) กลาวถึงแนวคิดและหลักการพอสรุปไดดังนี ้ 1.การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ หมายถงึ การรูจักใชทรัพยากรธรรมชาติอยางชาญฉลาดใหเปนประโยชนตอมหาชนมากที่สุด ยาวนานที่สุดและโดยทัว่ถึงกัน ทั้งนี้ไมไดหมายถึงหามใชหรือเก็บรักษาทรัพยากรไวเฉย ๆ แตจะตองนํามาใชใหถูกตองตามกาละเทศะ (time and space) 2.ทรัพยากรธรรมชาติจําแนกอยางกวาง ๆ ออกเปน ทรัพยากรทีม่นุษยสามารถสรางเกิดขึ้นใหมได เชน ดิน น้ํา ปาไม สัตวปา ทุงหญา และกําลังงานมนษุยกับทรัพยากรที่มนุษยไมสามารถสรางขึ้นใหมได เชน น้ํามันและแรตาง ๆ เปนตน 3.ปญหาสําคัญที่เกี่ยวของกบัการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ ไดแก การอนุรักษทรัพยากรดนิที่ยังอุดมสมบรูณอยูใหคงคณุสมบัติที่ดีตลอดไป ในขณะเดยีวกนัจะเปนผลดีตอทรัพยากรอื่น ๆ เชน น้ํา ปาไม และสัตวปาดวย 4.การอนุรักษหรือจัดการทรพัยากรธรรมชาติ ตองคํานึงถึงทรัพยากรอยางอื่น ในเวลาเดียวกันไมควรแยกพจิารณาอยางใดอยางหนึ่งเพยีงอยางเดียวเทานัน้ เพราะทรัพยากรทุกอยางมีสวนเกีย่วของสัมพันธกันอยางใกลชิด 5.ในการวางแผนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอยางชาญฉลาดนั้น จะตองไมแยกมนุษยออกจากสภาพแวดลอมทางสงัคมหรือวัฒนธรรมหรือสภาพแวดลอมตามธรรมชาติ เพราะวาวัฒนธรรมและสังคมของมนุษยไดพัฒนาตัวเองมาพรอมกับการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติของสังคมนั้น ๆ กลาวโดยทัว่ ๆ ไป การอนุรักษถือไดวาเปนทางแหงการดําเนินชวีิต เพราะมีสวนเกีย่วของกับเศรษฐกิจและสังคม ซ่ึงมีบทบาทตอชีวิตมนษุยเปนอนัมาก 6.ไมมีโครงการอนุรักษใดทีจ่ะประสบความสําเร็จได นอกเสียจากผูใชทรัพยากรธรรมชาติจะไดตระหนกัถึงความสําคัญของทรัพยากรนัน้ ๆ และใชอยางชาญฉลาดใหเกิดผลดีในทกุ ๆ ดานตอสังคมมนุษย และควรใชทรัพยากรใหอํานวยประโยชนหลาย ๆ ดานในเวลาเดยีวกันดวย 7.อัตราการใชทรัพยากรธรรมชาติในปจจบุัน จะเปนทีใ่ดก็ตามยังไมอยูในระดับทีจ่ะพยุงซ่ึงฐานะความอยูดีกนิดีอยางทั่วถึงได เนื่องจากการกระจายการใชประโยชนจากทรัพยากรยงัเปนไปโดยไมทั่วถึง

Page 20: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

9

8.การอนุรักษเกี่ยวของกับมนุษยทกุคน ไมวาจะอยูในเมืองหรือชนบท ความมั่งคั่งสุขสมบูรณของประเทศ ขึ้นอยูกับความอดุมสมบูรณของทรัพยากรธรรมชาติ และทรัพยากรมนษุยซ่ึงเปนผูใชทรัพยากรอื่น ๆ ของประเทศนั้น ๆ 9.การทําลายทรัพยากรธรรมชาติใด ๆ ดวยเหตุใดก็ตาม เทากับเปนการทําลายความศิวิไลซของมนุษย อยางไรก็ดีมนษุยกต็องยอมรับวาการทําลายทรัพยากรธรรมชาติไดเกดิขึ้นอยูทุกหนทกุแหงที่มีการใชทรัพยากรนัน้ ๆ อยางหลีกเลี่ยงไดยาก 10.การดํารงชีวิตของมนุษยขึ้นอยูกับสิ่งมชีีวิต ไมวาจะเปนพืชหรือสัตว ซ่ึงตางก็เกิดมาจากทรัพยากรอื่น ๆ เชน ดิน น้ํา อีกทอดหนึ่ง กําลังงานของมนุษยตลอดจนการอยูดีกินดีทั้งรางกายและจติใจขึ้นอยูกับคุณคาของอาหารที่เราบริโภค นอกจากปลาและอาหารทะเลอื่น ๆ แลว อาหารทุกอยางไมวาจะเปนผัก ผลไม ถ่ัว งา ขาว หรือในรูปของนม เนื้อสัตวอันเปนผลผลิตจากพืชที่สัตวบริโภคเขาไปลวนเกดิขึ้นมาจากดินทั้งสิ้น 11.มนุษยจําเปนตองมีความรูความเขาใจในธรรมชาติ และเชื่อในความเปนไปตามธรรมชาติ มนุษยสามารถนําเอาวิทยาการตาง ๆ มาชวยหรือบรรเทากระบวนการตาง ๆ ที่เกิดขึน้ตามธรรมชาติได แตมนุษยไมสามารถจะนําสิ่งใดมาทดแทนธรรมชาติทั้งหมดไดอยางแนนอน 12.ลักษณะเปนจริงที่วาประชากรของโลกเพิ่มขึ้นมากทุกวัน แตทรัพยากรธรรมชาติกลับลดนอยถอยลงทุกที ไมมใีครทราบไดวาการใชทรัพยากรในบั้นปลายนั้นจะเปนอยางไร อนาคตจึงเปนสิ่งที่มืดมน ถาทุกคนไมเริ่มตนอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติตั้งแตบัดนี ้

2.3.2 ความจําเปนในการจัดการลุมน้ํา น้ําเปนทรัพยากรที่มีความสําคัญตอการดํารงชีวิตของมนษุยและสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ อยางมาก และในปจจุบนัทรัพยากรลุมน้ําถูกใชอยางไมรูคุณคา ซ่ึงเกือบทั้งหมดเกดิจากการกระทําของมนุษย ดังนั้นมนุษยจึงควรทําการศึกษาในดานการจดัการลุมน้ําใหมีอยูอยางยั่งยนืและสมบูรณยิ่งขึ้นตอไป

สาเหตุความจาํเปนของการจัดการลุมน้ํา ไดแก 1.การเพิ่มของประชากร เมื่อประชาชนพลเมืองมีจํานวนเพิ่มขึ้น ความตองการในการใชน้ํายอมตองเพิม่ขึ้นตามไปดวย ไมวาจะใชในครัวเรือนดานเกษตรกรรม หรือดานอุตสาหกรรม ดังนั้นจึงตองมกีารหาวิธีการในการที่จะใหมีน้ําไวสําหรับใชในการดําเนินตามกจิกรรมตาง ๆ อยางเพียงพอ โดยตองใหมีการจดัการลุมน้ํา 2.ความตองการน้ํา ในเมื่อน้ํามปีระโยชนในการดํารงชีวิต เพื่อการมีสุขภาพอนามัยที่ด ี และทําใหเกดิความมั่นคงของสังคม การจัดการลุมน้ําจึงเปนงานที่สําคัญ นอกจากการจัดการในดานปริมาณและคุณภาพน้ําแลว ยังตองทาํการสงเสริมใหการศึกษาใชน้ําอยางประหยัดอีกดวย

Page 21: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

10

3.การชลประทานน้ําเปนสวนหนึ่งในการจัดการลุมน้ํา ซ่ึงตองการแจกจายน้ําไปในรูปของการชลประทาน เพื่อใหการปลูกพืชไดดี ทําใหเศรษฐกิจของประเทศดีขึ้น 4.ปจจุบันมีการใชประโยชนที่ดินหลายรูปแบบ บางครั้งการใชที่ดินทีไ่มเหมาะสมทําใหเกิดผลกระทบอื่น ๆ ตามมา จึงเปนสิ่งจําเปนที่ตองทําการศึกษาเพื่อวางแผนการจัดการลุมน้ํา 5.การปรับปรุงเศรษฐกิจและสังคม ประเทศที่มีปญหาดานเศรษฐกิจและสังคมมักเปนประเทศที่มีปญหาเรื่องลุมน้ํา โดยเฉพาะอยางยิ่งการขาดแคลนน้ําในฤดูแลงและมนี้ํามากเกนิไปในฤดูฝน ทําใหการพัฒนาทางดานเศรษฐกิจ เกษตร และอุตสาหกรรม เกิดปญหาในการจดัการลุมน้ําซึ่งเปนพื้นฐานสําคัญในการพัฒนาระบบเศรษฐกจิและสังคม สรุปแนวคดิทฤษฎ ี จากแนวคิดและทฤษฎีดังกลาวจะเหน็ไดวา มนุษยมีความจําเปนอยางยิ่งที่จะตองใชทรัพยากรธรรมชาติในการดาํรงชีวิต การเพิ่มมากขึน้ของจํานวนประชากรและการใชทรัพยากรธรรมชาติอยางไมยั้งคิดของมนษุยนัน้มีผลทําใหระบบนิเวศนเสียสมดุล โดยเฉพาะทรัพยากรลุมน้ํา ดังนั้นเพื่อใหมนษุยสามารถมีทรัพยากรใชตอไปไดอีกในวันขางหนา มนุษยควรมีการอนุรักษ บํารุงรักษา และจัดการทรัพยากรธรรมชาตินี้ใหเกดิการพัฒนาอยางยั่งยืน เพื่อมนุษยเองจะไดรับผลประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติในอนาคตอยางยุติธรรม

2.4 แนวคิดการจัดการทรัพยากรตามแนวทางการพฒันาที่ยั่งยืน การพัฒนาโลกที่มุงเนนความเจริญเติบโตทางดานเศรษฐกิจทุนนิยมนัน้ กอใหเกิดการบริโภคของมนุษยอยางมหาศาล ซ่ึงในกระบวนการผลิตยอมหมายถึงการใชทรัพยากรธรรมชาติที่จํานวนมหาศาลเชนกัน ดงันั้นในกระบวนการดังกลาวนี้ยอมสงผลเสียตอทรัพยากรธรรมชาติซ่ึงรวมถึงระบบนิเวศนอีกดวย ทําใหองคการสหประชาชาติไดตั้งหนวยงานเพื่อจดัการและดูแลเกี่ยวกับกับปญหาเหลานี้ขึน้ คือ คณะกรรมาธิการโลกวาดวยส่ิงแวดลอมกับการพัฒนา (World Commission on Environment and Development) และไดใหคําจํากัดความของคําวา การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable development) ไวดังนี ้ Sustainable development is development that meets the present without compromising the ability of future generation to meet their own needs. ซ่ึงแปลวา การพัฒนาที่ยั่งยืนคือการพัฒนาที่สนองความตองการของคนปจจุบนั โดยไมทําใหประชาชนรุนตอไปในอนาคตตองประนีประนอมลดความสามารถของเขาในการที่จะสนองความตองการของเขาเอง

Page 22: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

11

หลักการของการพัฒนาที่ยั่งยนื คือ 1.เปนกิจกรรมที่กระทบกระเทือนตอระบบนิเวศนวิทยานอยที่สุดโดยทีก่ารวางแผนระยะยาว เพื่อควบคุมการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ 2.อนุรักษทรัพยากรดานวัตถุและพลังงานมากที่สุด โดยอาจจะชะลอการพัฒนาใหอยูในขอบเขตพอสมควร 3.สงวนทรัพยากรกําเนดิของการผลิตมิใหขาดแคลน 4.ไดรับการสนับสนุนในหลักการดังกลาวจากมหาชน โดยใหคนทองถ่ินมีอํานาจควบคุม เพื่อประโยชนในการวางแผนจัดการอุตสาหกรรมและการดูแลรักษาผลประโยชนของทองถ่ิน

สรุปแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยนืนั้นเปนแนวคิดที่พยายามจะควบคุมใหการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจและเทคโนโลยีนั้นไดเติบโตในรูปแบบที่ไมรวดเร็วจนเกนิไป ซ่ึงจะเกิดผลเสียตอส่ิงแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ เปนความพยายามที่จะรักษาความสมดุลระหวางการใชและการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติใหคงอยูตอไป

2.5 สภาพทั่วไปของตําบลเมอืงคอง ตําบลเมืองคอง เปนตําบลที่ตั้งอยูในเขตการปกครองของอําเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม มีจํานวนหมูบานอยูทั้งหมด 6 หมูบาน ไดแก หมูที ่1 บานใหม หมูที่ 2 บานวังมะริว หมูที่ 3 บานหนองบวั หมูที่ 4 บานหลวง หมูที่ 5 บานน้ํารู และหมูที่ 6 บานแมแพลม

สภาพทั่วไปของตําบล สภาพพื้นที่โดยท่ัวไปเปนพืน้ที่ราบลุมหุบเขาโดยสวนใหญ ซ่ึงมีจํานวน 4 หมูบานที่อยูบริเวณหุบเขา ประชากรประกอบดวยชนหลายเผา ไดแก ไทยใหญ ลีซอ มูเซอ กะเหรี่ยง และคนพื้นเมือง

อาณาเขตของตําบล ทิศเหนือติดตอ ตําบลเวียงแหง อําเภอเวยีงแหง จังหวดัเชียงใหม ทิศใตติดตอ ตําบลกื้ดชาง อําเภอแมแตง จังหวดัเชยีงใหม ทิศตะวนัออกติดตอ ตําบลเมืองงาย อําเภอเชียงดาว และ ตําบลแมนะ อําเภอเชียงดาว จังหวดัเชยีงใหม ทิศตะวนัตกตดิตอ ตําบลแมอ้ี อําเภอปาย จังหวัดแมฮองสอน

Page 23: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

12

จํานวนประชากรของตําบล จํานวนประชากรทั้งสิ้น 838 ครัวเรือน 3,954 คน เปนชาย 2,077 คน เปนหญิง 1,877 คน

ขอมูลอาชีพของตําบล อาชีพหลัก ทาํนา ทําสวน อาชีพเสริม รับจางทั่วไป

ขอมูลสถานที่สําคัญของตําบล 1. อบต.เมืองคอง 2. วัดวังมะรวิ 3. วัดบานหลวง 4. วัดหนองบัว 5. สํานักสงฆหนองบัว 6. ถํ้าขี้หมี (ถํ้าบานวังมะรวิ)

2.6 งานวิจัยท่ีเก่ียวของ ยุวดี (2527) ไดทําการศึกษาเรื่อง ปจจัยที่มีผลตอการมีสวนรวมของประชาชน : ศึกษาเฉพาะกรณีกลุมผูใชน้ําเพื่อการเกษตรกรรม โครงการปฏิรูปที่ดินเพือ่สาธารณะประโยชนดงเทพรัตน ตําบลดงดอน อําเภอสรรคบุรี จังหวัดชยันาท ผลการวิจัยพบวาการมีสวนรวมในขัน้ตอนตาง ๆ ของสมาชิกกลุมผูใชน้ําที่อยูบริเวณตนน้ําและปลายน้ํา ไมมีความแตกตางกัน ยกเวน ทัศนคติตอการมีสวนรวมทีพ่บวามีความแตกตางกัน ในการจัดอนัดบัความสําคัญของปจจัยที่มผีลตอการมีสวนรวมนั้น พบวา ผลผลิตตอปและสมรรถนะในการอานมคีวามสําคัญมากที่สุด ทีจ่ะทําใหเกดิการมีสวนรวมของประชาชนในขั้นตอนตาง ๆ และจํานวนสมาชิกในครอบครัว ทัศนคติตอการมีสวนรวม โอกาสการมีสวนรวม มีความสําคัญเปนอันดับรองลงมา ในขณะที่อายุ เพศ จะมีความสัมพันธกบัการมีสวนรวมเพยีงเล็กนอย นอกจากนี้จากการศึกษาเพิ่มเติมพบวา สมรรถนะในการอาน อาย ุ มีความสําคัญทําใหประชาชนมีโอกาสเขามามีสวนรวมสูงที่สุด สวนแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ เพศ ปริมาณผลผลิตขาวตอป มคีวามสําคัญที่จะทําใหเกดิโอกาสการมีสวนรวมนอยลงตามลําดับ

Page 24: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

13

ศรีปริญญา (2529) ไดทําการศึกษาเรื่อง การมีสวนรวมของการพัฒนาการในการสงเสริมและรักษาคณุภาพสิ่งแวดลอมในชนบท ผลการวิจัยพบวา พัฒนาการสวนใหญรวมอยูในการสงเสริมและรักษาคุณภาพสิง่แวดลอมในชนบทในระดับปานกลาง ลักษณะการมีสวนรวมวางโครงการ และรวมปฏบิัติงานมากกวารวมบํารุงรักษา ปจจัยทีม่ีความสัมพันธกับการมีสวนรวมในการสงเสริม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม คือ ระยะเวลาการปฏิบัติงานพัฒนาชุมชนในเขตตาํบลปจจบุัน และความคิดเห็นตอปญหาสิ่งแวดลอม สวน เพศ อายุ ระดับการศกึษา ภูมิภาคเขตปฏบิัติงาน และการติดตามขอมูลขาวสารสิ่งแวดลอมไมมคีวามสัมพันธกับการมีสวนรวม สุรีรัตน (2529) ไดทําการศกึษาเรื่อง การมีสวนรวมของเจาหนาที่สาธารณสุขชุมชน ในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ : กรณีศกึษาจังหวดัสมุทรสงครามพบวา เจาหนาที่สาธารณสุขชุมชนสวนใหญไมมีสวนรวมในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ ปญหาอปุสรรคที่พบคือ เจาหนาที่สาธารณสุขชุมชนไมไดเขารวมประชุม วางแผนดําเนินการ เนื่องจากมีเวลาจํากัด ไมไดมีสวนรวมสมทบเงินเนื่องจากเงินเดือนจํากดั และเกรงกลัวอิทธิพลทองถ่ิน นอกจากนี้ภาครัฐยังไมสามารถสนับสนุนงบประมาณใหอยางเพียงพอ และขาดการประสานงานระหวางหนวยงานที่รับผิดชอบ เพียรเลิศ (2543) ไดศึกษาเรือ่งการมีสวนรวมของประชาชนในการอนรัุกษปาตนน้ําลําธารพื้นที่ตนน้ําแมสะงะ อําเภอแมแจม จังหวัดเชยีงใหม ผลการวิจัยพบวา กลุมตัวอยางมีความรูความเขาใจเกีย่วกับการอนุรักษ พืน้ที่ปาตนน้ําและทรัพยากรธรรมชาติไมแตกตางกนั และการมีสวนรวมในการอนุรักษพื้นทีป่าตนน้ําของกลุมตัวอยางจาํแนกตามการดํารงตําแหนงที่เปนทางการ การดํารงตําแหนงที่ไมเปนทางการ การเปนสมาชิกกลุมภายในชุมชน การไดรับขอมูลขาวสาร การไดรับการอบรมความรูเกี่ยวกับการอนรัุกษพื้นที่ปา การฟนฟูสภาพปา การปองกันไฟปา พบวาระดับการมีสวนรวมแตกตางกัน สรุป จากเอกสารและผลงานวิจยัที่เกีย่วของทําใหไดทราบวา ปจจยัที่มีผลตอการมีสวนรวมในแตละทองที่นั้นมีความแตกตางกนั ขึ้นอยูกับสภาพการณของสิ่งแวดลอมและปจจยัดานตาง ๆ ที่เปนอยูในขณะนั้นของแตละทองถ่ิน

Page 25: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

14

บทท่ี 3 วิธีการดําเนินการวิจัย

การศึกษาเรื่องการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําของชุมชน ตําบลเมือง

คอง อําเภอเชียงดาว จังหวัดเชยีงใหม มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาถึงการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําของชาวบานที่อาศัยอยูบริเวณตําบลเมืองคอง ความสัมพันธระหวางลักษณะสวนบุคคล ปจจยัทางเศรษฐกิจและสังคมของชาวบานใน ตําบลเมืองคองกับการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํ และศึกษาปญหาอุปสรรค ขอเสนอแนะที่มีตอการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํของชุมชน ตําบลเมืองคอง โดยกําหนดวิธีการศึกษาวิจัยดังตอไปนี ้

ประชากรที่ใชในการศึกษา การศึกษาครั้งนี้ประชากรเปาหมาย คือ ผูที่อาศัยอยูภายในตําบลเมอืงคอง อําเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม ซ่ึงมีทั้งหมด 6 หมูบาน มจีาํนวนครวัเรือนทังสิ้น 838 ครัวเรือน มีจํานวนประชากรทั้งหมด 3,954 คน

การสุมตัวอยาง เนื่องจากประชากรที่ใชในการศึกษามีจํานวนมากซึ่งผูวจิยัไมสามารถรวบรวมขอมูลจากประชากรไดทัง้หมด รวมทัง้อาจเกิดความคลาดเคลื่อนในขอมูล ดังนัน้ผูวิจยัจึงทําการสุมตัวอยางโดยวิธีการดังนี้ 1.หนวยวิเคราะหเพื่อเปนตวัแทนของประชากรตําบลเมืองคอง ทั้งหมด 838 ครัวเรือน ตัวอยางสําหรับการวิจยัในครั้งนี้ คือ กลุมตัวอยางจากประชากรตําบลเมืองคองจากการคํานวณทั้งสิ้น 270 คนซึ่งไดมาจากการใชตารางการกําหนดขนาดของกลุมตัวอยางของ Yamanae ที่ระดบัความเชื่อมั่นของขอมูลรอยละ 95 และความคลาดเคลื่อนในการสุมเปน + 5 และคิดเปนจํานวนตัวอยางของหนวยวเิคราะหจํานวน 270 ครัวเรือน ซ่ึงไดจากสตูร n = N = 838 1 + Ne2 1 +838 (0.05) 2

= 270.75 เมื่อ n = จํานวนสมาชิกในตวัอยาง N = ประชากร e = คาความคลาดเคลื่อนจากการสุมตัวอยาง

Page 26: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

15

2. ทําการสุมตัวอยางโดยวธีิการสุมอยางงาย (Simple Random Sampling) การกาํหนดกลุมตัวอยางถาขนาดกลุมประชากรมีจํานวนเปนรอยควรใชกลุมตัวอยาง อยางนอยรอยละ 25 ตามเงื่อนไข จากพื้นที่ตําบลเมืองคอง จะแบงเปน 6 หมูบาน ไดแก บานใหม บานวังมะริว บานหนองบวั บานหลวง บานน้ํารู และบานแมแพลม 3. ทําการคํานวณหาสัดสวนที่เหมาะสมตอประชากรในแตละกลุม โดยใชสูตรของ Negtalon ดังนี้ ni = nNi

N โดย n = ขนาดของกลุมตัวอยางทั้งหมด (270 จาก Yamanae) N = จํานวนประชากรทั้งหมด Ni = จํานวนประชากรแตละกลุม

ni = จํานวนตวัอยางทีสุ่มจากกลุมตวัอยางแตละหมูบาน

จากสูตรดังกลาวขนาดของกลุมตัวอยางทั้งหมด (n) 270 ครัวเรือน เพื่อคํานวณจากตัวอยางแตละหมูบาน จะไดตัวเลขที่สุมตวัอยางจากพื้นที่ตางๆ 6 หมูบาน ดังนี ้

ตารางที่ 1 กลุมตัวอยาง(ครัวเรือน) เพื่อเก็บขอมูลแตละหมูบานในตําบลเมืองคอง หมูท่ี ชื่อหมูบาน จํานวนประชากร

(ครัวเรือน) จํานวนตัวอยาง

1 บานใหม 158 51 2 บานวังมะริว 190 61 3 บานหนองบวั 110 36 4 บานหลวง 134 43 5 บานน้ํารู 121 39 6 บานแมแพลม 125 40

รวม 838 270

Page 27: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

16

เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัย เครื่องมือที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ ใชแบบสอบถาม (ภาคผนวก ก) ซ่ึงมีลักษณะคาํถามเปนแบบปด (Close-ended question) และแบบเปด (Open-ended question) จํานวน 1 ชุดประกอบดวยคําถาม 4 สวนดังนี ้ สวนที่ 1 เปนคําถามเกี่ยวกับลักษณะพืน้ฐานทางดานบุคคล ปจจยัทางดานเศรษฐกิจ และปจจยัทางดานสังคม สวนที่ 2 เปนคําถามเกี่ยวกบัความรูความเขาใจเกีย่วกับการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํา สวนที่ 3 เปนคําถามเกี่ยวกบัการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํา สวนที่ 4 เปนคําถามเกี่ยวกบัปญหา อุปสรรคและแนวทางการแกไขปญหาในการอนุรักษและจัดการพื้นที่ปาตนน้ํา

การทดสอบแบบสอบถาม ผูศึกษาไดทําการทดสอบแบบสอบถามดังนี้ 1. การทดสอบความเที่ยงตรง (Validity) โดยนําแบบสอบถามที่สรางขึ้นตรวจสอบความถูกตองและความเที่ยงตรงของเนื้อหา (Content Validity) วาเครื่องมือที่สรางขึ้นมีความถูกตองสมบูรณหรือไม ตลอดจนตรวจสอบกับเอกสารที่เคยมีผูวิจัยในเรื่องที่สอดคลองกับเรื่องดังกลาว และนําแบบสอบถามไปแกไขปรับปรุงกอนนําไปเก็บขอมูลจริง 2. การทดสอบหาคาความเชื่อมั่น (Reliability) โดยทาํการทดสอบแบบสอบถามที่สรางขึ้นกับชุมชนในพื้นที่ใกลเคยีงที่ไมไดเปนกลุมตัวอยางจาํนวน 20 ชุด แลวนาํมาหาคาความเชื่อมั่นโดยใชวิธี Split – half Method แลวนํามาหาคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธโดยวิธี Pearson Product Moment Correlataion Coefficient แลวนําไปคํานวณโดยใชสูตรของ Spearman Brown ไดคาความเชื่อมั่นในระดับสูงสดุเทากับ 0.80 ซ่ึงจะแสดงใหเห็นวาเครื่องมือมีความเชื่อถือได (ภาคผนวก ข)

การเก็บรวบรวมขอมูล ในขั้นตอนการเก็บรวบรวมขอมูล ดําเนินการเปน 2 ขั้นตอนคือ

1.ขอมูลปฐมภูมิ (Primary data) ไดจากการนําแบบสอบถามที่ปรับปรุงเรียบรอยแลว นําไปสอบถามผูที่อยูอาศัยในตําบลเมืองคอง อําเภอเชียงดาว จังหวดัเชียงใหมที่ไดสุมตัวอยางไวแลว

2.ขอมูลทุติยภมูิ ( Secondary data) เปนขอมูลที่ไดจากการคนควาหนังสือ เอกสารสิ่งตีพิมพ และงานวิจยัที่เกีย่วของเพื่อนํามาเปนขอมูลพื้นฐานในการวิจยั

Page 28: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

17

การวิเคราะหขอมูล นําขอมูลที่ไดมาตรวจสอบความสมบูรณเรียบรอยแลว และวิเคราะหขอมูลดวยโปรแกรมสถิติสําเร็จรูปทางสังคมศาสตร (SPSS/PC , Statistical Package for the Social Science) สถิติที่ใชในการวิจัยคร้ังนีไ้ดแก 1. สถิติพรรณา ไดแก คารอยละ (Percentage) คาเฉลี่ย (Mean) คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) คาต่ําสุด (Minimum) คาสูงสุด (Maximum) เพื่อวิเคราะหขอมูลพื้นฐานของประชากร และขอมูลที่มีสวนเกีย่วของกับการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําของชุมชน 2. สถิติวิเคราะห ไดแก การทดสอบคาไคสแควร (Chi–square Test) เพื่อหาความสมัพันธระหวางตัวแปรอิสระกับตัวแปรตาม โดยคํานวณไดจากสูตร

χ2 = Σ (E - O) E

χ2 = คาไคสแควร Σ = ผลรวม O = คาความถี่ที่ไดรับการสังเกต (Observed Frequency)

E = คาความถี่ไดรับตามทฤษฎีหรือตามที่คาดหวังไว (Expect Frequency )

Page 29: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหขอมูล

การวิจยัคร้ังนีม้ีจุดมุงหมายเพื่อศึกษาการมสีวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํของชุมชน ตําบลเมืองคอง อําเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม ซ่ึงผูวิจัยไดแบงผลการวิเคราะหออกเปนขั้นตอนดังตอไปนี ้ ตอนที่ 1 วิเคราะหขอมูลลักษณะพืน้ฐานสวนบุคคล เศรษฐกิจ และสงัคม ตอนที่ 2 วิเคราะหความรูความเขาใจเกีย่วกับการอนุรักษและจดัการปาตนน้ํา ตอนที่ 3 วิเคราะหความสมัพันธระหวางตัวแปรอิสระกับตัวแปรตาม หรือการทดสอบสมมติฐาน ตอนที่ 4 วิเคราะหปญหา อุปสรรคและขอเสนอแนะเกีย่วกับการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการพื้นที่ปาตนน้ํา

ตอนที ่1 ปจจัยพื้นฐานสวนบุคคล เศรษฐกิจและสังคม 1.1 เพศ จากการวิเคราะหพบวา ประชากรตําบลเมืองคองที่ทําการศึกษาสวนใหญเปนเพศชาย

รอยละ 71.1 และเปนเพศหญิงรอยละ 28.9 (ตารางที่ 2)

ตารางที่ 2 เพศของประชากรตําบลเมืองคองท่ีทําการศึกษา เพศ จํานวน (คน) รอยละ ชาย หญิง

192 78

71.1 28.9

รวม 270 100.0

1.2 อายุ จากการวิเคราะหพบวา ประชากรตําบลเมืองคองที่ทําการศึกษาสวนใหญอาย ุ36-50 ป มี

จํานวนรอยละ 45.2 รองลงมารอยละ 26.3 มีอาย ุ21-35 ป รอยละ 22.2 มีอายุมากกวา 50 ป สวนประชากรตําบลเมืองคองที่มีอายุนอยกวาหรือเทากับ 20 ป มีจํานวนรอยละ 6.3 (ตารางที่ 3)

Page 30: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

19

ตารางที่ 3 อายุของประชากรตําบลเมืองคองท่ีทําการศึกษา ชวงอาย ุ(ป) จํานวน (คน) รอยละ

นอยกวาหรือเทากับ 20 21-35 ป 36-50 ป

มากกวา 50 ปขึ้นไป

17 71 122 60

6.3 26.3 45.2 22.2

รวม 270 100.0 1.3 สถานภาพสมรส จากการวิเคราะหพบวา ประชากรตําบลเมืองคองที่ทําการศึกษาสวนใหญสมรสแลวอยู

ดวยกันรอยละ 78.5 รองลงมารอยละ 11.5 มีสถานภาพโสด รอยละ 7.8 มีสถานภาพหยาราง/มาย สวนประชากรตําบลเมืองคองที่มีสถานภาพสมรสแลวแยกกนัอยูมจีํานวนรอยละ 2.2 (ตารางที่ 4)

ตารางที่ 4 สถานภาพสมรสของประชากรตําบลเมืองคองท่ีทําการศึกษา สถานภาพสมรส จํานวน (คน) รอยละ

โสด สมรสแลวอยูดวยกัน สมรสแลวแยกกันอยู

หยาราง /มาย

31 212 6 21

11.5 78.5 2.2 7.8

รวม 270 100.0

1.4 สถานภาพในครัวเรือน จากการวิเคราะหพบวา ประชากรตําบลเมืองคองที่ทําการศึกษาสวนใหญมีสถานภาพใน

ครัวเรือนเปนหัวหนาครัวเรือนรอยละ 65.2 รองลงมามีสถานภาพในครัวเรือนเปนภรรยารอยละ 17.4 มีสถานภาพในครัวเรือนเปนบุตรรอยละ 10.0 และรอยละ 7.4 มีสถานภาพในครัวเรือนเปนผูอาศัย (ตารางที่ 5)

Page 31: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

20

ตารางที่ 5 สถานภาพในครัวเรือนของประชากรตําบลเมืองคองท่ีศึกษา สถานภาพในครัวเรือน จํานวน (คน) รอยละ หัวหนาครัวเรือน

ภรรยา บุตร ผูอาศัย

176 47 27 20

65.2 17.4 10.0 7.4

รวม 270 100.0

1.5 ระดับการศึกษา จากการวิเคราะหพบวา ประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษาสวนใหญมีการศึกษาระดับ

ประถมศึกษารอยละ 44.8 รองลงมาไมไดเรียนหนงัสือ อานเขียนไมไดรอยละ 34.0 มีการศึกษาระดับมัธยมศกึษาตอนตนรอยละ 10.4 ไมไดเรียนหนังสือแตอานเขียนไดรอยละ 7.8 มีการศึกษาระดับมัธยมศกึษาตอนปลาย / ปวช. / ปกศ.ตอนตนรอยละ 1.9 มีการศึกษาระดับอนุปริญญา / ปวส. / ปกศ.สูง / ปวท. รอยละ 0.7 และรอยละ 0.4 จบการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือสูงกวา (ตารางที่6) ตารางที่ 6 ระดับการศึกษาของประชากรตาํบลเมืองคองที่ทําการศึกษา

ระดับการศึกษา จํานวน (คน) รอยละ ไมไดเรียนหนงัสืออานเขียนไมได ไมไดเรียนหนงัสือแตอานเขยีนได

ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน

มัธยมศึกษาตอนปลาย/ ปวช./ ปกศ.ตน

อนุปริญญา/ ปวส./ ปกศ.สูง/ ปวท.

ปริญญาตรีหรือสูงกวา

92 21 121 28 5 2 1

34.0 7.8 44.8 10.4 1.9

0.7

0.4

รวม 270 100.0

1.6 อาชีพหลัก จากการวิเคราะหพบวา ประชาชนตําบลเมืองคองที่ทําการศึกษาสวนใหญมีอาชพีหลัก

เปนเกษตรกรรอยละ 75.9 รองลงมามีอาชีพหลักรับจางทั่วไปรอยละ 15.9 มีอาชีพหลักคาขาย

Page 32: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

21

รอยละ 4.5 มีอาชีพหลักอืน่ ๆรอยละ 1.9 มีอาชีพหลักรับราชการรอยละ 1.1 และรอยละ 0.7 มีอาชีพหลักหาของปา (ตารางที่ 7)

ตารางที่ 7 อาชีพหลักของประชากรตําบลเมืองคองท่ีทําการศึกษา อาชีพหลัก จํานวน(คน) รอยละ เกษตรกร คาขาย รับจาง

หาของปา รับราชการ อ่ืน ๆ

205 12 43 2 3 5

75.9 4.5 15.9 0.7 1.1 1.9

รวม 270 100.0

1.7 จํานวนสมาชกิในครัวเรือน จากการวิเคราะหพบวา ประชากรตําบลเมืองคองที่ทําการศึกษาสวนใหญมีสมาชิกใน

ครัวเรือนจํานวน 4-6 คน รอยละ 59.3 รองลงมามีจํานวนสมาชิกในครัวเรือนนอยกวาหรือเทากบั 3 คน รอยละ 24.4 และรอยละ 16.3 มีจํานวนสมาชิกในครัวเรือนมากกวาหรือเทากับ 7 คนขึ้นไป (ตารางที่ 8)

ตารางที่ 8 จํานวนสมาชิกในครัวเรือนของประชากรตําบลเมืองคองท่ีทําการศึกษา จํานวนสมาชกิในครัวเรือน จํานวน (คน) รอยละ นอยกวาหรือเทากับ 3 คน

4-6 คน มากกวาหรือเทากับ 7 คนขึน้

ไป

66 160 44

24.4 59.3 16.3

รวม 270 100.0 1.8 จํานวนแรงงานในภาคการเกษตรของครัวเรือนประชากรตําบลเมืองคองท่ี

ทําการศึกษา จากการวิเคราะหพบวา ครัวเรือนประชากรตําบลเมืองคองที่ทําการศึกษาสวนใหญมี

จํานวนแรงงานในภาคการเกษตรนอยกวาหรือเทากับ 3 คน รอยละ 81.5 มีจํานวนแรงงานในภาค

Page 33: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

22

การเกษตร 4-6 คน รอยละ 17.5 และรอยละ 1.5 มีจํานวนแรงงานในภาคการเกษตรมากกวาหรือเทากับ 7 คนขึ้นไป (ตารางที่ 9)

ตารางที่ 9 จํานวนแรงงานในภาคการเกษตรของครัวเรือนประชากรตาํบลเมืองคองที่ทําการศึกษา จํานวนแรงงานในภาค

การเกษตร จํานวน (คน) รอยละ

นอยกวาหรือเทากับ 3 คน 4-6 คน

มากกวาหรือเทากับ 7 คนขึน้ไป

220 46 4

81.5 17.0 1.5

รวม 270 100.0

1.9 จํานวนแรงงานนอกภาคการเกษตรของครวัเรือนประชากรตําบลเมืองคองท่ีทําการศึกษา

จากการวิเคราะหพบวา ครัวเรือนประชากรตําบลเมืองคองที่ทําการศึกษาสวนใหญมีจํานวนแรงงานนอกภาคการเกษตรนอยกวาหรือเทากับ 93.3 มีจํานวนแรงงานนอกภาคการเกษตร 4-6 คน รอยละ 6.3 และรอยละ 0.4 มีจํานวนแรงงานนอกภาคการเกษตรมากกวาหรือเทากับ 7 คนขึ้นไป (ตารางที่ 10)

ตารางที่ 10 จํานวนแรงงานนอกภาคการเกษตรของครัวเรือนประชากรตําบลเมืองคอง ท่ีทําการศึกษา

จํานวนแรงงานนอกภาคการเกษตร

จํานวน (คน) รอยละ

นอยกวาหรือเทากับ 3 คน 4-6 คน

มากกวาหรือเทากับ 7 คนขึน้ไป

252 17 1

93.3 6.3 0.4

รวม 270 100.0

1.10 รายไดจากการประกอบอาชพีของประชากรตําบลเมืองคองท่ีทําการศึกษา จากการวิเคราะหพบวา รายไดจากการประกอบอาชพีของประชากรตําบลเมืองคองสวน

ใหญรอยละ 51.9 มีรายไดต่าํกวา 10,000 บาท รองลงมารอยละ 33.3 มีรายได 10,001-30,000 บาท

Page 34: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

23

รอยละ 10.0 มีรายได 30,001-50,000 บาท สวนผูที่มีรายไดมากกวา 50,000 บาทขึ้นไป มีจํานวนรอยละ 4.8 (ตารางที่ 11)

ตารางที่ 11 รายไดจากการประกอบอาชพีของประชากรตําบลเมืองคองท่ีทําการศึกษา รายไดจากการประกอบอาชพี จํานวน (คน) รอยละ

ต่ํากวา 10,000 บาท 10,001-30,000 บาท 30,001-50,000 บาท

มากกวา 50,000 บาทขึ้นไป

140 90 27 13

51.9 33.3 10.0 4.8

รวม 270 100.0

1.11 ลักษณะการถือครองท่ีดินทําการเกษตร จากการวิเคราะหพบวา ประชากรตําบลเมืองคองที่ทําการศึกษาสวนใหญมีที่ดินทํา

การเกษตรที่มีเอกสารสิทธิ์ รอยละ 38.1 รองลงมามีที่ดินทําการเกษตรทั้งที่มีเอกสารสิทธิ์และไมมีเอกสารสิทธิ์ รอยละ 24.4 ไมมีที่ดินทําการเกษตร รอยละ 24.1 และมีที่ดินแตไมมีเอกสารสิทธิ์ รอยละ 17.4 (ตารางที่ 12)

ตารางที่ 12 ลักษณะการถือครองท่ีดินทําการเกษตรของประชากรตําบลเมืองคองท่ีทําการศึกษา การถือครองท่ีดิน จํานวน (คน) รอยละ

- ไมมีที่ดิน - มีที่ดินแตไมมีเอกสารสิทธิ์ - มีที่ดินที่มีเอกสารสิทธิ์ - มีที่ดินที่มีเอกสารสิทธิ์และไมมีเอกสารสิทธิ์

65 47 103 55

24.1 17.4 38.1 24.4

รวม 207 100.0

1.12 การติดตอกับเจาหนาท่ีสงเสริมจากหนวยจัดการตนน้าํ จากการวิเคราะหพบวา ประชากรตําบลเมืองคองที่ทําการศึกษาสวนใหญไมเคยมีการ

ติดตอกับเจาหนาที่สงเสริมจากหนวยจัดการตนน้ํา รอยละ 54.1 สวนรอยละ 45.9 เคยมีการติดตอกับเจาหนาที่สงเสริมจากหนวยจดัการตนน้าํ (ตารางที่ 13)

Page 35: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

24

ตารางที่ 13 การติดตอกับเจาหนาท่ีสงเสรมิจากหนวยจัดการตนน้ํา การติดตอกับเจาหนาท่ี จํานวน (คน) รอยละ

ไมเคย เคย

146 124

54.1 45.9

รวม 270 100.0

1.13 การไดรับการฝกอบรมเกี่ยวกับการอนุรักษปาไมพื้นท่ีตนน้ํา จากการวิเคราะหพบวา ประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษาสวนใหญไมเคยไดรับการ

ฝกอบรมเกี่ยวกับการอนุรักษปาไมในพื้นที่ตนน้ํา รอยละ 60.7 สวนรอยละ 39.3 เคยไดรับการฝกอบรมเกี่ยวกับการอนุรักษปาไมในพื้นที่ตนน้ํา (ตารางที่ 14)

ตารางที่ 14 การไดรับการฝกอบรมเกี่ยวกับการอนุรักษปาไมในพื้นท่ีตนน้ําของประชากร ตาํบลเมืองคองที่ทําการศึกษา

การไดรับการฝกอบรม จํานวน (คน) รอยละ ไมเคย เคย

164 106

60.7 39.3

รวม 270 100.0

1.14 แหลงขาวสารและความรูดานการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํา การไดรับขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการอนุรักษและจดัการปาตนน้ําของประชากรตําบลเมือง

คองที่ทําการศึกษา โดยใชวิธีกําหนดคะแนนตามระดบัความถี่ของการไดรับขาวสารเกี่ยวกับการอนุรักษและจดัการปาตนน้ําในชวงระยะเวลา 1 ปที่ผานมา ดังนี ้

ระดับการรับขาวสารมาก = 3 คะแนน ระดับการรับขาวสารปานกลาง = 2 คะแนน ระดับการรับขาวสารนอย = 1 คะแนน จากนั้นนําขอมูลที่ผูใหขอมูลระบุมาคํานวณน้ําหนักคาเฉลี่ยในแตละสื่อ โดยมีเกณฑ

คะแนนเฉลี่ย ดังนี ้คาคะแนนเฉลีย่ ระดับความถีข่องการไดรับขาวสาร 2.35 - 3.00 การไดรับขาวสารเกี่ยวกับการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํในระดับมาก 1.68 – 2.34 การไดรับขาวสารเกี่ยวกับการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํในระดับปาน กลาง 1.00 – 1.67 การไดรับขาวสารเกี่ยวกับการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํในระดับนอย

Page 36: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

25

การไดรับขาวสารทางดานการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํจากแหลงขาวสารและความรูของประชากรตําบลเมืองคองที่ทําการศึกษาพบวา จากโทรทัศนมากที่สุด โดยมคีาเฉลี่ยเทากับ 3.31 รองลงมาคือ วิทย ุ มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.14 เพื่อนบานมีคาเฉลี่ยเทากับ 0.61 เจาหนาที่ของรัฐมีคาเฉลี่ยเทากับ 0.47 หนังสือพิมพ เอกสาร วารสาร โปสเตอร และนติยสารมีคาเฉลี่ยเทากับ 0.44 และต่ําสุดไดแก เจาหนาทีข่องเอกชนคาเฉลี่ยเทากับ 0.15 ตามลําดับ โดยพิจารณาคาเฉลี่ยรวมเทากับ 1.10 อยูในระดับนอยและสวนเบีย่งเบนมาตรฐานเทากับ 1.97

เมื่อพิจารณาถงึระดับที่เคยไดรับขาวสารจากแหลงตาง ๆ พบวา

เพื่อนบาน ประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษารอยละ 95.2 ไดรับขาวสารนอย รองลงมา รอยละ 2.6 ไดรับขาวสารมาก และรอยละ 2.2 ไดรับขาวสาร ปานกลาง

หนังสือพิมพ ประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษารอยละ 94.8 ๆไดรับขาวสารนอย รองลงมารอยละ 3.0 ไดรับขาวสารมาก และรอยละ 2.2 ไดรับขาวสาร

ปานกลาง โทรทัศน ประชาชนตําบลเมืองคองที่ศึกษารอยละ 78.5 ไดรับขาวสารนอย

รองลงมา รอยละ 15.6 ไดรับขาวสารมาก และรอยละ 5.9 ไดรับขาวสาร ปานกลาง

วิทย ุ ประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษารอยละ 85.6 ไดรับขาวสารนอย รองลงมา รอยละ 11.5 ไดรับขาวสารมาก และรอยละ 3.0 ไดรับ ขาวสารปานกลาง

หอกระจายขาว ประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษารอยละ 95.6 ไดรับขาวสารนอย รองลงมา รอยละ 3.0 ไดรับขาวสารปานกลาง และรอยละ 1.5 ไดรับขาวสารนอย

เจาหนาที่ของรัฐฯ ประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษารอยละ 94.8 ไดรับขาวสารนอย รองลงมา รอยละ 4.4 ไดรับขาวสารปานกลาง และรอยละ 0.7 ไดรับขาวสารนอย

เจาหนาที่ของเอกชน ประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษารอยละ 98.5 ไดรับขาวสารนอย รองลงมา รอยละ 1.1 ไดรับขาวสารปานกลาง และรอยละ 0.4 ไดรับ ขาวสารนอย

(ตารางที่ 15)

Page 37: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

26

ตารางที่ 15 แหลงขาวสารและความรูเก่ียวกับการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํ ระดับท่ีเคยไดรับขาวสาร แหลงขาวสารและ

ความรู นอยกวาหรือเทากับ 2 คร้ัง/เดือน (1)

3-4 คร้ัง/เดือน (2)

มากกวาหรือเทากับ 3 คร้ัง/เดือน (3)

X SD ความ หมาย

1.เพื่อนบาน 2.หนังสือพิมพ เอกสาร วารสาร โปสเตอร และนิตยสาร 3.โทรทัศน 4.วิทย ุ 5.หอกระจายขาว 6.เจาหนาที่ของรัฐฯ 7.เจาหนาที่ของเอกชน

257 (95.2) 256

(94.8)

212 (78.5) 231

(85.6) 258

(95.6) 256

(94.8) 266

(98.5)

6 (2.2)

6 (2.2)

16 (5.9)

8 (3.0)

8 (3.0) 12

(4.4) 3

(1.1)

7 (2.6)

8 (3.0)

42 (15.6)

31 (11.5)

4 (1.5)

2 (0.7)

1 (0.4)

0.61

0.44

3.31

2.14

0.47

0.59

0.15

1.20

1.49

7.86

6.15

2.07

0.96

0.60

นอย

นอย

นอย

นอย

นอย

นอย

นอย

รวม 1,736 48 95 1.10 1.97 นอย หมายเหตุ ประชากรตําบลเมืองคองที่ทําการศึกษาแตละรายอาจไดรับขาวสารมากกวา 1 แหง ตัวเลขในวงเล็บแสดงคารอยละ

Page 38: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

27

ตอนที ่2 วิเคราะหขอมูลดานความรูความเขาใจเกี่ยวกับการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํา จากการศึกษาถึงความรูความเขาใจเกีย่วกบัการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําของประชากรตําบลเมืองคอง ใชคําถามทั้งหมด 15 ขอ การวิเคราะหขอมูลไดผลดังนี้

• ประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษามีความรูความเขาใจเกีย่วกับการอนุรักษและจดัการปาตนน้ําวา พื้นที่ตนน้ํามีความสําคัญตอการมีฝนตกอยางถูกตองตามฤดูการสวนใหญ รอยละ 92.6 มีความรูความเขาใจ และรอยละ 7.4 ยังขาดความรูความเขาใจในเรื่องดังกลาว

• ประชากรตําบลเมืองคองที่ทําการศึกษามีความรูความเขาใจเกีย่วกับการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํวา การปลูกปาเพิ่มเติมเปนการรักษาพืน้ที่ตนน้ําวิธีหนึ่งสวนใหญรอยละ 95.2 มีความรูความเขาใจ และรอยละ 4.8 ยังขาดความรูความเขาใจในเรือ่งดังกลาว

• ประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษามีความรูความเขาใจเกีย่วกับการอนุรักษและจดัการปาตนน้ําวา ปาไมในพืน้ทีป่าตนน้ําสามารถเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติไดไมจําเปนตองปลูกปาเพิ่มเตมิ สวนใหญรอยละ 53.3 มีความรูความเขาใจ และรอยละ 46.7 ยังขาดความรูความเขาใจในเรื่องดังกลาว

• ประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษามีความรูความเขาใจเกีย่วกับการอนุรักษและจดัการปาตนน้ําวา การมีปาไมในพืน้ที่ตนน้ําจะชวยใหมีน้ําในหวย หนอง คลอง บึง และแมน้ําลําธารไหลตลอดป สวนใหญรอยละ 91.9 มีความรูความเขาใจ และรอยละ 8.1 ยังขาดความรูความเขาใจในเรื่องดังกลาว

• ประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษามีความรูความเขาใจเกีย่วกับการอนุรักษและจดัการปาตนน้ําวา ทานสามารถเปดพื้นทีป่าไมหรือพื้นที่ปาตนน้ําเพื่อทําการเกษตรได สวนใหญรอยละ 76.7 มีความรูความเขาใจ และรอยละ 23.3 ยังขาดความรูความเขาใจในเรื่องดังกลาว

• ประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษามีความรูความเขาใจเกีย่วกับการอนุรักษและจดัการปาตนน้ําวา การรักษาปาในพื้นที่ปาตนน้ําเปนหนาที่ของเจาหนาที่ของรัฐเทานั้น สวนใหญรอยละ 81.5 มีความรูความเขาใจ และรอยละ 18.5 ยังขาดความรูความเขาใจในเรื่องดังกลาว

• ประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษามีความรูความเขาใจเกีย่วกับการอนุรักษและจดัการปาตนน้ําวา ตนไมชวยลดความรุนแรงของการไหลของน้ําได สวนใหญรอยละ 91.5 มีความรูความเขาใจ และรอยละ 8.5 ยังขาดความรูความเขาใจในเรื่องดงักลาว

Page 39: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

28

• ประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษามีความรูความเขาใจเกีย่วกับการอนุรักษและจดัการปาตนน้ําวา การถางปาเพื่อขยายพืน้ที่เพาะปลูกบนพื้นทีต่นน้ํามาก ๆ เปนวิธีการหนึง่ในการใชพื้นที่ตนน้ําใหเกดิประโยชนสูงสุด สวนใหญรอยละ 74.4 มีความรูความเขาใจ และรอยละ 25.6 ยังขาดความรูในเรื่องดังกลาว

• ประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษามีความรูความเขาใจเกีย่วกับการอนุรักษและจดัการปาตนน้ําวา การดูแลรักษาปาบริเวณพื้นที่ตนน้ําที่ไดผลดีคือ การใหประชาชนในทองถ่ินมีสวนรวมดวย สวนใหญรอยละ 97.4 มีความรูความเขาใจ และรอยละ 2.6 ยังขาดความรูความเขาใจในเรื่องดังกลาว

• ประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษามีความรูความเขาใจเกีย่วกับการอนุรักษและจดัการปาตนน้ําวา การทําการเกษตรบนพื้นที่สูงอาศัยน้ําฝนเพยีงอยางเดียว ไมจําเปนตองดูแลรักษาปา สวนใหญรอยละ 84.4 มีความรูความเขาใจ และรอยละ 15.6 ยังขาดความรูในเรื่องดังกลาว

• ประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษามีความรูความเขาใจเกีย่วกับการอนุรักษและจดัการปาตนน้ําวา ในพื้นที่ตนน้ํายิ่งมีประชาชนมากเทาใดยิ่งด ี จะไดชวยกันดแูลรักษาพื้นที่ตนน้ําไดอยางทั่วถึง สวนใหญรอยละ 47.8 มีความรูความเขาใจ และรอยละ 52.2 ยังขาดความรูความเขาใจในเรื่องดังกลาว

• ประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษามีความรูความเขาใจเกีย่วกับการอนุรักษและจดัการปาตนน้ําวา การปลูกผัก ทําสวน เล้ียงสัตว สามารถสงเสริมหรือขยายพืน้ที่ไปยังพื้นที่ตนน้ําได แตตองไมทาํใหน้ําขุนสกปรก สวนใหญรอยละ 46.7 มีความรูความเขาใจ และรอยละ 53.3 ยังขาดความรูความเขาใจในเรื่องดังกลาว

• ประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษามีความรูความเขาใจเกีย่วกับการอนุรักษและจดัการปาตนน้ําวา ประเทศไทยเปนประเทศกสกิรรม ไมจําเปนตองอนุรักษพื้นทีต่นน้ําไว เพราะมีฝนตกประจําอยูแลว สวนใหญรอยละ 84.8 มีความรูความเขาใจ และรอยละ 15.2 ยังขาดความรูความเขาใจในเรื่องดังกลาว

• ประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษามีความรูความเขาใจเกีย่วกับการอนุรักษและจดัการปาตนน้ําวา ตนไมชวยกกัเก็บน้ําและชะลอการไหลของน้ําใหเปนไปตามธรรมชาติ สวนใหญรอยละ 94.4 มีความรูความเขาใจ และรอยละ 5.6 ยังขาดความรูความเขาใจในเรื่องดังกลาว

• ประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษามีความรูความเขาใจเกีย่วกับการอนุรักษและจดัการปาตนน้ําวา การปลูกพืชแบบขั้นบันได เปนการปองกันการชะลางพังทะลายของดิน

Page 40: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

29

แบบหนึ่ง สวนใหญรอยละ 88.1 มีความรูความรูความเขาใจ และรอยละ 11.9 ยังขาดความรูความเขาใจในเรื่องดังกลาว (ตารางที่ 16)

ตารางที่ 16 ความรูความเขาใจเกี่ยวกับการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําของประชากร

ตําบลเมืองคองท่ีทําการศกึษา ขอความ ตอบได

ถูกตอง (1 คะแนน)

ตอบผดิ

(0 คะแนน) 1.พื้นที่ตนน้ํามีความสําคัญตอการมีฝนตกอยางถูกตองตามฤดูกาล 2.การปลูกปาเพิ่มเติมเปนการรักษาพื้นที่ตนน้ําวิธีหนึ่ง 3.ปาไมในพืน้ที่ตนน้ําสามารถเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติไดไมจําเปนตองปลูกปาเพิ่มเติม 4.การมีปาไมในพื้นที่ตนน้ําจะชวยใหมีน้ําในหวย คลอง บึง แมน้ําลําธารไหลตลอดป 5.ทานสามารถเปดพื้นที่ปาไมหรือพื้นที่ตนน้ํา เพื่อทาํการเกษตรได 6.การรักษาปาในพื้นที่ตนน้ําเปนหนาที่ของเจาหนาที่ของรัฐเทานั้น 7.ตนไมชวยลดความรุนแรงของการไหลของน้ําได 8.การถางปาเพื่อขยายพืน้ที่เพาะปลูกบนพืน้ที่ตนน้ํามากๆเปนวิธีการหนึ่งในการใชพื้นที่ตนน้ําใหเกดิประโยชนสูงสุด 9.การดูแลรักษาปาบริเวณพืน้ที่ตนน้ําที่ไดผลดีคือการใหประชาชนในทองถ่ินมีสวนรวมดวย 10.การทําการเกษตรบนพืน้ที่สูง อาศัยน้ําฝนเพียงอยางเดียวไมจําเปนตองดูแลรักษาปา 11.ในพื้นที่ตนน้ํายิ่งมีประชาชนมากเทาใดยิ่งด ี จะไดชวยกันดแูลรักษาพื้นที่ตนน้ําไดอยางทั่วถึง

250 (92.6) 257

(95.2) 144

(53.3) 248

(91.9) 207

(76.7) 220

(81.5) 247

(91.5) 201

(74.4) 263

(97.4) 228

(84.4) 129

(47.8)

20 (7.4) 13

(4.8) 126

(46.7) 22

(8.1) 63

(23.3) 50

(18.5) 23

(8.5) 69

(25.6) 7

(2.6) 42

(15.6) 141

(52.2)

Page 41: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

30

ตารางที่ 16 (ตอ) ความรูความเขาใจเกี่ยวกับการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํของประชากร ตําบลเมืองคองท่ีทําการศกึษา

ขอความ ตอบไดถูกตอง

(1 คะแนน)

ตอบผดิ

(0 คะแนน) 12.การปลูกผัก ทําสวน เล้ียงสัตว สามารถสงเสริมหรือขยายพืน้ที่ไปยังพื้นที่ตนน้ําได แตตองไมทําใหน้ําขุนสกปรก 13.ประเทศไทยเปนประเทศกสิกรรม ไมจําเปนตองอนุรักษพืน้ที่ตนน้ําไวเพราะมีฝนตกประจําอยูแลว 14.ตนไมชวยเก็บกักน้ําและชะลอการไหลของน้ําใหเปนไปตามธรรมชาติ 15.การปลูกพชืแบบขั้นบันได เปนการปองกันการชะลางพังทะลายของดินแบบหนึ่ง

126 (46.7) 229

(84.8) 255

(94.4) 238

(88.1)

144 (53.3)

41 (15.2)

15 (5.6) 32

(11.9) หมายเหตุ ตัวเลขในวงเล็บแสดงคารอยละ

คะแนนความรูเก่ียวกับความรูความเขาใจเกี่ยวกับการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําของประชากรตาํบลเมืองคอง

จากการศึกษาถึงความรูเกี่ยวกับความรูความเขาใจเกีย่วกบัการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําของประชากรตําบลเมืองคอง พบวาประชากรสวนใหญ รอยละ 51.9 มีความรูเกีย่วการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําไดคะแนนที่อยูในชวงระหวาง 13 – 15 คะแนน รองลงมารอยละ 32.1 มีความรูเกี่ยวการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํไดคะแนนทีอ่ยูในชวงระหวาง 10 - 12 คะแนน รอยละ 13.0 มีความรูเกี่ยวการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํไดคะแนนทีอ่ยูในชวงระหวาง 7 – 9 คะแนน รอยละ 2.6 มีความรูเกี่ยวการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําไดคะแนนที่อยูในชวงระหวาง 4 - 6 คะแนน และรอยละ 0.4 มีความรูเกี่ยวการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําไดคะแนนที่อยูในชวงระหวาง 1 - 3 คะแนน โดยมีคะแนนต่ําสุด 0 คะแนน คะแนนสูงสุด 15 คะแนน และคะแนนเฉลี่ย 12.00 คะแนน (ตารางที่ 17)

Page 42: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

31

ตารางที่ 17 คะแนนความรูเก่ียวกับความรูความเขาใจเกี่ยวกับการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํา ของประชากรตําบลเมืองคอง คะแนนความรูเก่ียวกับความรูความเขาใจเกี่ยวกับการอนุรักษ

จํานวน(ราย) รอยละ

1 – 3 คะแนน ( 6.67% – 20%)

1 0.4

4 – 6 คะแนน (26.67% - 40%)

7 2.6

7 – 9 คะแนน (46.67% - 60%)

35 13.0

10 – 12 คะแนน (66.67% - 80%)

87 32.1

13 – 15 คะแนน (86.67% - 100%)

140 51.9

รวม 270 100.0 คะแนนต่ําสุด 0 คะแนน คะแนนสูงสุด 15 คะแนน คะแนนเฉลี่ย 12.00 คะแนน (หรือ 80% ) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2.39

ตอนที่ 3 วิเคราะหขอมูลทางดานการมสีวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําของประชากรตําบลเมืองคองท่ีศึกษา

การวิเคราะหเปรียบเทียบระดับของการมีสวนรวมกับเกณฑที่กําหนดไวโดยมีการกําหนดคาคะแนนตามระดับความถี่ของการมีสวนรวมดงันี้ ระดับการมีสวนรวมมาก = 3 คะแนน ระดับการมีสวนรวมปานกลาง = 2 คะแนน ระดับการมีสวนรวมนอย = 1 คะแนน

Page 43: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

32

จากนั้นนําขอมูลที่ผูใหขอมูลระบุมาคํานวณน้ําหนักคาเฉลี่ยในแตละประเด็นโดยมเีกณฑคะแนนเฉลี่ยดงันี้ ชวงคะแนนเฉลี่ย ระดับความถีข่องการมีสวนรวม 2.35 - 3.00 ระดับการมีสวนรวมมาก 1.68 - 2.34 ระดับการมีสวนรวมปานกลาง 1.00 - 1.67 ระดับการมีสวนรวมนอย การวิเคราะหพบวา การมีสวนรวมในการอนุรักษและจดัการปาตนน้ําของประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษาอยูในระดับนอย(มีคาเฉลี่ยเทากับ 1.45)โดยพิจารณาแยกเปนประเดน็ตางๆ พบวา การเสนอความคิดเห็นในการอนุรักษและจัดการพื้นท่ีปาตนน้ํา

• การมีสวนรวมประชุมวางแผนการดําเนนิงานอนุรักษพื้นที่ปาตนน้ําในเขตหมูบาน สวนใหญรอยละ 42.9 มีสวนรวมนอย รองลงมารอยละ 39.6 มีสวนรวมปานกลาง และรอยละ 17.4 มีสวนรวมมาก

• การมีสวนรวมประชุมวางแผนการดําเนนิงานอนุรักษพื้นที่ปาตนน้ํานอกเขตหมูบาน สวนใหญรอยละ 54.8 มีสวนรวมนอย รองลงมารอยละ 35.6 มีสวนรวมปานกลาง และรอยละ 9.6 มีสวนรวมมาก

• การมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็นตางๆในที่ประชมุ สวนใหญรอยละ 50.4 มีสวนรวมนอย รองลงมารอยละ 34.1 มีสวนรวมปานกลาง และรอยละ 15.6 มีสวนรวมมาก

• การมีสวนรวมในการเสนอความคิดเห็นตอที่ประชุมใหมกีารปลูกปาเพือ่อนุรักษพื้นที่ปาตนน้ําในบริเวณหมูบาน สวนใหญรอยละ 44.1 มีสวนรวมนอย รองลงมารอยละ 34.8 มีสวนรวมปานกลาง และรอยละ 21.1 มีสวนรวมมาก

• มีสวนรวมในการเสนอความคิดเห็นตอทีป่ระชุมในการบํารุงรักษาปาตนน้ํา สวนใหญรอยละ 49.6 มีสวนรวมนอย รองลงมารอยละ 26.7 มีสวนรวมปานกลาง และรอยละ 23.7 มีสวนรวมมาก

Page 44: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

33

การวางแผนการดาํเนินงาน • การมีสวนรวมในการประชุมเพื่อวางแผนหรือจัดทําโครงการอนุรักษพืน้ที่ปาตนน้ํา

สวนใหญรอยละ 50.0 มีสวนรวมนอย รองลงมารอยละ 33.7 มีสวนรวมปานกลาง และรอยละ 16.3 มีสวนรวมมาก

• การมีสวนรวมในการประชุมเพื่อวางแผนโครงการปลูกปาเพื่ออนุรักษพืน้ที่ปาตนน้ํา สวนใหญรอยละ 48.8 มีสวนรวมนอย รองลงมารอยละ 33.7 มีสวนรวมปานกลาง และรอยละ 17.4 มีสวนรวมมาก

• การมีสวนรวมในการประชุมเพื่อวางแผนการดูแลรักษาปาในพื้นที่ปาตนน้ํา สวนใหญรอยละ 44.4 มีสวนรวมนอย รองลงมารอยละ 36.3 มีสวนรวมปานกลาง และรอยละ 19.3 มีสวนรวมมาก

• การมีสวนรวมในการประชุมเพื่อวางแผนในการปองกันการบุกรุกทําลายปาในพื้นทีป่าตนน้ํา สวนใหญรอยละ 44.8 มีสวนรวมนอย รองลงมารอยละ 35.2 มีสวนรวมปานกลาง และรอยละ 20.0 มีสวนรวมมาก

• การมีสวนรวมในการประชุมเพื่อวางแผนชกัชวนใหเพื่อนบานชวยกนัดูแลรักษาปาและปลูกปาในพื้นที่ปาตนน้ํา สวนใหญรอยละ 41.5 มีสวนรวมนอย รองลงมารอยละ 39.3 มีสวนรวมปานกลาง และรอยละ 19.3 มีสวนรวมมาก

การรวมลงมือปฏิบตั ิ• การมีสวนรวมในการปลูกปาทดแทน และมีการปลูกปาตนน้ําในวันสําคัญ เชน วัน

เฉลิมพระชนมพรรษา และวันสําคัญอื่นๆ สวนใหญรอยละ 36.3 มีสวนรวมปาน กลาง รองลงมารอยละ 36.2 มีสวนรวมนอย และรอยละ 28.5 มีสวนรวมมาก

• การมีสวนรวมกับเจาหนาที่ในการจับกุมผูบุกรุกปาตนน้าํ สวนใหญรอยละ 65.6 มีสวนรวมนอย รองลงมารอยละ 21.9 มีสวนรวมปานกลาง และรอยละ 12.6 มีสวนรวมมาก

• การมีสวนรวมในการสํารวจพื้นที่ปาตนน้ํา สวนใหญรอยละ 57.8 มีสวนรวมนอย รองลงมารอยละ 32.6 มีสวนรวมปานกลาง และรอยละ 9.6 มีสวนรวมมาก

• การมีสวนรวมในการหามปรามและตักเตือนหากพบเหน็การตัดไมทําลายปา สวนใหญรอยละ 46.3 มีสวนรวมนอย รองลงมารอยละ 34.4 มีสวนรวมปานกลาง และรอยละ 19.3 มีสวนรวมมาก

• การมีสวนรวมในการปองกนัไฟปาในชวงหนาแลง สวนใหญรอยละ 37.1 มีสวนรวมนอย รองลงมารอยละ 33.3 มีสวนรวมปานกลาง และรอยละ 29.6 มีสวนรวมมาก

Page 45: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

34

การติดตามและประเมินผลโครงการ • มีสวนรวมในการติดตามการดําเนินงานของโครงการ เชน การปลูกปา การปองกนัไฟปา

ฯลฯ ตั้งแตเริ่มตนจนสิ้นสุดโครงการ สวนใหญรอยละ 55.9 มีสวนรวมนอย รองลงมารอยละ 27.4 มีสวนรวมปานกลาง และรอยละ 16.7 มีสวนรวมมาก

• การมีสวนรวมในการเสนอแนะวิธีการบํารุงรักษาปาตนน้าํหลังจากไดปลูกปาเสร็จสิ้นแลว สวนใหญรอยละ 57.4 มีสวนรวมนอย รองลงมารอยละ 34.1 มีสวนรวมปานกลาง และรอยละ 8.5 มีสวนรวมมาก

• การมีสวนรวมในการเปนกรรมการการใชน้ําสําหรับการทําการเกษตรในหมูบาน สวนใหญรอยละ 55.9 มีสวนรวมนอย รองลงมารอยละ 25.2 มีสวนรวมปานกลาง และรอยละ 18.9 มีสวนรวมมาก

• มีสวนรวมในการเผยแพรความรูและขาวสารเกี่ยวกับประโยชนของปาตนน้ําลําธารและโทษของการตัดไมทําลายปาตนน้ํา สวนใหญรอยละ 55.5 มีสวนรวมนอย รองลงมารอยละ 30.7 มีสวนรวมปานกลาง และรอยละ 13.7 มีสวนรวมมาก

• การมีสวนรวมในการชวยสอดสองและชวยรายงานเจาหนาที่เมื่อมีผูบุกรุกตัดไมทําลายปาตนน้ํา สวนใหญรอยละ 55.2 มีสวนรวมนอย รองลงมารอยละ 29.3 มีสวนรวมปานกลาง และรอยละ 15.6 มีสวนรวมมาก

(ตารางที่ 18)

Page 46: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

35

ตารางที่ 18 การมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําของประชากรตําบลเมืองคองท่ี ศึกษา

N = 270 ระดับการมีสวนรวม ขอท่ี การมีสวนรวมในการอนุรักษปาตนน้ํา

มาก ปานกลาง

นอย X

SD แปล ผล

1 การเสนอความคิดเห็นในการอนุรักษพื้นท่ีปาตนน้ํา 1.1 ทานมีสวนรวมประชุมการวางแผนการ

ดําเนินงานอนรัุกษพื้นที่ตนน้ําในเขตหมูบานของทาน

1.2 ทานมีสวนรวมประชุมวางแผนการดําเนนิงานอนุรักษพืน้ที่ตนน้ํานอกเขตหมูบานของทาน

1.3 ทานมีสวนรวมในการแสดงความคิดเหน็ตางๆในที่ประชุม

1.4 ทานมีสวนรวมในการเสนอความคิดเหน็ตอที่ประชุมใหมกีารปลูกปาเพื่ออนุรักษพืน้ทีป่าตนน้ําในบริเวณหมูบานของทานเอง

1.5 ทานมีสวนรวมในการเสนอความคิดเหน็ตอที่ ประชุมในการบํารุงรักษาปาตนน้ํา

47

(17.4)

26 (9.6) 42

(15.5) 57

(21.1)

64 (23.7)

107

(39.6)

96 (35.6)

92 (34.1)

94 (34.8)

72

(26.7)

116

(43.0)

148 (54.8) 136

(50.4) 119

(44.1)

134 (49.6)

1.61

1.22

1.45

1.56

1.56

0.93

1.01

0.98

1.04

1.04

นอย

นอย

นอย

นอย

นอย

Page 47: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

36

ระดับการมีสวนรวม ขอท่ี การมีสวนรวมในการอนุรักษปาตนน้ํา มาก ปาน

กลาง นอย X

SD

แปล ผล

2 การวางแผนการดําเนินงาน 2.1 ทานมีสวนรวมในการประชมุเพื่อวางแผนหรือ

จัดทําโครงการอนุรักษพื้นทีป่าตนน้ํา 2.2 ทานมีสวนรวมในการประชมุเพื่อวางแผน

โครงการปลูกปาเพื่ออนุรักษพื้นที่ปาตนน้ํา 2.3 ทานมีสวนรวมในการประชมุเพื่อวางแผนการ

ดูแลรักษาปาในพื้นที่ปาตนน้ํา 2.4 ทานมีสวนรวมในการประชมุเพื่อวางแผนใน

การปองกันการบุกรุกทําลายปาในพื้นที่ตนน้ํา 2.5 ทานมสีวนรวมในการประชมุเพื่อวางแผน

ชักชวนใหเพื่อนบานชวยกนัดูแลรักษาปาและปลูกปาในพื้นที่ปาตนน้ํา

44

(16.3) 47

(17.4) 52

(19.3) 54

(20.0) 52

(19.3)

91

(33.7) 91

(33.7) 98

(36.3) 95

(35.2) 106

(39.2)

135

(50.0) 132

(48.9) 120

(44.4) 121

(44.8) 112

(41.5)

1.41

1.44

1.58

1.56

1.57

1.04

1.04

0.99

1.01

1.03

นอย

นอย

นอย

นอย

นอย

3 การรวมลงมือปฏิบตั ิ3.1 ทานมีสวนรวมในการปลูกปาทดแทนเสมอ และ มีการปลูกปาตนน้ําในวนัสําคัญ เชน วันเฉลิม พระชนมพรรษา และวันสําคัญอื่นๆ 3.2 ทานมีสวนรวมกับเจาหนาทีใ่นการจับกุมผูบุกรุก

ปาตนน้ํา 3.3 ทานมีสวนรวมในการสํารวจพื้นที่ปาตนน้าํ 3.4 ทานมีสวนรวมในการหามปรามและตักเตอืน

หากพบเห็นการตดัไมทําลายปา 3.5 ทานมีสวนรวมในการปองกนัไฟปาในชวง

หนาแลง

77

(28.5)

34 (12.6)

26 (9.6) 52

(19.3) 80

(29.6)

98

(36.3)

59 (21.8)

88 (32.6)

93 (34.4)

90 (33.3)

95

(35.2)

177 (65.6) 156

(57.8) 125

(46.3) 100

(37.1)

1.83

1.03

1.21

1.56

1.82

0.96

1.08

0.99

0.99

0.97

นอย

นอย

นอย

นอย

นอย

Page 48: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

37

ระดับการมีสวนรวม ขอท่ี การมีสวนรวมในการอนุรักษปาตนน้ํา มาก ปาน

กลาง นอย X

SD

แปล ผล

4 การติดตามและประเมินผลโครงการ 4.1 ทานมีสวนรวมในการติดตามการดําเนินงาน

ของโครงการ เชน การปลูกปา การปองกันไฟปา ฯลฯ ตั้งแตเริ่มตนจนสิน้สุดโครงการ

4.2 ทานมีสวนรวมในการเสนอแนะวิธีการบํารุงรักษาปาตนน้ําหลังจากไดปลูกปาเสร็จสิ้นแลว

4.3 ทานมีสวนรวมในการเปนกรรมการการใชน้ําสําหรับการทําการเกษตรในหมูบานของทาน

4.4 ทานมีสวนรวมในการเผยแพรความรูและขาวสารเกี่ยวกบัประโยชนของปาตนน้ําลําธารและโทษของการตัดไมทําลายปาตนน้ํา

4.5 ทานมีสวนรวมในการชวยสอดสองและชวยรายงานเจาหนาที่เมื่อมีผูบุกรุกตัดไมทําลายปาตนน้ํา

45

(16.7)

23 (8.5)

51

(18.9) 37

(13.7)

42 (15.5)

74

(27.4)

92 (34.1)

68

(25.2) 83

(30.7)

79 (29.3)

151

(55.9)

155 (57.4)

151

(55.9) 150

(55.6)

149 (55.2)

1.34

1.24

1.31

1.32

1.34

1.05

0.95

1.11

1.01

1.03

นอย

นอย

นอย

นอย

นอย

หมายเหตุ ตวัเลขในวงเล็บแสดงคารอยละ คาเฉล่ียโดยรวม X = 1.45 SD = 0.74 แปลผล = มีสวนรวมนอย

Page 49: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

38

ตอนที่ 4 วิเคราะหปจจัยท่ีมีความสัมพันธกับการมีสวนรวมในการอนรัุกษและจัดการปาตนน้ําของชุมชนตําบลเมอืงคอง อําเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม

วิเคราะหความสัมพันธระหวางลักษณะพื้นฐานสวนบุคคล ปจจยัเศรษฐกิจและสังคมกับ

การมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําของประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษา การวิเคราะหปจจัยดานเพศ พบวา ประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษาที่เปนเพศชายจํานวน

รอยละ 39.2 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํานอย รองลงมารอยละ 21.5 มีสวนรวมในการอนรัุกษและจัดการปาตนน้ําปานกลาง และรอยละ 10.4 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํมาก สวนประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษาที่เปนเพศหญิงจํานวนรอยละ 18.5 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํนอย รองลงมารอยละ 7.8 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําปานกลาง และรอยละ 2.6 มีสวนรวมในการอนรัุกษและจัดการปาตนน้ํามาก

เมื่อวิเคราะหถึงความสัมพันธระหวางเพศกับการมีสวนรวมในการอนรัุกษและจัดการปาตนน้ําของประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษาโดยการทดสอบคาไคสวแควร (Chi-square Test) ปรากฏวา คาของไคสแควรที่คํานวณไดเทากับ 2.31 ซ่ึงเมื่อเปรียบเทียบกับคาไคสแควรโดยใชระดับนยัสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 0.05 ในตารางจะเทากับ 5.99 แสดงวา คาไคสแควรที่คํานวณไดนอยกวาคาไคสแควรในตาราง หมายถึง ตัวแปรทั้งสองไมมีความสัมพันธกันทางสถติ ิ ดังนั้นเพศชายและเพศหญิงไมมีความสัมพันธกับการมีสวนรวมในการอนุรักษและจดัการปาตนน้ําของประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษา หรือประชากรตําบลเมืองคองที่เปนชายหรือหญิงไมมีผลตอการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํา (ตารางที่ 19)

ตารางที่ 19 ความสัมพนัธระหวางเพศของประชากรเมืองคองท่ีศึกษากับการมีสวนรวมในการ

อนุรักษและจัดการปาตนน้ํา การมีสวนรวมอนุรักษและจัดการพื้นท่ีปาตนน้ํา เพศ

นอย ปานกลาง มาก รวม

ชาย 106 (39.2)

58 (21.5)

28 (10.4)

192 (71.1)

หญิง 50 (18.5)

21 (7.8)

7 (2.6)

78 (28.9)

รวม 156 (57.7)

79 (29.3)

35 (13.0)

270 (100.0)

χ2 (คํานวณ) = 2.31NS χ2 (ตาราง) (0.05,2) = 5.99

Page 50: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

39

การวิเคราะหปจจัยดานอาย ุ พบวา ประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษาที่มีอายุนอยกวาหรือเทากับ 35 ปจํานวนรอยละ 21.8 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํานอย รองลงมารอยละ 7.8 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําปานกลาง และรอยละ 3.0 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํามาก สวนประชากรตาํบลเมืองคองที่ศึกษาที่มีอายุมากกวา 35 ปขึ้นไปจํานวนรอยละ 35.9 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํานอย รองลงมารอยละ 21.5 มีสวนรวมในการอนุรักษและจดัการปาตนน้ําปานกลาง และรอยละ 10.0 มีสวนรวมในการอนุรักษและจดัการปาตนน้ํามาก

เมื่อวิเคราะหถึงความสัมพันธระหวางอายกุับการมีสวนรวมในการอนรัุกษและจัดการปา

ตนน้ําของประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษาโดยการทดสอบไคสวแควร (Chi-square Test) ปรากฏวา คาของไคสแควรที่คํานวณไดเทากบั 4.75 ซ่ึงเมื่อเปรียบเทียบกับคาไคสแควรโดยใชระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 0.05 ในตารางจะเทากับ 5.99 แสดงวา คาไคสแควรที่คํานวณไดนอยกวาคาไคสแควรในตาราง หมายถึง ตัวแปรทั้งสองไมมีความสัมพันธกันทางสถิติ ดงันั้นปจจัยทางดานอายุไมมีความสัมพันธกับการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําของประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษา หรือประชากรตําบลเมืองคองที่มีอายุตางกันไมมีผลตอการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํ (ตารางที่ 20)

ตารางที่ 20 ความสัมพนัธระหวางอายุของประชากรเมืองคองท่ีศึกษากับการมีสวนรวมในการ

อนุรักษและจัดการปาตนน้ํา การมีสวนรวมอนุรักษและจัดการพื้นท่ีปาตนน้ํา อายุ

นอย ปานกลาง มาก รวม

นอยกวาหรือเทากับ 35 ป 59 (21.8)

21 (7.8)

8 (3.0)

88 (32.6)

มากกวา 35 ปขึ้นไป 97 (35.9)

58 (21.5)

27 (10.0)

182 (67.4)

รวม 156 (57.7)

79 (29.3)

35 (13.0)

270 (100.0)

χ2 (คํานวณ) = 4.75NS χ2 (ตาราง) (0.05,2) = 5.99

Page 51: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

40

การวิเคราะหปจจัยดานสถานภาพสมรส พบวา ประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษาที่มีสถานภาพสมรสแลวอยูดวยกันจํานวนรอยละ 44.4 มีสวนรวมในการอนุรักษและจดัการปาตนน้ํานอย รองลงมารอยละ 23.7 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําปานกลาง และรอยละ 10.4 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํามาก สวนประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษาที่มีสถานภาพอื่นๆ(โสด สมรสแลวแยกกนัอยู หยาราง/มาย)จํานวนรอยละ 13.3 มีสวนรวมในการอนุรักษและจดัการปาตนน้ํานอย รองลงมารอยละ 5.6 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําปานกลาง และรอยละ 2.6 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํามาก

เมื่อวิเคราะหถึงความสัมพันธระหวางสถานภาพสมรสกบัการมีสวนรวมในการอนุรักษ

และจัดการปาตนน้ําของประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษาโดยการทดสอบไคสวแควร (Chi-square Test) ปรากฏวา คาของไคสแควรที่คํานวณไดเทากับ 0.57 ซ่ึงเมื่อเปรียบเทียบกับคาไคสแควรโดยใชระดับนยัสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชือ่มั่น 0.05 ในตารางจะเทากบั 5.99 แสดงวา คาไคสแควรที่คํานวณไดนอยกวาคาไคสแควรในตาราง หมายถึง ตัวแปรทั้งสองไมมีความสัมพันธกนัทางสถิติ ดังนั้นปจจยัทางดานสถานภาพสมรสไมมีความสัมพันธกบัการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําของประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษา หรือประชากรตําบลเมืองคองที่มีสถานภาพตางกันไมมีผลตอการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํา (ตารางที่ 21)

ตารางที่ 21 ความสัมพันธระหวางสถานภาพสมรสของประชากรเมืองคองท่ีศึกษากับการมีสวน

รวมในการอนรัุกษและจัดการปาตนน้ํา การมีสวนรวมอนุรักษและจัดการพื้นท่ีปาตนน้ํา สถานภาพสมรส

นอย ปานกลาง มาก รวม

สมรสแลวอยูดวยกัน 120 (44.4)

64 (23.7)

28 (10.4)

212 (78.5)

อ่ืนๆ ( โสด สมรสแลวแยกกันอยู หยาราง/มาย)

36 (13.3)

15 (5.6)

7 (2.6)

58 (21.5)

รวม 156 (57.7)

79 (29.3)

35 (13.0)

270 (100.0)

χ2 (คํานวณ) = 0.57NS χ2 (ตาราง) (0.05,2) = 5.99

Page 52: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

41

การวิเคราะหสถานภาพในครัวเรือน พบวา ประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษาที่มีสถานภาพในครัวเรือนเปนหัวหนาครวัเรือนจํานวนรอยละ 34.8 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํานอย รองลงมารอยละ 20.4 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําปานกลาง และรอยละ 10.0 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํามาก สวนประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษาที่มีสถานภาพในครัวเรือนเปนผูอาศัย (ภรรยา บุตร ญาต)ิจํานวนรอยละ 23.0 มีสวนรวมในการอนุรักษและจดัการปาตนน้ํานอย รองลงมารอยละ 8.8 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําปานกลาง และรอยละ 3.0 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํามาก

เมื่อวิเคราะหถึงความสัมพันธระหวางสถานภาพในครัวเรือนกับการมสีวนรวมในการ

อนุรักษและจดัการปาตนน้ําของประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษาโดยการทดสอบไคสวแควร (Chi-square Test) ปรากฏวา คาของไคสแควรที่คํานวณไดเทากับ 4.56 ซ่ึงเมื่อเปรียบเทยีบกับคาไคสแควรโดยใชระดับนยัสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 0.05 ในตารางจะเทากับ 5.99 แสดงวา คาไคสแควรที่คํานวณไดนอยกวาคาไคสแควรในตาราง หมายถึง ตัวแปรทั้งสองไมมีความสัมพันธกันทางสถิติ ดังนั้นปจจัยทางดานสถานภาพในครัวเรือนไมมีความสมัพันธกับการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํของประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษา หรือประชากรตําบลเมืองคองที่มีสถานภาพในครัวเรือนที่ตางกันไมมผีลตอการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํ (ตารางที่ 22)

ตารางที่ 22 ความสัมพันธระหวางสถานภาพในครัวเรือนของประชากรเมืองคองท่ีศึกษากับการมี

สวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํา การมีสวนรวมอนุรักษและจัดการพื้นท่ีปาตนน้ํา สถานภาพในครัวเรือน

นอย ปานกลาง มาก รวม

หัวหนาครัวเรือน 94 (34.8)

55 (20.4)

27 (10.0)

176 (65.2)

ผูอาศัย ( ภรรยา บุตร ญาติ)

62 (23.0)

24 (8.8)

8 (3.0)

94 (34.8)

รวม 156 (57.8)

79 (29.2)

35 (13.0)

270 (100.0)

χ2 (คํานวณ) = 4.56NS χ2 (ตาราง) (0.05,2) = 5.99

Page 53: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

42

การวิเคราะหระดับการศกึษา พบวา ประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษาทีไ่มไดเรียนหนงัสือจํานวนรอยละ 24.8 มีสวนรวมในการอนรัุกษและจัดการปาตนน้ํานอย รองลงมารอยละ 13.0 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํปานกลาง และรอยละ 4.1 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํามาก ประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษาที่มีระดับการศึกษาประถมศึกษาจํานวนรอยละ 25.9 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํานอย รองลงมารอยละ 11.5 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําปานกลาง และรอยละ 7.5 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํมาก และประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษาที่มีระดับการศึกษาสูงกวาประถมศึกษาจํานวนรอยละ 7.0 มีสวนรวมในการอนรัุกษและจัดการปาตนน้ํานอย รองลงมารอยละ 4.8 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํปานกลาง และรอยละ 1.5 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํามาก

เมื่อวิเคราะหถึงความสัมพันธระหวางระดบัการศึกษากับการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําของประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษาโดยการทดสอบไคสวแควร (Chi-square Test) ปรากฏวา คาของไคสแควรที่คํานวณไดเทากับ 3.63 ซ่ึงเมื่อเปรียบเทียบกับคาไคสแควรโดยใชระดับนยัสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชือ่มั่น 0.05 ในตารางจะเทากบั 9.49 แสดงวา คาไคสแควรที่คํานวณไดนอยกวาคาไคสแควรในตาราง หมายถึง ตัวแปรทั้งสองไมมีความสัมพันธกนัทางสถิติ ดังนั้นปจจยัทางดานระดับการศึกษาไมมีความสัมพันธกับการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําของประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษาหรือประชากรตําบลเมืองคองที่มีระดับการศึกษาที่ตางกันไมมีผลตอการมีสวนรวมในการอนุรักษและจดัการปาตนน้ํา(ตารางที่ 23)

ตารางที่ 23 ความสัมพันธระหวางระดับการศึกษาของประชากรเมืองคองท่ีศึกษากับการมีสวน

รวมในการอนรัุกษและจัดการปาตนน้ํา การมีสวนรวมอนุรักษและจัดการพื้นท่ีปาตนน้ํา ระดับการศึกษา

นอย ปานกลาง มาก รวม

ไมไดเรียนหนงัสือ 67 (24.8)

35 (13.0)

11 (4.1)

113 (41.9)

ประถมศึกษา

70 (25.9)

31 (11.5)

20 (7.4)

121 (44.8)

สูงกวาประถมศึกษา

19 (7.0)

13 (4.8)

4 (1.5)

536 (13.3)

รวม 156 (57.7)

79 (29.3)

35 (13.0)

270 (100.0)

χ2 (คํานวณ) = 3.63NS χ2 (ตาราง) (0.05,4) = 9.49

Page 54: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

43

การวิเคราะหอาชีพ พบวา ประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษาที่ประกอบอาชีพเกษตรกรจํานวนรอยละ 44.4 มีสวนรวมในการอนรัุกษและจัดการปาตนน้ํานอย รองลงมารอยละ 23.3 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําปานกลาง และรอยละ 8.2 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํามาก สวนประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษาที่ประกอบอาชีพอ่ืนๆไมใชเกษตรกรจํานวนรอยละ 13.3 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํานอย รองลงมารอยละ 6.0 มีสวนรวมในการอนุรักษและจดัการปาตนน้ําปานกลาง และรอยละ 4.8 มีสวนรวมในการอนุรักษและจดัการปาตนน้ํามาก

เมื่อวิเคราะหถึงความสัมพันธระหวาง อาชีพหลักกับการมีสวนรวมในการอนุรักษและ

จัดการปาตนน้าํของประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษา โดยการทดสอบไคสวแควร (Chi-square Test) ปรากฏวา คาของไคสแควรที่คํานวณไดเทากับ 3.99 ซ่ึงเมื่อเปรียบเทียบกบัคาไคสแควรโดยใชระดับนยัสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 0.05 ในตารางจะเทากับ 9.49 แสดงวา คาไคสแควรที่คํานวณไดนอยกวาคาไคสแควรในตาราง หมายถึงตัวแปรทั้งสองไมมีความสัมพนัธกันทางสถิติ ดังนั้นปจจยัทางดานอาชีพหลักไมมีความสัมพันธกับการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําของประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษา หรือประชากรตําบลเมืองคองที่มีอาชีพหลักที่ตางกันไมมีผลตอการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํา (ตารางที่ 24)

ตารางที่ 24 ความสัมพันธระหวางอาชีพหลักของประชากรเมืองคองท่ีศึกษากับการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํา

การมีสวนรวมอนุรักษและจัดการพื้นท่ีปาตนน้ํา อาชีพหลัก นอย ปานกลาง มาก

รวม

เกษตรกร 120 (44.4)

63 (23.3)

22 (8.2)

205 (75.9)

อาชีพอื่นๆไมใชเกษตรกร

36 (13.3)

16 (6.0)

13 (4.8)

65 (24.1)

รวม 156 (57.7)

79 (29.3)

35 (13.0)

270 (100.0)

χ2 (คํานวณ) = 3.99NS χ2 (ตาราง) (0.05,2) = 5.99

Page 55: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

44

การวิเคราะหปจจัยดานความรูความเขาใจเกี่ยวกับการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํา พบวา ประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษามีความรูความเขาใจเกีย่วกับการอนุรักษและจดัการปาตนน้ํานอยกวา 60% จํานวนรอยละ 5.5 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํานอย รองลงมารอยละ 2.2 มีสวนรวมในการอนุรักษและจดัการปาตนน้ํามาก และรอยละ 1.9 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําปานกลาง ประชากรตาํบลเมืองคองที่ศึกษามคีวามรูความเขาใจเกีย่วกับการอนุรักษและจดัการปาตนน้ํา 60 – 80 % จํานวนรอยละ 22.6 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํานอย รองลงมารอยละ 10.7 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําปานกลาง และรอยละ 5.2 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํามาก และประชากรตาํบลเมืองคองที่ศึกษามีความรูความเขาใจเกีย่วกับการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํามากกวา 80% จาํนวนรอยละ 29.6 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํานอย รองลงมารอยละ 16.7 มีสวนรวมในการอนุรักษและจดัการปาตนน้ําปานกลาง และรอยละ 5.6 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํามาก

เมื่อวิเคราะหถึงความสัมพันธระหวางมีความรูความเขาใจเกี่ยวกบัการอนุรักษและจดัการ

ปาตนน้ํากับการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําของประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษาโดยการทดสอบไคสวแควร (Chi-square Test) ปรากฏวาคาของไคสแควรที่คํานวณไดเทากับ 4.00 ซ่ึงเมื่อเปรียบเทียบกับคาไคสแควรโดยใชระดับนยัสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 0.05 ในตารางจะเทากบั 9.49 แสดงวา คาไคสแควรที่คํานวณไดนอยกวาคาไคสแควรในตาราง หมายถึง ตัวแปรทั้งสองไมมีความสัมพันธกันทางสถิติ ดังนั้นปจจัยทางดานมีความรูความเขาใจเกีย่วกับการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําไมมีความสมัพันธกับการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําของประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษา หรือประชากรตําบลเมืองคองที่มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําทีต่างกันไมมีผลตอการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํ (ตารางที่ 25)

Page 56: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

45

ตารางที่ 25 ความสัมพันธระหวางความรูความเขาใจเกี่ยวกับการอนรัุกษและจัดการปาตนน้ําของประชากรเมืองคองท่ีศึกษากบัการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํา

การมีสวนรวมอนุรักษและจัดการพื้นท่ีปาตนน้ํา ความรูความเขาใจเกี่ยวกับการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํา นอย ปานกลาง มาก

รวม

60% (คะแนนนอยกวา 9 คะแนน)

15 (5.5)

5 (1.9)

6 (2.2)

26 (9.6)

60 – 80 % (คะแนน 9 – 12 คะแนน)

61 (22.6)

29 (10.7)

14 (5.2)

104 (38.5)

มากกวา 80% (คะแนนมากกวา 12 คะแนน)

80 (29.6)

45 (16.7)

15 (5.6)

140 (51.9)

รวม 156 (57.7)

79 (29.3)

35 (13.0)

270 (100.0)

χ2 (คํานวณ) = 4.00NS χ2 (ตาราง) (0.05,4) = 9.49

การวิเคราะหปจจัยดานรายได พบวา ประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษาที่มีรายไดไมเกิน 10,000 บาทจํานวนรอยละ 31.5 มีสวนรวมในการอนุรักษและจดัการปาตนน้ํานอย รองลงมารอยละ 13.7 มีสวนรวมในการอนุรักษและจดัการปาตนน้ําปานกลาง และรอยละ 6.7 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํามาก ประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษาทีม่ีรายได 10,001 – 30,000 บาทจํานวนรอยละ 17.7 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํานอย รองลงมารอยละ 12.6 มีสวนรวมในการอนุรักษและจดัการปาตนน้ําปานกลาง และรอยละ 3.0 มีสวนรวมในการอนุรักษและจดัการปาตนน้ํามาก และประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษาที่มีรายไดมากกวา 30,000 บาทจํานวนรอยละ 8.5 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํานอย รองลงมารอยละ 3.3 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํนอย และรอยละ 3.0 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํปานกลาง

เมื่อวิเคราะหถึงความสัมพันธระหวางรายไดของครัวเรือนกับการมีสวนรวมในการ

อนุรักษและจดัการปาตนน้ําของประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษาโดยการทดสอบไคสวแควร (Chi-square Test) ปรากฏวา คาของไคสแควรที่คํานวณไดเทากับ 8.27 ซ่ึงเมื่อเปรียบเทียบกับคาไคสแควรโดยใชระดับนยัสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 0.05 ในตารางจะเทากับ 9.49 แสดงวา คาไคสแควรที่คํานวณไดนอยกวาคาไคสแควรในตาราง หมายถึง ตัวแปรทั้งสองไมมีความสัมพันธกันทางสถิต ิ ดังนัน้ปจจยัทางดานรายไดของครัวเรือนไมมีความสมัพันธกับการมี

Page 57: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

46

สวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํของประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษา หรือประชากรตําบลเมืองคองที่มีรายไดของครัวเรือนที่ตางกันไมมีผลตอการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํ (ตารางที่ 26) ตารางที่ 26 ความสัมพนัธระหวางรายไดของครัวเรือนของประชากรเมืองคองท่ีศึกษากับการมี

สวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํา การมีสวนรวมอนุรักษและจัดการพื้นท่ีปาตนน้ํา รายไดของครวัเรือน

นอย ปานกลาง มาก รวม

รายไดไมเกิน 10,000 บาท 85 (31.5)

37 (13.7)

18 (6.7)

140 (51.9)

รายได 10,001 – 30,000 บาท 48 (17.7)

34 (12.6)

8 (3.0)

90 (33.3)

รายไดมากกวา 30,000 บาท

23 (8.5)

8 (3.0)

9 (3.3)

40 (14.8)

รวม 156 (57.7)

79 (29.3)

35 (13.0)

270 (100.0)

χ2 (คํานวณ) = 8.27NS χ2 (ตาราง) (0.05,4) = 9.49

การวิเคราะหปจจัยจํานวนสมาชิกในครัวเรือน พบวา ประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษาที่มีสมาชิกในครัวเรือนนอยกวาหรือเทากับ 3 คนจํานวนรอยละ 12.2 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํนอย รองลงมารอยละ 6.7 มีสวนรวมในการอนุรักษและจดัการปาตนน้ําปานกลาง และรอยละ 5.6 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํมาก ประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษาทีม่ีสมาชิดในครัวเรือน 4 – 6 คนจํานวนรอยละ 35.2 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํนอย รองลงมารอยละ 18.1 มีสวนรวมในการอนุรักษและจดัการปาตนน้ําปานกลาง และรอยละ 5.9 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํมาก และประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษาที่มีสมาชิกมากกวาหรือเทากับ 7 คนขึ้นไปจํานวนรอยละ 10.4 มีสวนรวมในการอนุรักษและจดัการปาตนน้ํานอย รองลงมารอยละ 4.4 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํานอย และรอยละ 1.5 มีสวนรวมในการอนุรักษและจดัการปาตนน้ําปานกลาง

เมื่อวิเคราะหถึงความสัมพันธระหวางจํานวนสมาชิกในครัวเรือนกับการมีสวนรวมในการ

อนุรักษและจดัการปาตนน้ําของประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษาโดยการทดสอบไคสวแควร (Chi-square Test) ปรากฏวา คาของไคสแควรที่คํานวณไดเทากับ 7.72 ซ่ึงเมื่อเปรียบเทียบกับคาไคสแควรโดยใชระดับนยัสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 0.05 ในตารางจะเทากับ 9.49 แสดงวา

Page 58: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

47

คาไคสแควรที่คํานวณไดนอยกวาคาไคสแควรในตาราง หมายถึง ตัวแปรทั้งสองไมมีความสัมพันธกันทางสถิติ ดังนั้นปจจยัทางดานจํานวนสมาชิกในครัวเรือนไมมีความสัมพันธกบัการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําของประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษา หรือประชากรตําบลเมืองคองที่มีจํานวนสมาชิกในครัวเรือนตางกันไมมีผลตอการมีสวนรวมในการอนุรักษและจดัการปาตนน้ํา (ตารางที่ 27)

ตารางที่ 27 ความสัมพันธระหวางจํานวนสมาชิกในครัวเรือนของประชากรเมืองคองท่ีศึกษากบัการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํา

การมีสวนรวมอนุรักษและจัดการพื้นท่ีปาตนน้ํา จํานวนสมาชกิในครัวเรือน นอย ปานกลาง มาก

รวม

นอยกวาหรือเทากับ 3 คน 33 (12.2)

18 (6.7)

15 (5.6)

66 (24.5)

4 – 6 คน 95 (35.2)

49 (18.1)

16 (5.9)

160 (59.2)

มากกวาหรือเทากับ 7 คนขึน้ไป 28 (10.4)

12 (4.4)

4 (1.5)

44 (16.3)

รวม 156 (57.8)

79 (29.2)

35 (13.0)

270 (100.0)

χ2 (คํานวณ) = 7.72NS χ2 (ตาราง) (0.05,4) = 9.49

การวิเคราะหปจจัยดานจํานวนแรงงานในครัวเรือน พบวา ประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษาที่มีจํานวนแรงงานในครัวเรือนนอยกวาหรือเทากับ 3 คน จํานวนรอยละ 29.6 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํานอย รองลงมารอยละ 17.0 มีสวนรวมในการอนุรักษและจดัการปาตนน้ําปานกลาง และรอยละ 7.4 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํามาก สวนประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษาที่มีจํานวนแรงงานในครัวเรือนมากกวา 3 คนขึ้นไป จํานวนรอยละ 28.1 มีสวนรวมในการอนุรักษและจดัการปาตนน้ํานอย รองลงมารอยละ 12.2 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําปานกลาง และรอยละ 5.6 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํามาก

เมื่อวิเคราะหถึงความสัมพันธระหวางจํานวนแรงงานในครัวเรือนกับการมีสวนรวมใน

การอนุรักษและจัดการปาตนน้ําของประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษาโดยการทดสอบไคสวแควร (Chi-square Test) ปรากฏวา คาของไคสแควรที่คํานวณไดเทากับ 1.17 ซ่ึงเมื่อเปรียบเทียบกับคา

Page 59: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

48

ไคสแควรโดยใชระดับนยัสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชือ่มั่น 0.05 ในตารางจะเทากบั 5.99 แสดงวาคาไคสแควรที่คํานวณไดนอยกวาคาไคสแควรในตาราง หมายถึง ตัวแปรทั้งสองไมมีความสัมพันธกันทางสถิติ ดังนั้นปจจยัทางดานจํานวนแรงงานในครัวเรือนไมมีความสัมพันธกบัการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําของประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษา หรือประชากรตําบลเมืองคองที่มีจํานวนแรงงานในครัวเรือนที่ตางกันไมมผีลตอการมีสวนรวมในการอนุรักษและจดัการปาตนน้ํา (ตารางที่ 28)

ตารางที่ 28 ความสัมพันธระหวางจํานวนแรงงานในครัวเรือนของประชากรเมืองคองท่ีศึกษากบั

การมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํา การมีสวนรวมอนุรักษและจัดการพื้นท่ีปาตนน้ํา จํานวนแรงงานในครัวเรือน

นอย ปานกลาง มาก รวม

นอยกวาหรือเทากับ 3 คน 80 (29.6)

46 (17.0)

20 (7.4)

146 (54.1)

มากกวา 3 คนขึ้นไป 76 (28.1)

33 (12.2)

15 (5.6)

124 (45.9)

รวม 156 (57.7)

79 (29.3)

35 (13.0)

270 (100.0)

χ2 (คํานวณ) = 1.17NS χ2 (ตาราง) (0.05,2) = 5.99

การวิเคราะหปจจัยการครอบครองที่ดิน พบวา ประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษาที่ไมมีที่ดินทําการเกษตร จํานวนรอยละ 11.9 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํานอย รองลงมารอยละ 7.4 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําปานกลาง และรอยละ 4.8 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํมาก สวนประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษาที่มีที่ดินทําการเกษตร จํานวนรอยละ 45.9 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํานอย รองลงมารอยละ 21.9 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําปานกลาง และรอยละ 8.1 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํามาก

เมื่อวิเคราะหถึงความสัมพันธระหวางการครอบครองที่ดินกับการมีสวนรวมในการ

อนุรักษและจดัการปาตนน้ําของประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษาโดยการทดสอบไคสวแควร (Chi-square Test) ปรากฏวา คาของไคสแควรที่คํานวณไดเทากับ 4.42 ซ่ึงเมื่อเปรียบเทยีบกับคาไคสแควรโดยใชระดับนยัสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 0.05 ในตารางจะเทากับ 5.99 แสดงวา คาไคสแควรที่คํานวณไดนอยกวาคาไคสแควรในตาราง หมายถึง ตัวแปรทั้งสองไมมี

Page 60: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

49

ความสัมพันธกันทางสถิติ ดังนั้นปจจัยทางดานการครอบครองที่ดินไมมีความสมัพันธกับการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํของประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษา หรือประชากรตําบลเมืองคองที่มีการครอบครองที่ดินที่ตางกันไมมีผลตอการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํ (ตารางที่ 29)

ตารางที่ 29 ความสัมพนัธระหวางการครอบครองทีด่ินของประชากรเมืองคองท่ีศึกษากับการมี

สวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํา การมีสวนรวมอนุรักษและจัดการพื้นท่ีปาตนน้ํา การครอบครองที่ดิน

นอย ปานกลาง มาก รวม

ไมมีท่ีดินทําการเกษตร 32 (11.9)

20 (7.4)

13 (4.8)

65 (24.1)

มีท่ีดินทําการเกษตร 124 (45.9)

59 (21.9)

22 (8.1)

205 (75.9)

รวม 156 (57.8)

79 (29.3)

35 (12.9)

270 (100.0)

χ2 (คํานวณ) = 4.42NS χ2 (ตาราง) (0.05,2) = 5.99

การวิเคราะหปจจัยการพบปะเจาหนาที ่ พบวา ประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษาที่ไมเคยติดตอพบปะกบัเจาหนาที่ จํานวนรอยละ 37.4 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํานอย รองลงมารอยละ 13.3 มีสวนรวมในการอนุรักษและจดัการปาตนน้ําปานกลาง และรอยละ 3.4 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํามาก สวนประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษาที่เคยติดตอพบปะกบัเจาหนาที่ จํานวนรอยละ 20.4 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํานอย รองลงมารอยละ 15.9 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําปานกลาง และรอยละ 9.6 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํมาก

เมื่อวิเคราะหถึงความสัมพันธระหวางการติดตอกับเจาหนาที่ กับการมีสวนรวมในการ

อนุรักษและจดัการปาตนน้ําของประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษาโดยการทดสอบไคสวแควร (Chi-square Test) ปรากฏวา คาของไคสแควรที่คํานวณไดเทากับ 20.79 ซ่ึงเมื่อเปรียบเทียบกับคาไคสแควรโดยใชระดับนยัสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 0.05 ในตารางจะเทากับ 5.99 แสดงวา คาไคสแควรที่คํานวณไดมากกวาคาไคสแควรในตาราง หมายถึง ตัวแปรทั้งสองมีความสัมพันธกนัทางสถิติ ดังนั้นปจจัยทางดานการติดตอกับเจาหนาที่ มีความสัมพันธกับการมสีวนรวมในการ

Page 61: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

50

อนุรักษและจดัการปาตนน้ําของประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษา หรือประชากรตําบลเมืองคองที่มีการติดตอกับเจาหนาที่ มีผลตอการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํา (ตารางที่ 30)

ตารางที่ 30 ความสัมพันธระหวางการติดตอกับเจาหนาท่ีของประชากรเมืองคองท่ีศึกษากับการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํา

การมีสวนรวมอนุรักษและจัดการพื้นท่ีปาตนน้ํา การติดตอกับเจาหนาท่ี นอย ปานกลาง มาก

รวม

ไมเคย 101 (37.4)

36 (13.3)

9 (3.4)

146 (54.1)

เคย 55 (20.4)

43 (15.9)

26 (9.6)

124 (45.9)

รวม 156 (57.8)

79 (29.2)

35 (13.0)

270 (100.0)

χ2 (คํานวณ) = 20.79* χ2 (ตาราง) (0.05,2) = 5.99

การวิเคราะหปจจัยการรับรูขาวสาร พบวา ประชากรตาํบลเมืองคองที่ศึกษาที่รับขาวสารนอยกวาหรือเทากับ 2 คร้ังตอเดือน จํานวนรอยละ 53.3 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํานอย รองลงมารอยละ 25.6 มีสวนรวมในการอนรัุกษและจัดการปาตนน้ําปานกลาง และรอยละ 10.0 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํามาก สวนประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษาที่รับขาวสารมากกวา 2 คร้ังตอเดือน จํานวนรอยละ 4.4 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํนอย รองลงมารอยละ 3.7 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําปานกลาง และรอยละ 3.0 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํามาก

เมื่อวิเคราะหถึงความสัมพันธระหวางการรับขาวสาร กับการมสีวนรวมในการอนุรักษ

และจัดการปาตนน้ําของประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษาโดยการทดสอบไคสวแควร (Chi-square Test) ปรากฏวา คาของไคสแควรที่คํานวณไดเทากับ 6.93 ซ่ึงเมื่อเปรียบเทียบกับคาไคสแควรโดยใชระดับนยัสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชือ่มั่น 0.05 ในตารางจะเทากับ 5.99 แสดงวา คาไคสแควรที่คํานวณไดมากกวาคาไคสแควรในตาราง หมายถึง ตัวแปรทัง้สองมีความสัมพันธกนัทางสถิติ ดังนัน้ปจจยัทางดานการรับขาวสาร มีความสัมพันธกับการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํของประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษา หรือประชากรตําบลเมืองคองที่มีการรับขาวสาร มีผลตอการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํา (ตารางที่ 31 )

Page 62: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

51

ตารางที่ 31 ความสัมพันธระหวางการรับขาวสารของประชากรเมืองคองท่ีศึกษากบัการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํา

การมีสวนรวมอนุรักษและจัดการพื้นท่ีปาตนน้ํา การรับขาวสาร นอย ปานกลาง มาก

รวม

นอยกวาหรือเทากับ 2 คร้ัง/เดือน 144 (53.3)

69 (25.6)

27 (10.0)

240 (88.9)

มากกวา 2 คร้ัง/เดือน 12 (4.4)

10 (3.7)

8 (3.0)

30 (11.1)

รวม 156 (57.7)

79 (29.3)

35 (13.0)

270 (100.0)

χ2 (คํานวณ) = 6.93* χ2 (ตาราง) (0.05,2) = 5.99

การวิเคราะหปจจัยการเขารับการฝกอบรม พบวา ประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษาที่ไมเคยไดรับการฝกอบรมจํานวนรอยละ 41.9 มีสวนรวมในการอนรัุกษและจัดการปาตนน้ํานอย รองลงมารอยละ 17.0 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําปานกลาง และรอยละ 1.9 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํมาก สวนประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษาเคยไดรับการฝกอบรม จํานวนรอยละ 15.9 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํานอย รองลงมารอยละ 12.2 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําปานกลาง และรอยละ 11.1 มีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํามาก

เมื่อวิเคราะหถึงความสัมพันธระหวางการฝกอบรมกับการมีสวนรวมในการอนุรักษและ

จัดการปาตนน้าํของประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษาโดยการทดสอบไคสวแควร (Chi-square Test) ปรากฏวา คาของไคสแควรที่คํานวณไดเทากับ 40.83 ซ่ึงเมื่อเปรียบเทียบกับคาไคสแควรโดยใชระดับนยัสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 0.05 ในตารางจะเทากับ 5.99 แสดงวา คาไคสแควรที่คํานวณไดมากกวาคาไคสแควรในตาราง หมายถึง ตัวแปรทั้งสองมีความสัมพันธกนัทางสถิติ ดังนั้นปจจยัทางดานการฝกอบรม มีความสัมพันธกับการมสีวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํของประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษา หรือประชากรตําบลเมืองคองที่เคยไดรับการฝกอบรมและไมเคยไดรับการฝกอบรม มีผลตอการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํ (ตารางที่ 32 )

Page 63: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

52

ตารางที่ 32 ความสัมพันธระหวางการฝกอบรมของประชากรเมืองคองท่ีศึกษากบัการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํา

การมีสวนรวมอนุรักษและจัดการพื้นท่ีปาตนน้ํา การฝกอบรม นอย ปานกลาง มาก

รวม

ไมเคย 113 (41.9)

46 (17.0)

5 (1.9)

164 (60.8)

เคย 43 (15.9)

33 (12.2)

30 (11.1)

106 (39.2)

รวม 156 (57.8)

79 (29.2)

35 (13.0)

270 (100.0)

χ2 (คํานวณ) = 40.83* χ2 (ตาราง) (0.05,2) = 5.99

Page 64: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

53

ตารางที่ 33 สรุปความสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระกบัการมีสวนรวมอนุรักษและจัดการพื้นท่ีปา ตนน้าํ

ตัวแปร คาทดสอบไคสแควร(χ2 คํานวณ) χ2 ตาราง เพศ 2.31NS 5.99 (0.05,2) อายุ 4.75NS 5.99 (0.05,2) สถานภาพสมรส 0.57NS 5.99 (0.05,2) สถานภาพในครัวเรือน 4.56NS 5.99 (0.05,2) การศึกษา 3.63NS 9.49(0.05,4) อาชีพ 3.99NS 5.99 (0.05,2) ความรูความเขาใจเกีย่วกับการอนุรักษและจดัการพื้นที่ปาตนน้ํา

4.00NS 9.49(0.05,4)

รายไดของครัวเรือน 8.27NS 9.49(0.05,4) จํานวนสมาชิกในครัวเรือน 7.72NS 9.49(0.05,4) จํานวนแรงงานในครัวเรือน 1.17NS 5.99 (0.05,2) การครอบครองที่ดิน 4.42NS 5.99 (0.05,2) การติดตอกับเจาหนาที ่ 20.79* 5.99 (0.05,2) การรับขาวสาร 6.93* 5.99 (0.05,2) การฝกอบรมเกี่ยวกับการอนุรักษและจดัการพื้นที่ปาตนน้ํา

40.83* 5.99 (0.05,2)

Page 65: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

54

ตอนที่ 5 ปญหา อุปสรรคและขอเสนอแนะเกี่ยวกับการมีสวนรวมในการอนุรักษ และจัดการ พื้นท่ีปาตนน้ํา

ปญหา และอุปสรรคเกี่ยวกับการมีสวนรวมในการอนุรักษ และจัดการพื้นท่ีปาตนน้าํ การวิเคราะหเปรียบเทียบความรุนแรงของปญหาและอุปสรรคกับเกณฑที่กําหนดไว โดยมีการกําหนดคาคะแนนตามระดับความถีข่องความรุนแรงของปญหาดังนี ้ มีปญหามาก = 3 คะแนน มีปญหาปานกลาง = 2 คะแนน มีปญหานอย = 1 คะแนน จากนั้นนําขอมูลที่ผูใหขอมูลระบุมาคํานวณน้ําหนักคาเฉลี่ยในแตละประเด็นโดยมเีกณฑคะแนนเฉลี่ยดงันี้ ชวงคะแนน ระดับความถี่ของความรุนแรงของปญหาและอุปสรรค 2.35 - 3.00 มีปญหามาก 1.68 - 2.34 มีปญหาปานกลาง 1.00 - 1.67 มีปญหานอย การวิเคราะหพบวา ความรุนแรงของปญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นในการมีสวนรวมตอการอนุรักษและจัดการพื้นทีป่าตนน้ําของประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษาอยูในระดบัปานกลาง (มีคาเฉลี่ยเทากับ 1.91 ) โดยเมื่อพิจารณาแยกเปนประเด็นตางๆพบวา

• ปญหาการมีสวนรวมประชมุวางแผนโครงการอนุรักษพืน้ที่ปาตนน้ําสวนใหญรอยละ 48.5 มีปญหาปานกลาง รอยละ 35.2 มีปญหานอย และรอยละ 16.3 มีปญหามาก

• ปญหาการไดรับการยอมรับทางความคิดสวนใหญรอยละ 60.0 มีปญหาปานกลาง รอยละ 35.9 มีปญหามาก และรอยละ 4.1 มีปญหานอย

• ปญหาการปองกันและรกัษาปาตนน้ําสวนใหญรอยละ 47.4 มีปญหาปานกลาง รอยละ 30.4 มีปญหามาก และ รอยละ 22.2 มีปญหานอย

• ปญหาการปลูกปาตนน้ํา สวนใหญรอยละ 47.0 มีปญหาปานกลาง รอยละ 33.4 มีปญหานอย และรอยละ 19.6 มีปญหามาก

• ปญหาการบํารุงรักษาปาตนน้าํ สวนใหญรอยละ 49.6 มีปญหาปานกลาง รอยละ 29.3 มีปญหานอย และรอยละ 21.1 มีปญหามาก

• ปญหาการกอสรางฝายตนน้าํสวนใหญรอยละ 35.2 มีปญหานอย รอยละ 32.6 มีปญหามาก และรอยละ 32.2 มีปญหาปานกลาง

Page 66: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

55

• ปญหาการประชาสัมพันธสวนใหญรอยละ 47.8 มีปญหาปานกลาง รอยละ 37.0 มีปญหานอย และรอยละ 15.2 มีปญหามาก

• ปญหาการติดตอประสานงานกับหนวยงานหรือเจาหนาที่สวนใหญรอยละ 44.0 มีปญหาปานกลาง รอยละ 33.0 มีปญหานอย และรอยละ 23.0 มีปญหามาก

• ปญหาการใชประโยชนพืน้ที่ตนน้ํา เชน การปลูกพืช เล้ียงสัตวสวนใหญรอยละ 48.1 มีปญหาปานกลาง รอยละ 32.6 มีปญหามาก และรอยละ 19.3 มีปญหานอย

• ปญหาการมีสวนรวมตดิตามประเมินผลสวนใหญรอยละ 43.3 มีปญหาปานกลาง รอยละ33.0 มีปญหานอย และรอยละ 23.7 มีปญหามาก

ขอเสนอแนะและแนวทางแกไข

จากการศึกษากลุมตัวอยางของประชากรตาํบลเมืองคอง ในเรื่องขอเสนอแนะ และแนวทางแกไขในการอนุรักษและจัดการพื้นที่ปาตนน้ํา พบวา ในสวนของหนวยงานรฐั สวนใหญขอใหทางหนวยงานชวยสนบัสนุนงบประมาณในการทําแนวกันไฟ การสรางฝายน้ําลน การรักษาพื้นที่ปาตนน้ํา และการปลูกปาทดแทนในพื้นที่ที่ถูกทําลาย และในสวนของประชาชนในตําบลเมืองคอง ขอใหจัดตั้งกลุม ตัง้กฎ กติกา เพือ่ดูแลรักษาปาตนน้ําและ หามคนในชุมชนตัดตนไมในบริเวณพืน้ที่ตนน้ํา โดยรอยละ 27.18 เห็นวาหนวยงานที่เกี่ยวของควรจัดสงเจาหนาที่เขามาเปนประจําเพื่อใหความรูเกี่ยวกบัการดแูลรักษาพื้นที่ปาตนน้าํตามหมูบานตางๆ พรอมทั้งปลูกจิตสํานกึใหรักและหวงแหนในทรัพยากรที่มีอยู และรอยละ 21.11 เห็นวาควรหามตัดตนไมในบริเวณพื้นที่ตนน้ํา และทําการปลูกปาทดแทนในสวนที่ถูกทําลายตอไป

Page 67: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

56

ตารางที่ 34 ปญหา และอุปสรรคตอการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการพื้นท่ีปาตนน้ํา N = 270

ระดับการมีสวนรวม กิจกรรม มาก ปานกลาง นอย X

SD

แปล ผล

1.ปญหาประชมุวางแผนโครงการอนุรักษพื้นที่ปาตนน้ํา 2.ปญหาการไดรับการยอมรบัทางความคิด 3.ปญหาการปองกันและรกัษาปาตนน้ํา 4.ปญหาการปลูกปาตนน้ํา 5.ปญหาการบาํรุงรักษาปาตนน้ํา 6.ปญหาการกอสรางฝายตนน้ํา 7.ปญหาการประชาสัมพันธ 8.ปญหาการตดิตอประสานงานกับหนวยงานหรือเจาหนาที ่9.ปญหาการใชประโยชนพืน้ที่ตนน้ํา 10.ปญหาการมีสวนรวมติดตามประเมินผล

44 (16.3)

11 (4.1) 82

(30.4) 53

(19.6) 57

(21.1) 88

(32.6) 41

(15.2) 62

(23.0) 88

(32.6) 64

(23.7)

131 (48.5) 162

(60.0) 128

(47.4) 127

(47.0) 134

(49.6) 87

(32.2) 129

(47.8) 119

(44.0) 130

(48.1) 117

(43.3)

95 (35.2)

97 (35.9)

60 (22.2)

90 (33.4)

79 (29.3)

95 (35.2) 100

(37.0) 89

(33.0) 52

(19.3) 89

(33.0)

1.81

1.68

2.08

1.86

1.92

1.97

1.78

1.90

2.13

1.91

0.69

0.55

0.72

0.72

0.71

0.82

0.69

0.74

0.71

0.75

ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง

X = 1.91 SD = 0.42 แปลผล = มีปญหาปานกลาง

Page 68: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

57

ตารางที่ 35 ขอเสนอแนะ และแนวทางแกไขในการอนรัุกษและจัดการพื้นท่ีปาตนน้าํ ขอเสนอแนะ และแนวทางแกไข จํานวนคน รอยละ

1.หามตัดตนไมบริเวณพื้นทีต่นน้ํา และทําการปลูกปาทดแทนในพืน้ที่ที่ถูกทําลายไป 2.จัดตั้งกลุมเพือ่รวมกันดแูลรักษาปาตนน้ํา จัดตั้งกฎขอบังคับเพื่อใหชาวบานปฏิบตัิตามในเรื่องของการอนุรักษ และจดัการพื้นที่ปาตนน้ํา 3.ใหหนวยงานของทางราชการทําการสํารวจจัดแบงเขตพื้นที่ในการทําการเกษตร เขตปาอนุรักษ ปาใชสอยใหชัดเจน และหามเกษตรกรชาวเขาที่อาศัยอยูบริเวณพืน้ที่ปาตนน้ําแผวถางปาเพื่อทําการเกษตร (ทําไรเล่ือนลอย) 4.ใหหนวยงานที่เกี่ยวของจดัสงเจาหนาทีเ่ขามาใหความรูเกี่ยวกับการดูแลรักษาพื้นที่ปาตนน้ําตามหมบูานตางๆ พรอมทั้งปลูกจิตสํานึกใหรักและหวงแหนในทรัพยากรที่มีอยู ช้ีใหเห็นถึงผลกระทบที่เกดิขึ้นจากการตดัไมทําลายปา และขอใหเจาหนาที่เขามาดแูลคอยใหคําแนะนําอยูเปนประจํา เพราะปจจุบันไมเคยมีเจาหนาที่เขามาใหความรูและคําแนะนําเลย 5.ขอใหทางราชการชวยสนบัสนุนงบประมาณ และอปุกรณในการจัดทําแนวกันไฟ พรอมทั้งสงเจาหนาที่มารวมกับชาวบานในการจัดทําแนวกันไฟ และคอยสอดสองดูแลไมใหมีคนจุดไฟเผาปา 6.จัดสรรโครงการและชวยสนับสนุนใหชาวบานมีรายไดเพียงพอตอการยังชีพจะทําใหลดการบุกรุกทําลายปาลง สนับสนุนใหชาวบานใชพื้นทีท่ี่มีอยูอยางคุมคา 7.อยากใหทางราชการชวยจดัสรรงบประมาณขึ้นมาเพื่อสรางฝายน้ําลนชาวบานจะไดไมตองตัดไมทําลายปา เพราะในการทาํฝายแตละปตองใชตนไมจํานวนมาก 8.อยากใหเจาหนาที่ไดเขามามีบทบาทมากกวานี ้ และในการติดตอประสานงานกบัเจาหนาทีไ่มสะดวก และเจาหนาที่บางหนวยงานไมใหความสนใจในการแกไขปญหาของชาวบาน

80

29

58

103

47

26

27 9

21.11

7.65

15.30

27.18

12.40

6.86

7.13

2.37

รวม 379 100.0 หมายเหตุ ประชากรแตละรายอาจมหีรือไมมีขอเสนอแนะและแนวทางการแกไขเพิ่มเติม และ

สามารถเสนอแนะไดมากกวา 1 ขอ

Page 69: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

บทท่ี 5 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผลและขอเสนอแนะ

สรุปผลการวิจัย การศึกษาวิจยัครั้งนี้เปนการศึกษาวจิัยถึงการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําของชุมชนตําบลเมืองคอง อําเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม โดยมีวัตถุประสงค 1.เพื่อศึกษาถึงการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําของชุมชนตําบลเมืองคอง อําเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม 2.เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางลักษณะสวนบุคคล ปจจัยทางเศรษฐกิจและสังคมของประชากรในตาํบลเมืองคอง อําเภอเชียงดาว จังหวดัเชียงใหมกับการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํา 3.เพื่อศึกษาปญหาอุปสรรคและขอเสนอแนะที่มีตอการอนุรักษและจดัการปาตนน้ําของชุมชนตําบลเมืองคอง อําเภอเชียงดาว จังหวัดเชยีงใหม กลุมประชากรที่ศึกษาเปนประชากรที่อาศัยอยูภายในตําบลเมืองคอง อําเภอเชียงดาว จังหวดัเชยีงใหมทั้ง 6 หมูบาน จํานวน 270 คน ซ่ึงไดมาจากการสุมตัวอยางจากประชากรทั้งหมด 3,954 คน โดยเครื่องมือที่ใชในการศึกษาวจิัยเปนแบบสอบถามที่สรางขึ้นเพื่อนําไปสอบถามประชากรตําบลเมืองคอง สําหรับการวิเคราะหขอมูลทั่วไปทางดานลักษณะพื้นฐานสวนบุคคล เศรษฐกิจและสังคม ใชคารอยละ คาเฉลี่ย และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบสมมติฐานใชคาไคสแควร (Chi-Square Test) ซ่ึงผลการวิจัยสามารถสรุปไดดังนี ้ ขอมูลท่ัวไปทางดานลักษณะพื้นฐานสวนบุคคล เศรษฐกิจและสังคม จากการศึกษาพบวา ประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษาสวนใหญเปนเพศชาย มีอายุระหวาง 36-50 ป มีสถานภาพสมรสแลวอยูดวยกัน สวนสถานภาพในครัวเรือนสวนใหญเปนหัวหนาครัวเรือน มีระดับการศึกษาอยูในระดับประถมศึกษา มีอาชีพหลักเปนเกษตรกร มีสมาชิกในครัวเรือนจาํนวน 4-6 คน จํานวนแรงงานในภาคการเกษตรและแรงงานนอกภาคการเกษตรมีจํานวนนอยกวาหรือเทากับ 3 คน สวนใหญมีรายไดจากการประกอบอาชีพต่ํากวา 10,000 บาท ที่ดินทําการเกษตรสวนใหญมีเอกสารสิทธิ์ ประชากรตําบลเมืองคองสวนใหญไมเคยมีการติดตอกับเจาหนาที่สงเสริมจากหนวยจดัการตนน้าํ และไมเคยไดรับการฝกอบรมเกี่ยวกบัการอนุรักษและจัดการพื้นที่ปาตนน้ํา การไดรับขาวสารดานการอนรัุกษและจัดการพื้นที่ปาตนน้าํอยูในระดับ

Page 70: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

59

นอย สวนในเรื่องความรูความเขาใจเกีย่วกับการอนุรักษและจดัการปาตนน้ํา สวนใหญมีความรูความเขาใจ โดยมีผูไดคะแนนสูงสุด 15 คะแนน และมีคะแนนเฉลี่ย 12.00 คะแนน (80%) ขอมูลในดานการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําของประชากรตําบลเมืองคองที่ทําการศึกษาพบวา ประชากรตําบลเมืองคองที่ศึกษาสวนใหญมสีวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํอยูในระดับนอย (คาเฉลี่ยเทากับ 1.45) ในทุกกิจกรรม

สรุปผลการทดสอบสมมติฐาน จากการวิเคราะหความสัมพันธระหวางปจจัยพื้นฐานสวนบุคคล เศรษฐกิจและสังคมกับการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํา ผลการทดสอบสมมติฐานเพื่อหาความสัมพันธของตัวแปรอสิระที่มีผลตอตัวแปรตามสรปุผลการศึกษาไดดังนี ้ การติดตอกับเจาหนาที ่ การรับขาวสารและการฝกอบรมเกี่ยวกับการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํามีความสัมพันธกับการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํา อยางมนีัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 0.05 สําหรับเพศ อายุ สถานภาพสมรส สถานภาพในครัวเรือน การศึกษา อาชีพ ความรูความเขาใจเกีย่วกับการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํา รายไดของครัวเรือน จํานวนสมาชิกในครัวเรือนและลักษณะการถอืครองที่ดินทําการเกษตร ไมมีความสัมพันธกับการมสีวนรวมในการอนุรักษและจดัการปาตนน้ํา

ปญหา อุปสรรคของประชากรตําบลเมืองคองท่ีศึกษาตอการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํา

จากผลการวิจยัสรุปปญหาที่พบไดดังนี ้ คือปญหาการมีสวนรวมประชุมวางแผนโครงการอนุรักษพืน้ทีป่าตนน้ํา ปญหาการไดรับการยอมรับทางความคิด ปญหาการปองกันและรกัษาปาตนน้ํา ปญหาการปลูกปาตนน้ํา ปญหาการบํารุงรักษาปาตนน้ํา ปญหาการกอสรางฝายตนน้าํ ปญหาการประชาสัมพันธ ปญหาการติดตอประสานงานกับหนวยงานหรือเจาหนาที่ ปญหาการใชประโยชนพื้นที่ตนน้ํา เชน การปลูกพืช เล้ียงสัตว ปญหาการมีสวนรวมติดตามประเมินผล มีปญหาอยูในระดับปานกลาง (คาเฉลี่ยเทากบั 1.91) ขอเสนอแนะและแนวทางแกไข ประชากรตําบลเมืองคองมีขอเสนอแนะและแนวทางแกไขในการอนุรักษและจดัการพืน้ที่ปาตนน้ํา รอยละ 27.18 เห็นวาหนวยงานที่เกี่ยวของควรจัดสงเจาหนาที่เขามาเปนประจาํเพื่อใหความรูเกี่ยวกบัการดูแลรักษาพื้นที่ปาตนน้าํตามหมูบานตางๆ พรอมทั้งปลูกจิตสํานึกใหรักและ

Page 71: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

60

หวงแหนในทรัพยากรที่มีอยู ตลอดทั้งใหหนวยงานรฐัชวยสนับสนนุงบประมาณในการทําแนวกันไฟ การสรางฝายน้ําลน การรักษาพืน้ที่ปาตนน้ํา และการปลูกปาทดแทนในพืน้ที่ที่ถูกทําลาย และรอยละ 21.11 เห็นวาควรหามตัดตนไมในบริเวณพื้นที่ตนน้ํา และทําการปลกูปาทดแทนในสวนที่ถูกทําลายตอไป โดยจัดตั้งกลุม และกฎ กตกิา เพือ่ดูแลรักษาปาตนน้ําและหามคนในชุมชนตัดตนไมในบรเิวณพืน้ที่ตนน้ํา อภิปรายผลการวิจัย จากการศึกษาวิจัยพบวา ปจจยัที่มีความสัมพันธตอการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํมีดังนี ้ 1. การติดตอกับเจาหนาทีม่ีความสัมพันธกับการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําอยางมนียัสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ทั้งนี้เพราะผูที่มีการพบปะและตดิตอกับเจาหนาที่ที่เกี่ยวของกับการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํอยูเปนประจาํจะทําใหไดรับความรู และคําแนะนําในเรื่องตาง ๆ จากเจาหนาที ่ ทําใหมีความรูความเขาใจที่ถูกตองสามารถอาศัยอยูรวมกับปาไมไดโดยไมทําลายทรัพยากรธรรมชาติ ใชทรัพยากรที่มีอยูอยางคุมคาและเกิดประโยชนสูงสุด ทําใหเหน็คุณคาและประโยชนของทรพัยากรและเขามามีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการพื้นที่ปาตนน้ํา ซ่ึงสอดคลองกับการศึกษาของปราโมทย (2545) ที่พบวา การติดตอกับเจาหนาที่มคีวามสัมพันธกับการอนุรักษทรัพยากรปาไมในดานการปองกันรักษาปา 2. การรับขาวสารมีความสัมพันธกับการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําอยางมีนัยสําคญัทางสถิติที่ระดับ 0.05 ทั้งนี้เพราะผูที่มคีวามสนใจในการรับฟงขอมูลขาวสารจะมีความตื่นตวัหมั่นศึกษาหาความรูอยูเสมอ จึงมักใหความสําคัญกับการรับรูขอมูลขาวสาร และเขามามีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํา ซ่ึงสอดคลองกับการศึกษาของประทีป (2541) ที่พบวาการไดรับขอมูลขาวสาร มีความสัมพันธกับการมีสวนรวมของเกษตรกรในการจัดการน้าํชลประทานเพือ่การเกษตร 3. การฝกอบรมเกี่ยวกับการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํมีความสัมพันธกับการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําอยางมนียัสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ทั้งนี้เพราะการฝกอบรมจะทําใหประชากรเกิดการพฒันาแนวความคิดเกี่ยวกับการอนุรักษทรัพยากร ตลอดจนเปนการปลูกจิตสํานึกใหเกดิความรกัความหวงแหนทรัพยากร และการเขามามีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํา ซ่ึงสอดคลองกับการศึกษาของสมนึก (2542) ที่พบวา การไดรับการฝกอบรมมีความสัมพันธกับการอนุรักษทรัพยากรปาไม

Page 72: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

61

ขอเสนอแนะจากผลการวิจัย ผลการวิจัยคร้ังนี้พบวา การติดตอกับเจาหนาที่ การรับขาวสาร และการฝกอบรม มีผลตอการมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํา แสดงวาประชากรที่ไดรับขอมูลขาวสาร ไดเขารับการฝกอบรมและพบปะติดตอกับเจาหนาที่บอยครั้งจะเขามามีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการพืน้ที่ปาตนน้ํามากกวาประชากรที่ไมไดรับขอมูลขาวสาร ไมไดเขาฝกอบรมและไมไดพบปะติดตอกบัเจาหนาที ่ ดังนั้นผูวจิัยมขีอเสนอแนะจากผลการวิจยัในครั้งนี ้ ดังนี้ 1. ควรจัดใหมกีารฝกอบรมใหความรูบอยๆ เพื่อใหประชากรตําบลเมืองคองไดเขาใจและตระหนกัถึงความสําคัญของพื้นที่ปาตนน้ํา สงเสริมใหประชากรเขามามีบทบาทในการรวมกนัอนุรักษปองกนัทรัพยากรปาไมบริเวณชุมชนของตนเองและชุมชนใกลเคียง และเพื่อใหการฝกอบรมบรรลุวัตถุประสงคมากยิ่งขึ้น ควรเปดโอกาสใหชุมชนเขามามีสวนรวมในการเสนอขอมูล หลักสูตร ตลอดจนการกําหนดระยะเวลา สถานที่ในการฝกอบรม โดยการสงผูแทนชุมชนเขามามีสวนรวมในการวางแผนการฝกอบรมดวย และควรสนับสนุนใหมีการประชุมสัมมนาในรูปแบบของเวทีชาวบาน เพื่อเปดโอกาสใหชุมชนไดแลกเปลี่ยนประสบการณในการอนุรักษและจัดการทรัพยากรธรรมชาติ 2.ควรจัดเจาหนาที่ที่เกีย่วของกับการอนุรักษและจดัการปาตนน้ํา หรือเจาหนาที่ประสานงานชมุชน ประจําอยูภายในพื้นที่ของแตละหมูบาน เพื่อที่จะไดคอยใหคําแนะนํากบัชาวบาน และคอยประสานงานระหวางหนวยงานของรัฐบาลกับประชาชน เพื่อชวยแกไขปญหาใหกับประชาชนไดตรงตามความตองการ นอกจากนีย้ังเปนการสรางสัมพันธภาพระหวางประชาชนกับเจาหนาที่ของหนวยงาน เนื่องจากวาที่ผานมาเจาหนาทีจ่ะอยูประจําเฉพาะที่หนวยงาน การเดินทางมาพบติดตอประสานงานระหวางชาวบานกับเจาหนาที่คอนขางยากลําบาก ทําใหเกดิความลาชาในการแกไขปญหาทีเ่กิดขึ้น 3.การจัดตั้งองคกรที่เกี่ยวของกับการอนุรักษและจดัการปาตนน้ํา เพือ่ดําเนินการใหเปนรูปธรรมที่ชัดเจนขึ้น และเปนองคกรของประชาชนทีช่วยประสานการปฏิบัติงานระหวางชุมชนกับหนวยงานที่เกี่ยวของในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํา เพื่อขอรับงบประมาณสนับสนุนและประสานงานชวยเหลือสนับสนุนซึ่งกันและกัน 4.ควรตั้งกฎระเบียบหรือกฎหมายเกี่ยวกับการอนุรักษและจัดการปาตนน้ํา 5.ควรใหความรูความเขาใจแกประชากรที่อาศัยอยูบริเวณพื้นที่ปาตนน้ํา และเผยแพรความรูขาวสารตาง ๆ ดานการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํ 6.ควรกําหนดพื้นที่ทํากินของของชาวไทยภูเขาใหเปนระบบชัดเจนและคอยสอดสองดูแลไมใหเกิดการทําไรเล่ือนลอยบุกรุกพืน้ที่ปาตนน้ํา

Page 73: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

62

ขอเสนอแนะในการวิจัยคร้ังตอไป 1.ควรศึกษาถึงบทบาทของผูนําหมูบานกับการมีสวนรวมในการสนับสนุนและอนุรักษปาตนน้ํา 2.ควรศึกษาถึงวิธีการพัฒนาชาวไทยภูเขาใหมีศักยภาพในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําบริเวณชุมชนของตนเอง 3.ความคิดเหน็ของประชากรตําบลเมืองคองที่มีตอการดาํเนินงานดานการอนุรักษและจัดการปาตนน้าํของหนวยจัดการตนน้ํา

Page 74: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

เอกสารอางอิง นิวัติ เรืองพานิช. 2547. หลักการจัดการลุมน้ํา.กรุงเทพ:สํานักพิมพศูนยสงเสริมวิชาการ. ประทีป เรืองมาลัย. 2541. “การมีสวนรวมของเกษตรกรในการจดัการน้ําชลประทานของโครงการ ชลประทานเขื่อนแมกวงอุดมธาราในอําเภอบานธิ จังหวดัลําพูน”. การคนควาแบบอสิระ. ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาสงเสริมและเผยแพรการเกษตร. บัณฑิตวทิยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม. ประสาน ตังสิกบุตร. 2538. สังคมเศรษฐกิจ และนโยบายสิ่งแวดลอม. เอกสารประกอบการสอน กระบวนวิชา 072701. สาขาวิชาการจดัการมนุษยกับสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยเชียงใหม ประเสริฐ บัวคลีใบ. 2543. “การมีสวนรวมของเกษตรกรในการอนุรักษและพัฒนาปาชุมชน บาน ปาสักงาม ตําบลลวงเหนือ อําเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชยีงใหม “. การคนควาแบบอสิระ. ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาสงเสริมและเผยแพรการเกษตร. บัณฑิตวทิยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม. ปราโมทย เอื้ออํานวย. 2545. “การอนุรักษทรัพยากรปาไมของชาวไทยภูเขาในลุมน้าํลาง อําเภอ ปางมะผา จังหวัดแมฮองสอน “. การคนควาแบบอิสระ. ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาสงเสริมและเผยแพรการเกษตร. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชยีงใหม. เพียรเลิศ ถิระจํานงค. 2543. “การมีสวนรวมของประชาชนในการอนุรักษปาตนน้ําลําธารพื้นที่ตน น้ําแมสะงะ อําเภอแมแจม จังหวดัเชียงใหม”. วิทยานิพนธ. บัณฑติวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม. ไพรัตน เตชะรินทร. 2527. กลวิธีแนวทางวิธีการสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนในการ พัฒนาชุมชนในการมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนา. กรุงเทพฯ: ศักดิ์โสภาการ พิมพ. มนัส สุวรรณ. 2539. นิเวศวทิยาของมนุษย. กรุงเทพ: สํานักพิมพโอเดยีนสโตร. ยรรยง ศรีเจรญิ. 2539. “ความคิดเห็นของชาวเขาตอการจัดการและการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ ในเขตลุมน้ําแมแพลมตามโครงการพัฒนาที่สูงสามหมื่น”. การคนควาแบบอิสระ. ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาสงเสริมและเผยแพรการเกษตร. บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม. ยุวดี สิทธิมาที. 2527. “ปจจัยที่มีผลตอการมีสวนรมของประชาชน : ศึกษาเฉพาะกรณีกลุมผูใชน้าํ เพื่อการเกษตรกรรมโครงการปฏิรูปที่ดินสาธารณะประโยชนดงเทพรัตน ตําบลดงดอน อําเภอสรรคบรีุ จังหวดัชัยนาท”. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสิ่งแวดลอม. บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัมหิดล.

Page 75: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

64

ศรีปริญญา ธูปกระจาง. 2529. “การมีสวนรวมของการพัฒนาในการสงเวริมและรักษาคณุภาพ ส่ิงแวดลอมในชนบท”. วิทยานิพนธสังคมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสิ่งแวดลอม. บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล. สมนึก ชัยธรรม. 2542. “การอนุรักษทรัพยากรปาไมของชาวเขาเผากะเหรีย่งหมูบานหวยปูลิง ตําบลมอนจอง อําเภออมกอย จังหวัดเชียงใหม”. การคนควาแบบอิสระ. ปริญญา วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาสงเสริมและเผยแพรการเกษตร. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม. สุรีรัตน ภูวฒันศิลป. 2529. “การมสีวนรวมของเจาหนาที่สาธารณสุขชุมชนในการอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติ: ศึกษาเฉพาะกรณีจังหวัดสมุทรสงคราม. วิทยานิพนธศึกษาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาสิ่งแวดลอม. บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัมหิดล. Cohen, John M. and Uphoff, Norman T. (1977). Rural development Participation : Concepts and Measures for Project Design, Implementation and Evaluation. New York : The Rural Development Committee Center for International Studies, Cornell University. Erwin, William. 1976. Participation Management: concept, Theory, and Implementation. Atlanta,Ga : Georgia State University.

Page 76: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

แบบสอบถามโครงการวิจัย เร่ือง การมีสวนรวมในการอนุรักษและจัดการปาตนน้ําของชุมชน

ตําบลเมืองคอง อําเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม ช่ือผูใหสัมภาษณ..................................................นามสกุล........................................................ บานเลขที่.........................หมูที่...................ช่ือหมูบาน.............................................................. ตําบลเมืองคอง อําเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม คําแนะนํา โปรดใสเครื่องหมาย / ลง ( ) หนาขอความที่ทานตองการตอบเพียงขอเดียวหรือมากกวา 1 ขอ และเติมขอความลงในชองวางที่เวนไวใหสมบูรณ ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไปสภาพเศรษฐกิจและสังคม 1. เพศ ( ) ชาย ( ) หญิง 2. อายุ ( ) ตํ่ากวาหรือเทากับ 20 ป ( ) 21 – 35 ป ( ) 36 – 50 ป ( ) 50 ป ขึ้นไป 3. สถานภาพสมรส ( ) โสด ( ) สมรสแลวและอยูดวยกัน ( ) สมรสแลวและแยกกันอยู ( ) หยาราง/มาย 4. สถานภาพในครอบครัว ( ) หัวหนาครัวเรือน ( ) ภรรยา ( ) บุตร ( ) ผูอาศัย 5. ทานจบการศึกษาสูงสุดระดับไหน ( ) ไมไดเรียนหนังสือ อานเขียนไมได ( ) ไมไดเรียนหนังสือ แตอานเขียนได ( ) ประถมศึกษา ( ) มัธยมศึกษาตอนตน ( ) มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช./ปกศ.ตน ( ) อนุปริญญา/ปวส./ปกศ.สูง/ปวท ( ) ปริญญาตรี หรือสูงกวา 6. อาชีพหลักของทาน (อาชีพที่ใชเวลาในการประกอบอาชีพเปนสวนใหญ) ( ) เกษตรกร ( ) คาขาย ( ) รับจาง ( ) หาของปา ( ) รับราชการ ( ) อื่นๆ (โปรดระบุ)........................................ 7. ครัวเรือนของทานอยูดวยกัน......................ครอบครัว เปนชาย.......................คน เปนหญิง .............................คน 8. จํานวนแรงงานในครัวเรือน (รวมตัวทานดวย)................................ คน เปนแรงงานในภาคเกษตร............................คน เปนแรงงานนอกภาคเกษตร..........................คน 9. ทานมีรายไดจากการประกอบอาชีพ (บาท/ป)

Page 77: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

66

( ) ตํ่ากวา 10,000 บาท ( ) 10,001 – 30,000 บาท ( ) 30,001 – 50,000 บาท ( ) มากวา 50,000 บาทขึ้นไป 10. จํานวนที่ดินที่ทําการเกษตรของทานในรอบปที่ผานมา มีเอกสารสิทธิ์ เนื้อที่........................ไร ไมมีเอกสารสิทธิ์ เนื้อที่..........................ไร 11. ในรอบ 1 เดือนที่ผานมา ทานเคยติดตอพบปะ (ไมรวมการทักทาย) กับเจาหนาที่สงเสริมจากหนวยจัดการ ตนน้ําหรือไม) ( ) ไมเคย ( ) เคย จํานวน.......................ครั้ง 12. ทานไดรับขาวสารเกี่ยวกับการอนุรักษปาในพื้นที่ตนน้ํา จากแหลงใดบางในรอบ 1 เดือน

ระดับความถี่ตอเดือน แหลงขาวสารและความรู ไมเคย เคย

เพื่อนบาน จํานวน........................ครั้งตอเดือน หนังสือพิมพ เอกสาร วารสาร โปสเตอร นิตยสาร จํานวน........................ครั้งตอเดือน โทรทัศน จํานวน........................ครั้งตอเดือน วิทยุ จํานวน........................ครั้งตอเดือน หอกระจายขาว จํานวน........................ครั้งตอเดือน เจาหนาที่ของรัฐ จํานวน........................ครั้งตอเดือน เจาหนาที่เอกชน จํานวน........................ครั้งตอเดือน อื่นๆ(โปรดระบุ)..................................................... จํานวน........................ครั้งตอเดือน 13. ทานเคยไดรับการฝกอบรมเกี่ยวกับการอนุรักษปาในพื้นที่ตนน้ําหรือไม ( ) ไมเคย ( ) เคย จํานวน.......................ครั้งตอป

ตอนที่ 2 ความรูความเขาใจเกี่ยวกับการอนุรักษปาตนน้ํา

โปรดกาเครื่องหมาย / ลงในชองวางทายขอความที่ตรงกับความคิดเห็นของทานมากที่สุด ขอที่ ความรูความเขาใจเกี่ยวกับการอนุรักษปาตนน้ํา ถูก ผิด

1 พ้ืนที่ตนน้ํามีความสําคัญตอการมีฝนตกอยางถูกตองตามฤดูกาล 2 การปลูกปาเพิ่มเติมเปนการรักษาพื้นที่ตนน้ําวิธีหนึ่ง 3 ปาไมในพื้นที่ตนน้ําสามารถเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติไดไมจําเปนตองปลูกปา

เพิ่มเติม

4 การมีปาไมในพื้นที่ตนน้ําจะชวยใหมีน้ําในหวย คลอง บึง แมน้ําลําธาร ไหลตลอดป

5 ทานสามารถเปดพื้นที่ปาไมหรือพ้ืนที่ตนน้ํา เพื่อทําการเกษตรได 6 การรักษาปาในพื้นที่ตนน้ําเปนหนาที่ของเจาหนาที่ของรัฐเทานั้น 7 ตนไมชวยลดความรุนแรงของการไหลของน้ําได 8 การถางปาเพื่อขยายพื้นที่เพาะปลูกบนพื้นที่ตนน้ํามากๆเปนวิธีการหนึ่งในการ

ใชพ้ืนที่ตนน้ําใหเกิดประโยชนสูงสุด

Page 78: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

67

ขอที่ ความรูความเขาใจเกี่ยวกับการอนุรักษปาตนน้ํา ถูก ผิด 9 การดูแลรักษาปาบริเวณพื้นที่ตนน้ําที่ไดผลดีคือการใหประชาชนในทองถิ่นมี

สวนรวมดวย

10 การทําการเกษตรบนพื้นที่สูง อาศัยน้ําฝนเพียงอยางเดียวไมจําเปนตองดูแลรักษาปา

11 ในพื้นที่ตนน้ํายิ่งมีประชาชนมากเทาใดยิ่งดี จะไดชวยกันดูแลรักษาพื้นที่ตนน้ําไดอยางทั่งถึง

12 การปลูกผัก ทําสวน เลี้ยงสัตว สามารถสงเสริมหรือขยายพื้นที่ไปยังพื้นที่ตนน้ําได แตตองไมทําใหน้ําขุนสกปรก

13 ประเทศไทยเปนประเทศกสิกรรม ไมจําเปนตองอนุรักษพ้ืนที่ตนน้ําไวเพราะมีฝนตกประจําอยูแลว

14 ตนไมชวยเก็บกักน้ําและชะลอการไหลของน้ําใหเปนไปตามธรรมชาติ 15 การปลูกพืชแบบขั้นบันได เปนการปองกันการชะลางพังทะลายของดินแบบ

หนึ่ง

ตอนที่ 3 ขอมูลดานการมีสวนรวมในการอนุรักษปาตนน้ํา

ระดับการมีสวนรวม ขอที่ การมีสวนรวมในการอนุรักษปาตนน้ํา มาก ปานกลาง นอย ไมมี

1 การเสนอความคิดเห็นในการอนุรักษพ้ืนที่ปาตนน้ํา 1.1 ทานมีสวนรวมประชุมการวางแผนการดําเนินงาน

อนุรักษพ้ืนที่ตนน้ําในเขตหมูบานของทาน 1.2 ทานมีสวนรวมประชุมการวางแผนการดําเนินงาน

อนุรักษพ้ืนที่ตนน้ํานอกเขตหมูบานของทาน 1.3 ทานมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็นตางๆในที่

ประชุม 1.4 ทานมีสวนรวมในการเสนอความคิดเห็นตอที่ประชุมให

มีการปลูกปาเพื่ออนุรักษพ้ืนที่ปาตนน้ําในบริเวณหมูบานของทานเอง

1.5 ทานมีสวนรวมในการเสนอความคิดเห็นตอที่ประชุมในการบํารุงรักษาปาตนน้ํา

2 การวางแผนการดําเนินงาน 2.1 ทานมีสวนรวมในการประชุมเพื่อวางแผนหรือจัดทําโครงการอนุรักษพ้ืนที่ปาตนน้ํา 2.2 ทานมีสวนรวมในการประชุมเพื่อวางแผนโครงการปลูกปาเพื่ออนุรักษพ้ืนที่ปาตนน้ํา

Page 79: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

68

ระดับการมีสวนรวม ขอที่ การมีสวนรวมในการอนุรักษปาตนน้ํา

มาก ปานกลาง นอย ไมมี 2.3 ทานมีสวนรวมในการประชุมเพื่อวางแผนการดูแลรักษา

ปาในพื้นที่ปาตนน้ํา 2.4 ทานมีสวนรวมในการประชุมเพื่อวางแผนในการ

ปองกันการบุกรุกทําลายปาในพื้นที่ตนน้ํา 2.5 ทานมีสวนรวมในการประชุมเพื่อวางแผนชักชวนให

เพื่อนบานชวยกันดูแลรักษาปาปละปลูกปาในพื้นที่ปาตนน้ํา

3 การรวมลงมือปฏิบัติ 3.1 ทานมีสวนรวมในการปลูกปาทดแทนเสมอ และมีการ

ปลูกตนน้ําในวันสําคัญ เชน วันเฉลิมพระชนมพรรษา และวันสําคัญอื่นๆ

3.2 ทานมีสวนรวมกับเจาหนาที่ในการจับกุมผูบุกรุกปาตนน้ํา

3.3 ทานมีสวนรวมในการสํารวจพื้นที่ปาตนน้ํา 3.4 ทานมีสวนรวมในการหามปรามและตักเตือนหากพบ

เห็นการตัดไมทําลายปา 3.5 ทานมีสวนรวมในการปองกันไฟปาในชวงหนาแลง

4 การติดตามและประเมินผลโครงการ 4.1 ทานมีสวนรวมในการติดตามการดําเนินงานของ

โครงการ เชน การปลูกปา การปองกันไฟปา ฯลฯ ต้ังแตเริ่มตนจนสิ้นสุดโครงการ

4.2 ทานมีสวนรวมในการเสนอแนะวิธีการบํารุงรักษาปาตนน้ําหลังจากไดปลูกปาเสร็จสิ้นแลว

4.3 ทานมีสวนรวมในการเปนกรรมการการใชน้ําสําหรับหารทําการเกษตรในหมูบานของทาน

4.4 ทานมีสวนรวมในการเผยแพรความรูและขาวสารเกี่ยวกับประโยชนของปาตนน้ําลําธารและโทษของการตัดไมทําลายปาตนน้ํา

4.5 ทานมีสวนรวมในการชวยสอดสองและชวยรายงานเจาหนาที่เมื่อมีผูบุกรุกตัดไมทําลายปา

Page 80: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

69

ตอนที่ 4 ขอมูลเกี่ยวกับปญหา อุปสรรคตอการมีสวนรวม และขอเสนอแนะในการอนุรักษพ้ืนที่ปาตนน้ํา 4.1 ปญหา อุปสรรค

กิจกรรม มาก ปานกลาง นอย 1. ปญหาประชุมวางแผนโครงการอนุรักษพ้ืนที่ปาตนน้ํา 2. ปญหาการไดรับการยอมรับทางความคิด 3. ปญหาการปองกันและรักษาปาตนน้ํา 4. ปญหาการปลูกปาตนน้ํา 5. ปญหาการบํารุงรักษาปาตนน้ํา 6. ปญหาการกอสรางฝายตนน้ํา 7. ปญหาการประชาสัมพันธ 8. ปญหาการติดตอประสานงานกับหนวยงานหรือเจาหนาที่ 9. ปญหาการใชประโยชนพ้ืนที่ตนน้ํา เชน การปลูกพืช เลี้ยงสัตว 10. ปญหาการติดตามประเมินผล 4.2 ขอเสนอแนะ และแนวทางในการแกไขปญหาในการอนุรักษพ้ืนที่ปาตนน้ํา ตําบลเมืองคอง อําเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม 1)................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 2)................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 3).................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

Page 81: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation
Page 82: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation
Page 83: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation
Page 84: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation
Page 85: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation
Page 86: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation
Page 87: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation
Page 88: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation
Page 89: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

ตารางการใชประโยชนท่ีดิน ตําบลเมืองคอง อําเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม

การใชประโยชนท่ีดิน ตร.กม. ไร รอยละพื้นที่ปาไม 253.95 158,718 88.90 ไรหมุนเวียน 16.75 10,467 5.85 พื้นที่เกษตร 6.88 4,303 2.41 นาขาว 6.16 3,851 2.16 สวนไมผล 0.76 474 0.27 พื้นที่อยูอาศัย 1.15 719 0.40 พื้นที่แหลงน้ํา - 1 - พื้นที่อ่ืนๆ 0.02 10 0.01 ผลรวม 285.67 178,543 100.00

Page 90: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

ตารางชั้นคุณภาพลุมน้ํา ตําบลเมืองคอง อําเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม

ชั้นคุณภาพลุมน้ํา ตร.กม. ไร รอยละ1 242.84 151,777 85.01 2 25.64 16,026 8.98 3 7.65 4,780 2.68 4 5.21 3,258 1.82 5 4.33 2,702 1.51 ผลรวม 285.67 178,543 100.00

Page 91: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

ตารางระดับความสูง ตําบลเมืองคอง อําเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม

ระดับความสูง (เมตร) ตร.กม. ไร รอยละสูงกวา 1800 0.49 304 0.17 1000 - 1800 110.56 69,099 38.70 500 - 1000 174.62 109,140 61.13 ผลรวม 285.67 178,543 100.00

Page 92: PRACHA TANGJITTHAMapp.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00615/C00615-2.pdf · อําเภอเช ียงดาว จังหวัดเชียงใหม Participation

ตารางพื้นที่ปาไมตามกฎหมาย ตําบลเมืองคอง อําเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม

พื้นที่ปาไมตามกฏหมาย ตร.กม. ไร รอยละปาสงวนแหงชาติปาเชียงดาว 101.76 63,598 35.62 ปาสงวนแหงชาติปาแมแตง 0.11 70 0.04 ปาสงวนแหงชาติปาแมปายฝงซายตอนบน - 1 - อุทยานแหงชาติหวยน้ําดัง 54.07 33,796 18.93 เขตรักษาพันธุสัตวปาเชียงดาว 123.35 77,090 43.18 ไมใชพื้นที่ปา 6.38 3,988 2.23 ผลรวม 285.67 178,543 100.00