2553 - su · 2012. 4. 18. · a guideline on strategic planning proposed for silpakorn university...

367
ข้อเสนอแนวทางแผนกลยุทธ์มหาวิทยาลัยศิลปากรในช่วงแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที11 (..2555-2559) โดย นายศักดิพันธ์ ตันวิมลรัตน์ ดุษฎีนิพนธ์นี้เป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ภาควิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีการศึกษา 2553 ลิขสิทธิ ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Upload: others

Post on 25-Jan-2021

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • ข้อเสนอแนวทางแผนกลยุทธ์มหาวทิยาลยัศิลปากรในช่วงแผนพฒันาการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที ่11 (พ.ศ.2555-2559)

    โดย นายศักดิพนัธ์ ตันวมิลรัตน์

    ดุษฎนิีพนธ์นีเ้ป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกัสูตรปริญญาปรัชญาดุษฎบีณัฑิต สาขาวชิาการบริหารการศึกษา ภาควชิาการบริหารการศึกษา

    บัณฑิตวทิยาลยั มหาวทิยาลยัศิลปากร ปีการศึกษา 2553

    ลขิสิทธ์ิของบัณฑิตวทิยาลยั มหาวทิยาลยัศิลปากร

  • ข้อเสนอแนวทางแผนกลยุทธ์มหาวทิยาลยัศิลปากรในช่วงแผนพฒันาการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที ่11 (พ.ศ.2555-2559)

    โดย นายศักดิพนัธ์ ตันวมิลรัตน์

    ดุษฎนิีพนธ์นีเ้ป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกัสูตรปริญญาปรัชญาดุษฎบีณัฑิต สาขาวชิาการบริหารการศึกษา ภาควชิาการบริหารการศึกษา

    บัณฑิตวทิยาลยั มหาวทิยาลยัศิลปากร ปีการศึกษา 2553

    ลขิสิทธ์ิของบัณฑิตวทิยาลยั มหาวทิยาลยัศิลปากร

  • A GUIDELINE ON STRATEGIC PLANNING PROPOSED FOR SILPAKORN UNIVERSITY DURING THE ELEVENTH NATIONAL EDUCATION PLAN (2012-2016)

    By Sakdipan Tonwimonrat

    A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree DOCTOR OF PHILOSOPHY

    Department of Educational Administration Graduate School

    SILPAKORN UNIVERSITY 2010

  • บณัฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัศิลปากร อนุมติัใหดุ้ษฎีนิพนธ์เร่ือง “ ขอ้เสนอแนวทางแผนกลยทุธ์มหาวิทยาลยัศิลปากรในช่วงแผนพฒันาการศึกษาแห่งชาติ ฉบบัท่ี 11 (พ.ศ.2555-2559) ” เสนอโดย นายศกัดิพนัธ์ ตนัวิมลรัตน์ เป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกัสูตรปริญญาปรัชญาดุษฎีบณัฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา

    ……........................................................... (ผูช่้วยศาสตราจารย ์ดร.ปานใจ ธารทศันวงศ)์

    คณบดีบณัฑิตวิทยาลยั วนัท่ี..........เดือน.................... พ.ศ...........

    อาจารยท่ี์ปรึกษาดุษฎีนิพนธ์ 1. ผูช่้วยศาสตราจารย ์ดร.ประเสริฐ อินทร์รักษ ์ 2. รองศาสตราจารย ์ดร.ศิริชยั ชินะตงักรู คณะกรรมการตรวจสอบดุษฎีนิพนธ์ .................................................... ประธานกรรมการ (ผูช่้วยศาสตราจารย ์วา่ท่ีพนัตรี ดร.นพดล เจนอกัษร) ............/......................../.............. .................................................... กรรมการ (รองศาสตราจารย ์ดร.ประกอบ คุณารักษ)์ ............/......................../.............. .................................................... กรรมการ .................................................... กรรมการ (ผูช่้วยศาสตราจารย ์ดร.ประเสริฐ อินทร์รักษ)์ (รองศาสตราจารย ์ดร.ศิริชยั ชินะตงักรู) ............/......................../.............. ............/......................../..............

  • 49252904 : สาขาวชิาการบริหารการศึกษา คาํสาํคญั : การวางแผนกลยทุธ์ / มหาวทิยาลยัศิลปากร ศกัดิพนัธ์ ตนัวมิลรัตน์ : ขอ้เสนอแนวทางแผนกลยทุธ์มหาวทิยาลยัศิลปากรในช่วงแผนพฒันาการศึกษาแห่งชาติ ฉบบัท่ี 11 (พ.ศ. 2555-2559). อาจารยท่ี์ปรึกษาดุษฎีนิพนธ์ : ผศ. ดร.ประเสริฐ อินทร์รักษ,์ รศ. ดร.ศิริชยั ชินะตงักรู. 349 หนา้. การวิจัยคร้ังน้ีมีวตัถุประสงค์เพ่ือทราบ 1) สภาพแวดลอ้มการวางแผนกลยุทธ์ของมหาวิทยาลัยศิลปากร 2) เพ่ือให้ไดก้ลยุทธ์ของมหาวิทยาลยัศิลปากรในช่วงแผนพฒันาการศึกษาแห่งชาติฉบบัท่ี 11 (พ.ศ.2555-2559) 3) ขอ้เสนอแนวทางแผนกลยทุธ์ของมหาวิทยาลยัศิลปากร ในช่วงแผนพฒันาการศึกษาแห่งชาติฉบบัท่ี 11 (พ.ศ.2555-2559) ประชากรท่ีใชใ้นการวิจยัคร้ังน้ีไดแ้ก่ บุคลากรมหาวิทยาลยัศิลปากรท่ีมีความเก่ียวขอ้งกบัการวางแผนกลยทุธ์จาํนวน 235 คน กลุ่มตวัอยา่งจาํนวน 148 คน เคร่ืองมือท่ีใชใ้นการวิจยัไดแ้ก่ แบบสัมภาษณ์ก่ึงโครงสร้าง แบบสอบถาม ขอ้มูลไดท้าํการรวบรวมระหว่างเดือนมกราคมถึงกนัยายน 2553 สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ขอ้มูลประกอบดว้ย ค่าความถ่ี (frequency) ค่าร้อยละ (percentage) ค่ามชัฌิมเลขคณิต (mean) ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน(standard deviation) ค่าฐานนิยม(mode) ค่ามธัยฐาน (median) ค่าพิสัยระหวา่งควอไทล ์ ( Interquartile Range) และการวเิคราะห์เน้ือหา (content analysis) ผลการวจิยัพบวา่

    1. สภาพแวดลอ้มภายในท่ีเป็นจุดแขง็ ไดแ้ก่ อาจารยก์ลุ่มศิลปะของมหาวทิยาลยัมีความสามารถสูง, สภาพแวดลอ้มภายในท่ีเป็นจุดอ่อน ไดแ้ก่ อาจารยส่์วนมากทาํงานเป็นส่วนบุคคลมากกวา่การทาํงานเป็นทีม สภาพแวดลอ้มภายนอกท่ีเป็นโอกาส ไดแ้ก่ ภาครัฐสนบัสนุนดา้นการวจิยัและส่ิงประดิษฐ์ สภาพแวดลอ้มภายนอกท่ีเป็นภยัคุกคาม ไดแ้ก่ การสนบัสนุนงบประมาณแผน่ดินจากรัฐบาลมีแนวโนม้ลดลง เป็นตน้

    2. กลยทุธ์ของมหาวทิยาลยัศิลปากรในช่วงแผนพฒันาการศึกษาแห่งชาติฉบบัท่ี 11 (พ.ศ.2555-2559) ควรจะมี 7 กลยทุธ์ 29 มาตรการ ประกอบดว้ย กลยทุธ์ผลิตบณัฑิตท่ีมีความรู้ทกัษะวิชาชีพเชิงสร้างสรรค ์ มีการบูรณาการความรู้สู่สังคมมี 8 มาตรการ ,กลยทุธ์การพฒันาหลกัสูตรเชิงสร้างสรรคแ์ละการบูรณาการระหวา่งศาสตร์และศิลป์มี 5 มาตรการ ,กลยทุธ์การเป็นมหาวทิยาลยัวจิยัและการสร้างสรรคช์ั้นนาํมี 5 มาตรการ, กลยทุธ์บริการวิชาการโดยการถ่ายทอดความรู้เทคโนโลยแีละงานวจิยัสู่สังคมมี 3 มาตรการ, กลยทุธ์สืบสาน สร้างสรรค์ส่งเสริมศิลปะและวฒันธรรมสู่ความเป็นเลิศมี 3 มาตรการ, กลยทุธ์การบริหารจดัการเชิงสร้างสรรคมี์ 3 มาตรการ, กลยทุธ์ใชเ้ทคโนโลยสีารสนเทศและการส่ือสารเพื่อเพ่ิมผลสัมฤทธ์ิตามพนัธกิจของมหาวทิยาลยัมี 2 มาตรการ

    3. ขอ้เสนอแนวทางแผนกลยทุธ์ของมหาวทิยาลยัศิลปากร ในช่วงแผนพฒันาการศึกษาแห่งชาติฉบบัท่ี 11 (พ.ศ.2555-2559) คือ มหาวทิยาลยัศิลปากรเป็นมหาวทิยาลยัชั้นนาํแห่งการสร้างสรรค ์ เป็นเลิศดา้นศิลปวฒันธรรม บูรณาการศาสตร์และศิลป์ ถ่ายทอดองคค์วามรู้สู่การพฒันาสังคมยัง่ยนื ภาควชิาการบริหารการศึกษา บณัฑิตวทิยาลยั มหาวทิยาลยัศิลปากร ปีการศึกษา 2553 ลายมือช่ือนกัศึกษา........................................ ลายมือช่ืออาจารยท่ี์ปรึกษาดุษฎีนิพนธ์ 1. ....................................... 2. .......................................

  • 49252904 : MAJOR : EDUCATIONAL ADMINISTRATION KEY WORD : STRATEGIC PLANNING / SILPAKORN UNIVERSITY

    SAKDIPAN TONWIMONRAT : A GUIDELINE ON STRATEGIC PLANNING

    PROPOSED FOR SILPAKORN UNIVERSITY DURING THE ELEVENTH NATIONAL

    EDUCATION PLAN (2012-2016). DISERTATION ADVISORS : ASST.PROF.PRASERT

    INTARAK, Ed.D., ASSOC.PROF. SIRICHAI CHINATANGKUL Ph.D. 349 pp.

    The purposes of this research were to: 1) recognize SILPAKORN UNIVERSITY

    strategy planning environment; 2) obtain SILPAKORN UNIVERSITY strategic plan according

    to the eleventh National Education Plan (2012-2016); and 3) be familiar with SILPAKORN

    UNIVERSITY strategic planning guideline for the eleventh National Education Plan

    (2012-2016). The populations of this study were 235 administrators and planning staff. The

    respondents were 148 respondents. The research instruments were semi-structure interview

    and questionnaire. All data, collected during January to September 2010, The data were

    analyzed by using frequency, percentage, mean, standard deviation, mode, median,

    interquartile Range and content analysis.

    The research findings were as follows:

    1. University strength was international accreditation of Art professors. University

    weakness was personnel preferred individual working condition to team work condition.

    University opportunity was the rising research and innovation fund supported by government

    policy. University threat was the annual down-sizing trend of government budget.

    2. The university should have 7 strategies and 29 guidelines corresponding to

    the eleventh National Education Plan (2012-2016) : 1) to supply society with creative and

    skillful graduates; 2) to develop creative and integrated curricula between Science and Arts;

    3) to become the leading research and creative university; 4) to disseminate knowledge,

    technology, and research findings to society; 5) to innovate and promote Arts and cultures

    to excellence; 6) to generate creative management; 7) to intensively exploit information

    technology and communication to support university mission.

    3. The Proposed guideline for the university strategic planning corresponding to

    the eleventh National Education Plan (2012-2016) were to become the leading creative

    university; to be excellence on Arts and culture; to integrate Science and Arts together; and to

    disseminate body of knowledge for sustainable society development.

    Department of Education Administration Graduate School Silpakorn University Academic year 2010

    Student’s signature …………………………………

    Dissertation Advisors’ signature 1……………………………… 2…………………………………

  • กติติกรรมประกาศ

    ดุษฎีนิพนธ์ฉบบัน้ีสาํเร็จลุล่วงไปไดด้ว้ยดี ดว้ยการแนะนาํดว้ยความเมตตาอยา่งยิง่จากผูช่้วยศาสตราจารย ์ ดร.ประเสริฐ อินทร์รักษ ์ อาจารยท่ี์ปรึกษา ประธานกรรมการผูค้วบคุมดุษฎีนิพนธ์ รองศาสตราจารย ์ดร.ศิริชยั ชินะตงักรู กรรมการผูค้วบคุมดุษฎีนิพนธ์ ขอขอบพระคุณผูช่้วยศาสตราจารย ์ วา่ท่ี พ.ต.ดร.นพดล เจนอกัษร ประธานกรรมการสอบดุษฎีนิพนธ์ รองศาสตราจารย ์ดร.ประกอบ คุณารักษ ์ ผูท้รงคุณวฒิุ อาจารยด์ร.ศริยา สุขพานิช และอาจารยภ์าควิชาการบริหารการศึกษาทุกท่านท่ีไดใ้หข้อ้คิดเห็นและคาํปรึกษาท่ีเป็นประโยชน์ต่องานวิจยั ขอกราบพระคุณทุกท่านเป็นอยา่งสูง ขอกราบขอบพระคุณ ผูท้รงคุณวุฒิและผูเ้ช่ียวชาญทุกท่านท่ีไดใ้ห้ขอ้คิดเห็นและขอ้เสนอแนะในการสัมภาษณ์ การตรวจเคร่ืองมือวิจยั การดาํเนินการวิจยั การร่วมประชุมกลุ่มและการเขา้ร่วมสมัมนาในงานวิจยัคร้ังน้ี ขอกราบขอบพระคุณผูช่้วยศาสตราจารย ์ ดร.วนัชยั สุทธะนนัท ์ คณบดีคณะวิทยาการจดัการ ผูช่้วยศาสตราจารย ์ดร.นรงค ์ฉิมพาลี ผูอ้าํนวยการสาํนกัหอสมุดกลาง อาจารยว์นัชยั เจือบุญ รองอธิการบดี (เพชรบุรี) ท่ีใหก้ารสนบัสนุนในทุกๆดา้นและใหก้ารช่วยเหลือในทุกๆอยา่ง ขอกราบขอบพระคุณ อธิการบดี รองอธิการบดี คณบดี ผูอ้าํนวยการกอง มหาวิทยาลยัศิลปากรและอาจารยค์ณะวิทยาการจดัการ มหาวิทยาลยัศิลปากรทุกท่านในความกรุณาต่อการเกบ็ขอ้มูลในงานวจิยัคร้ังน้ี ขอขอบคุณ คุณสุภาวดี นพรุจจินดา คุณบุศรินทร์ สุจริตจนัทร์ คุณสุรางค ์ ธูปบูชากรและเพื่อนร่วมรุ่นดุษฎีบณัฑิตรุ่นท่ี 4 ทุกท่านสาํหรับกาํลงัใจและการช่วยเหลือสนบัสนุนการทาํวจิยั สุดทา้ยน้ี ความสาํเร็จคร้ังน้ีเกิดจากกาํลงัใจอนัลน้เหลือจากคุณอรุณี ตนัวิมลรัตน์ ดญ.ณชัชา ตนัวิมลรัตน์ ดญ.มนพร ตนัวิมลรัตน์ ภรรยาและลูกๆ และเหนือส่ิงอ่ืนใดคือ พระคุณของ คุณแม่วนั ตนัวิมลรัตน์ ท่ีเสียสละและทุ่มเททุกอยา่งจนผูว้ิจยัประสบความสาํเร็จในการศึกษา

  • สารบัญ หนา้ บทคดัยอ่ภาษาไทย .................................................................................................................... ง บทคดัยอ่ภาษาองักฤษ ............................................................................................................... จ กิตติกรรมประกาศ ..................................................................................................................... ฉ สารบญัตาราง ............................................................................................................................ ฎ สารบญัแผนภูมิ .......................................................................................................................... ณ บทท่ี 1 บทนาํ ............................................................................................................................. 1 ความเป็นมาและความสาํคญัของปัญหา ................................................................ 3 ปัญหาการวิจยั ........................................................................................................ 8 วตัถุประสงคข์องการวิจยั ...................................................................................... 11 ขอ้คาํถามของการวิจยั ............................................................................................ 12 สมมติฐานของการวิจยั .......................................................................................... 12 กรอบแนวคิดของการวิจยั ...................................................................................... 12 นิยามศพัทเ์ฉพาะ ................................................................................................... 14 2 วรรณกรรมท่ีเก่ียวขอ้ง ................................................................................................... 15 แนวคิดทฤษฎีท่ีเก่ียวขอ้งกบัการวางแผนกลยทุธ์ ................................................... 15 ความหมายของการวางแผน ........................................................................ 15 ความหมายของกลยทุธ์ ............................................................................... 18 ความหมายของการวางแผนกลยทุธ์ ............................................................ 20 องคป์ระกอบของการวางแผนกลยทุธ์ ......................................................... 24 กระบวนการวางแผนกลยทุธ์ ...................................................................... 26 ขั้นตอนการจดัทาํแผนกลยทุธ์ ..................................................................... 33 รูปแบบการวางแผนกลยทุธ์ ........................................................................ 45 การวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ม ....................................................................... 52 การกาํหนดระดบักลยทุธ์ขององคก์าร ......................................................... 81 รูปแบบการกาํหนดกลยทุธ์ ......................................................................... 85 งานวิจยัท่ีเก่ียวขอ้ง ...................................................................................... 95

  • บทท่ี ........................................................................................................................................ หนา้ ขอ้มูลพื้นฐานเก่ียวกบัเทคนิคการวิจยัอนาคตแบบ EDFR…................................. 98 เทคนิคการวิจยัอนาคตแบบ EDFR ............................................................. 98 ขอ้พิจารณาเปรียบเทียบระหวา่ง EDFR กบั Delphi .................................... 102 ขอ้พิจารณาเปรียบเทียบระหวา่ง EDFR กบั EFR ........................................ 103 ขอ้มูลพื้นฐานเก่ียวกบัมหาวิทยาลยัศิลปากร .......................................................... 104 ปณิธาน วิสยัทศัน์ พนัธกิจ ของมหาวิทยาลยัศิลปากร ................................ 106 การแบ่งส่วนราชการมหาวิทยาลยัศิลปากร ................................................. 107 บุคลากรมหาวทิยาลยัศิลปากร .................................................................... 111 โปรแกรมการศึกษาของมหาวิทยาลยัศิลปากร ............................................ 113 งบประมาณเงินแผน่ดิน .............................................................................. 114 งบประมาณเงินรายได ้................................................................................. 114 ภาพรวมของงบประมาณเงินแผน่ดินและงบประมาณเงินรายได ้................ 115 การจดัทาํแผนกลยทุธ์ของมหาวิทยาลยัศิลปากร ......................................... 116 แผนยทุธศาสตร์มหาวิทยาลยัศิลปากร ........................................................ 117 สรุป ....................................................................................................................... 123 3 การดาํเนินการวิจยั ......................................................................................................... 124 ขั้นตอนการดาํเนินการวิจยั .................................................................................... 124 ขั้นตอนท่ี 1 การจดัเตรียมโครงการวิจยั ...................................................... 124 ขั้นตอนท่ี 2 การดาํเนินการวจิยั ................................................................... 124 ขั้นตอนท่ี 3 การรายงานผลการวิจยั ............................................................. 128 ระเบียบวิธีวจิยั ....................................................................................................... 128 แผนแบบการวิจยั ........................................................................................ 128 ประชากรและกลุ่มตวัอยา่ง ......................................................................... 129 ตวัแปรท่ีศึกษา ............................................................................................ 131 เคร่ืองมือท่ีใชใ้นการวิจยั ............................................................................. 132 การเกบ็รวบรวมขอ้มูล ................................................................................ 135 การวิเคราะห์ขอ้มูลและสถิติท่ีใชใ้นการวิจยั ............................................... 135 สรุป ....................................................................................................................... 136

  • บทท่ี .......................................................................................................................................... หนา้ 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้มูล .................................................................................................... 137 ตอนท่ี 1 การศึกษาวิเคราะห์และกาํหนดกรอบแนวคิดในการวิจยั ......................... 138 1.1 การวิเคราะห์ขอ้มูลจากเอกสารและจากการสมัภาษณ์ผูท้รงคุณวฒิุ ...... 138 1.2 การวิเคราะห์ขอ้มูลสถานภาพส่วนตวัของผูต้อบแบบสอบถาม ............ 197 1.3 การวิเคราะห์ระดบัความคิดเห็นเก่ียวกบัสภาพแวดลอ้มของมหาวทิยาลยั ศิลปากร ................................................................................................ 198 ตอนท่ี 2 การวิเคราะห์ขอ้มูลการกาํหนดกลยทุธ์มหาวิทยาลยัศิลปากร .................. 203 2.1 การวิเคราะห์ขอ้มูลจากการสมัภาษณ์ผูเ้ช่ียวชาญ .................................. 203 2.2 การวิเคราะห์ความคิดเห็นของผูเ้ช่ียวชาญสาํหรับแนวโนม้ความเป็นไปได ้ สาํหรับกลยทุธ์ของมหาวทิยาลยัศิลปากรในช่วงแผนพฒันาการศึกษาชาติ ฉบบัท่ี 11 .............................................................................................. 209 ตอนท่ี 3 การวิเคราะห์ขอ้มูลขอ้เสนอแนวทางแผนกลยทุธ์มหาวิทยาลยัศิลปากร

    ในช่วงแผนพฒันาการศึกษาแห่งชาติ ฉบบัท่ี 11 ...................................... 234 3.1 การวิเคราะห์ขอ้มูลร่างขอ้เสนอแนวทางแผนกลยทุธ์มหาวิทยาลยั ศิลปากรในช่วงแผนพฒันาการศึกษาแห่งชาติ ฉบบัท่ี 11 ..................... 234 3.2 การสงัเคราะห์ขอ้สรุปร่างขอ้เสนอแนวทางแผนกลยทุธ์มหาวิทยาลยั ศิลปากรในช่วงแผนพฒันาการศึกษาแห่งชาติ ฉบบัท่ี 11 ..................... 237 3.3 ตวัอยา่งร่างขอ้เสนอแนวทางแผนกลยทุธ์มหาวิทยาลยัศิลปากรในช่วง แผนพฒันาการศึกษาแห่งชาติ ฉบบัท่ี 11 คณะวิทยาการจดัการ ............ 249 5 สรุปผลการวิจยั อภิปรายผล และขอ้เสนอแนะ ............................................................... 266 สรุปผลการวิจยั ...................................................................................................... 267 การอภิปรายผล ...................................................................................................... 270 ขอ้เสนอแนะ .......................................................................................................... 276 ขอ้เสนอแนะทัว่ไป ..................................................................................... 276 ขอ้เสนอแนะของการวิจยัคร้ังต่อไป ............................................................ 277

    บรรณานุกรม .......................................................................................................................... 278

    ภาคผนวก ............................................................................................................................... 287 ภาคผนวก ก หนงัสือขอสมัภาษณ์ผูท้รงคุณวฒิุ ..................................................... 288

  • บทท่ี หนา้ ภาคผนวก ข แบบสมัภาษณ์งานวิจยั ...................................................................... 290 ภาคผนวก ค หนงัสือขอตรวจเคร่ืองมือวิจยั ........................................................... 297 ภาคผนวก ง หนงัสือขอทดลองเคร่ืองมือวิจยั ........................................................ 300 ภาคผนวก จ ผลการทดลองเคร่ืองมือวิจยั .............................................................. 302 ภาคผนวก ฉ แบบสอบถามเพ่ือการวิจยั ................................................................. 304 ภาคผนวก ช หนงัสือขอเชิญเป็นผูเ้ช่ียวชาญการวิจยัเชิงอนาคต ............................ 314 ภาคผนวก ซ รายช่ือผูเ้ช่ียวชาญการวิจยัเชิงอนาคต ................................................ 316 ภาคผนวก ฌ เคร่ืองมือในการวิจยัเชิงอนาคต EDFR ............................................. 318 ภาคผนวก ญ ผลการวิเคราะห์ขอ้มูลการวิจยัเชิงอนาคต EDFR ............................. 336 ภาคผนวก ฎ หนงัสือขอความอนุเคราะห์จดัการประชุมกลุ่ม ................................ 341 ภาคผนวก ฏ รายช่ือผูเ้ขา้ร่วมประชุมกลุ่ม ............................................................. 343 ภาคผนวก ฐ หนงัสือขอความอนุเคราะห์ตรวจสอบขอ้เสนอแนวทางแผน กลยทุธ์ของมหาวิทยาลยัศิลปากร ............................................................... 345 ภาคผนวก ฑ รายช่ือผูเ้ขา้ร่วมสมัมนา .................................................................... 347

    ประวติัผูว้จิยั .............................................................................................................................. 349

  • สารบัญตาราง ตารางท่ี หนา้

    1 ตวัอยา่งการสรุปผลการวิเคราะห์ปัจจยัภายนอกของบริษทัเมยแ์ทก็ ...................... 61 2 การประเมินลูกโซ่แห่งคุณค่าของบริษทัสาํหรับกิจกรรมหลกั ............................... 66 3 การประเมินลูกโซ่แห่งคุณค่าของบริษทัสาํหรับกิจกรรมสนบัสนุน ...................... 68 4 ตวัอยา่งการสรุปผลการวิเคราะห์ปัจจยัภายในของบริษทัเมยแ์ทก็ ......................... 75 5 รูปแบบการกาํหนดกลยทุธ์ของ The GE/McKinsey Matrix .................................. 86 6 รูปแบบการกาํหนดกลยทุธ์ของ Stanley C. Abraham ............................................ 87 7 รูปแบบการกาํหนดกลยทุธ์โดยใช ้Portfolio Mix Matrix ...................................... 88 8 รูปแบบการกาํหนดกลยทุธ์ .................................................................................... 90 9 สดัส่วนของบุคลากรมหาวิทยาลยัศิลปากร ............................................................ 111 10 สดัส่วนผูบ้ริหารมหาวิทยาลยัศิลปากร .................................................................. 112 11 สดัส่วนบุคลากรมหาวิทยาลยัศิลปากรดา้นคุณวฒิุและตาํแหน่งทางวิชาการ ......... 112 12 สดัส่วนระดบัการศึกษาและสาขาวิชา .................................................................... 113 13 ภาพรวมงบประมาณปี 2550 ของมหาวิทยาลยัศิลปากร ......................................... 115 14 การตรวจสอบสภาพแวดลอ้มโดยตารางการประเมินของ วีลเลนและฮงัเกอร์ ....... 132 15 ขอ้มูลท่ีไดจ้ากการวิเคราะห์เอกสารและจากการสมัภาษณ์ผูท้รงคุณวฒิุ ................ 139 16 การวิเคราะห์ขอ้มูลสภาพแวดลอ้มภายนอกของมหาวิทยาลยัศิลปากร .................. 166 17 ลาํดบัความสาํคญัของปัจจยัสภาพแวดลอ้มภายนอกของมหาวิทยาลยัศิลปากร ..... 171 18 การวิเคราะห์ขอ้มูลสภาพแวดลอ้มภายในของมหาวิทยาลยัศิลปากร ..................... 173 19 ลาํดบัความสาํคญัของปัจจยัสภาพแวดลอ้มภายในของมหาวิทยาลยัศิลปากร ....... 178 20 การวิเคราะห์ปัจจยัภายนอก ปัจจยัดา้นการเมืองและกฎหมาย .............................. 182 21 การวิเคราะห์ปัจจยัภายนอก ปัจจยัดา้นเศรษฐกิจ ................................................... 183 22 การวิเคราะห์ปัจจยัภายนอก ปัจจยัดา้นสงัคมและวฒันธรรม ................................. 184 23 การวิเคราะห์ปัจจยัภายนอก ปัจจยัดา้นเทคโนโลย ี................................................. 185 24 การวิเคราะห์ปัจจยัภายนอก ปัจจยัดา้นการแข่งขนั ................................................ 186 25 การวิเคราะห์ปัจจยัภายใน ปัจจยัดา้นนกัศึกษา ....................................................... 188 26 การวิเคราะห์ปัจจยัภายใน ปัจจยัดา้นอาจารยแ์ละบุคคลากร .................................. 189 27 การวิเคราะห์ปัจจยัภายใน ปัจจยัดา้นหลกัสูตร ...................................................... 190 28 การวิเคราะห์ปัจจยัภายใน ปัจจยัดา้นการวิจยั ......................................................... 191

  • ตารางท่ี หนา้ 29 การวิเคราะห์ปัจจยัภายใน ปัจจยัดา้นการบริการวิชาการ ....................................... 192 30 การวิเคราะห์ปัจจยัภายใน ปัจจยัดา้นการทาํนุบาํรุงศิลปวฒันธรรม ....................... 192 31 การวิเคราะห์ปัจจยัภายใน ปัจจยัดา้นการบริหารจดัการ ......................................... 193 32 สถานภาพส่วนตวัของผูต้อบแบบสอบถาม ........................................................... 197 33 ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานและระดบัความคิดเห็นเก่ียวกบัปัจจยัสภาพแวดลอ้ม

    ภายในท่ีเป็นจุดแขง็ของมหาวิทยาลยัศิลปากร ............................................. 199 34 ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานและระดบัความคิดเห็นเก่ียวกบัปัจจยัสภาพแวดลอ้ม ภายในท่ีเป็นจุดอ่อนของมหาวิทยาลยัศิลปากร ............................................ 200 35 แสดงค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานและระดบัความคิดเห็นเก่ียวกบัปัจจยัสภาพ แวดลอ้มภายนอกท่ีเป็นโอกาสของมหาวทิยาลยัศิลปากร ........................... 201 36 แสดงค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานและระดบัความคิดเห็นของปัจจยัสภาพ แวดลอ้มภายนอกท่ีเป็นภยัคุกคามของมหาวิทยาลยัศิลปากร ....................... 202 37 ผลการวิเคราะห์แนวโนม้ความเป็นไปไดส้าํหรับกลยทุธ์ของมหาวิทยาลยัศิลปากร ในช่วงแผนพฒันาการศึกษาแห่งชาติ ฉบบัท่ี 11ในดา้นวสิยัทศัน ์............... 210 38 ผลการวิเคราะห์แนวโนม้ความเป็นไปไดส้าํหรับกลยทุธ์ของมหาวิทยาลยัศิลปากร ในช่วงแผนพฒันาการศึกษาแห่งชาติ ฉบบัท่ี 11 ในดา้นพนัธกิจ ................. 212 39 ผลการวิเคราะห์แนวโนม้ความเป็นไปไดส้าํหรับกลยทุธ์ของมหาวทิยาลยัศิลปากร ในช่วงแผนพฒันาการศึกษาแห่งชาติ ฉบบัท่ี 11 ในดา้นเป้าประสงค ์.......... 214 40 ผลการวิเคราะห์แนวโนม้ความเป็นไปไดส้าํหรับกลยทุธ์ของมหาวิทยาลยัศิลปากร ในช่วงแผนพฒันาการศึกษาแห่งชาติ ฉบบัท่ี 11 ในดา้นกลยทุธ์ ................. 217 41 ผลการวิเคราะห์แนวโนม้ความเป็นไปไดส้าํหรับกลยทุธ์ของมหาวิทยาลยัศิลปากร ในช่วงแผนพฒันาการศึกษาแห่งชาติ ฉบบัท่ี 11 ในดา้นกลยทุธ์การผลิตบณัฑิต ท่ีมีความรู้ทกัษะวิชาชีพเชิงสร้างสรรค ์มีการบูรณาการความรู้และ รับผดิชอบต่อสงัคม ..................................................................................... 219 42 ผลการวิเคราะห์แนวโนม้ความเป็นไปไดส้าํหรับกลยทุธ์ของมหาวิทยาลยัศิลปากร ในช่วงแผนพฒันาการศึกษาแห่งชาติ ฉบบัท่ี 11 ในดา้นกลยทุธ์การพฒันา หลกัสูตรเชิงสร้างสรรคแ์ละการบูรณาการระหวา่งศาสตร์และศิลป์ ........... 222

  • ตารางท่ี หนา้ 43 ผลการวิเคราะห์แนวโนม้ความเป็นไปไดส้าํหรับกลยทุธ์ของมหาวิทยาลยัศิลปากร ในช่วงแผนพฒันาการศึกษาแห่งชาติ ฉบบัท่ี 11 ในดา้นกลยทุธ์การเป็น มหาวิทยาลยัวจิยัและการสร้างสรรค ์........................................................... 223 44 ผลการวิเคราะห์แนวโนม้ความเป็นไปไดส้าํหรับกลยทุธ์ของมหาวิทยาลยัศิลปากร ในช่วงแผนพฒันาการศึกษาแห่งชาติ ฉบบัท่ี 11 ในดา้นกลยทุธ์บริการวชิาการ โดยการถ่ายทอดความรู้ เทคโนโลยแีละผลงานวิจยัสู่สงัคม ........................ 226 45 ผลการวิเคราะห์แนวโนม้ความเป็นไปไดส้าํหรับกลยทุธ์ของมหาวิทยาลยัศิลปากร ในช่วงแผนพฒันาการศึกษาแห่งชาติ ฉบบัท่ี 11 ในดา้นกลยทุธ์สืบสาน สร้างสรรคส่์งเสริมศิลปะและวฒันธรรม ..................................................... 228 46 ผลการวิเคราะห์แนวโนม้ความเป็นไปไดส้าํหรับกลยทุธ์ของมหาวิทยาลยัศิลปากร ในช่วงแผนพฒันาการศึกษาแห่งชาติ ฉบบัท่ี 11 ในดา้นกลยทุธ์การ บริหารจดัการเชิงสร้างสรรค ์....................................................................... 230 47 ผลการวิเคราะห์แนวโนม้ความเป็นไปไดส้าํหรับกลยทุธ์ของมหาวิทยาลยัศิลปากร ในช่วงแผนพฒันาการศึกษาแห่งชาติ ฉบบัท่ี 11 ในดา้นกลยทุธ์ใชร้ะบบ เทคโนโลยสีารสนเทศและการส่ือสาร เพื่อเพิ่มผลสมัฤทธ์ิตามพนัธกิจ ของมหาวิทยาลยั .......................................................................................... 233 48 ผลการสงัเคราะห์ขอ้มูลร่างขอ้เสนอแนวทางแผนกลยทุธ์มหาวิทยาลยัศิลปากร ในช่วงแผนพฒันาการศึกษาแห่งชาติ ฉบบัท่ี 11 ในดา้นวสิยัทศัน ์.............. 237 49 ผลการวิเคราะห์ตรวจสอบขอ้เสนอแนวทางแผนกลยทุธ์มหาวิทยาลยัศิลปากร ในช่วงแผนพฒันาการศึกษาแห่งชาติฉบบัท่ี 11 ในดา้นพนัธกิจ .................. 238 50 ผลการวิเคราะห์ตรวจสอบขอ้เสนอแนวทางแผนกลยทุธ์มหาวิทยาลยัศิลปากร ในช่วงแผนพฒันาการศึกษาแห่งชาติฉบบัท่ี 11 ในดา้นเป้าประสงค ์........... 239 51 ผลการวิเคราะห์ตรวจสอบขอ้เสนอแนวทางแผนกลยทุธ์มหาวิทยาลยัศิลปากร ในช่วงแผนพฒันาการศึกษาแห่งชาติฉบบัท่ี 11 ในดา้นกลยทุธ์ .................. 240 52 ผลการวิเคราะห์ตรวจสอบขอ้เสนอแนวทางแผนกลยทุธ์มหาวิทยาลยัศิลปากรใน ช่วงแผนพฒันาการศึกษาแห่งชาติฉบบัท่ี 11 ท่ีเก่ียวกบัมาตรการของกลยทุธ์ ผลิตบณัฑิตท่ีมีความรู้ทกัษะวิชาชีพเชิงสร้างสรรค ์มีการบูรณาการความรู้ และรับผดิชอบต่อสงัคม .............................................................................. 241

  • ตารางท่ี หนา้ 53 ผลการวิเคราะห์ตรวจสอบขอ้เสนอแนวทางแผนกลยทุธ์มหาวิทยาลยัศิลปากรใน ช่วงแผนพฒันาการศึกษาแห่งชาติฉบบัท่ี 11 ท่ีเก่ียวกบัมาตรการของกลยทุธ์ การพฒันาหลกัสูตรเชิงสร้างสรรคแ์ละการบูรณาการระหวา่งศาสตร์ และศิลป์ ...................................................................................................... 243 54 ผลการวิเคราะห์ตรวจสอบขอ้เสนอแนวทางแผนกลยทุธ์มหาวิทยาลยัศิลปากรใน ช่วงแผนพฒันาการศึกษาแห่งชาติฉบบัท่ี 11 ท่ีเก่ียวกบัมาตรการของ กลยทุธ์การเป็นมหาวิทยาลยัวิจยัและการสร้างสรรค ์................................... 244 55 ผลการวิเคราะห์ตรวจสอบขอ้เสนอแนวทางแผนกลยทุธ์มหาวิทยาลยัศิลปากรใน ช่วงแผนพฒันาการศึกษาแห่งชาติฉบบัท่ี 11 ท่ีเก่ียวกบัมาตรการของ กลยทุธ์บริการวิชาการโดยการถ่ายทอดความรู้ เทคโนโลยแีละ ผลงานวิจยัสู่สงัคม ....................................................................................... 245 56 ผลการวิเคราะห์ตรวจสอบขอ้เสนอแนวทางแผนกลยทุธ์มหาวิทยาลยัศิลปากรใน ช่วงแผนพฒันาการศึกษาแห่งชาติฉบบัท่ี 11 ท่ีเก่ียวกบัมาตรการของ กลยทุธ์สืบสาน สร้างสรรคส่์งเสริมศิลปะและวฒันธรรม ........................... 246 57 ผลการวิเคราะห์ตรวจสอบขอ้เสนอแนวทางแผนกลยทุธ์มหาวิทยาลยัศิลปากรใน ช่วงแผนพฒันาการศึกษาแห่งชาติฉบบัท่ี 11 ท่ีเก่ียวกบัมาตรการของ กลยทุธ์การบริหารจดัการเชิงสร้างสรรค ์..................................................... 247 58 ผลการวิเคราะห์ตรวจสอบขอ้เสนอแนวทางแผนกลยทุธ์มหาวิทยาลยัศิลปากรใน ช่วงแผนพฒันาการศึกษาแห่งชาติฉบบัท่ี 11 ท่ีเก่ียวกบัมาตรการของ กลยทุธ์ใชร้ะบบเทคโนโลยสีารสนเทศและการส่ือสารเพ่ือเพิ่ม ผลสมัฤทธ์ิตามพนัธกิจของมหาวิทยาลยั ..................................................... 248 59 ขอ้เสนอแนวทางแผนกลยทุธ์มหาวิทยาลยัศิลปากรในช่วงแผนพฒันาการศึกษา แห่งชาติ ฉบบัท่ี 11 ท่ีเก่ียวขอ้งกบัคณะวิทยาการจดัการในกลยทุธ์ท่ี 1 ผลิตบณัฑิตท่ีมีความรู้ทกัษะวิชาชีพเชิงสร้างสรรค ์มีการบูรณาการความรู้ สู่สงัคม ........................................................................................................ 250 60 ขอ้เสนอแนวทางแผนกลยทุธ์มหาวิทยาลยัศิลปากรในช่วงแผนพฒันาการศึกษา แห่งชาติ ฉบบัท่ี 11 ท่ีเก่ียวขอ้งกบัคณะวิทยาการจดัการในกลยทุธ์ท่ี 2 การพฒันาหลกัสูตรเชิงสร้างสรรคแ์ละการบูรณาการระหวา่งศาสตร์ และศิลป์ ...................................................................................................... 254

  • ตารางท่ี หนา้ 61 ขอ้เสนอแนวทางแผนกลยทุธ์มหาวิทยาลยัศิลปากรในช่วงแผนพฒันาการศึกษา แห่งชาติ ฉบบัท่ี 11 ท่ีเก่ียวขอ้งกบัคณะวิทยาการจดัการในกลยทุธ์ท่ี 3 การเป็นมหาวทิยาลยัวจิยัและการสร้างสรรคช์ั้นนาํ ..................................... 256 62 ขอ้เสนอแนวทางแผนกลยทุธ์มหาวิทยาลยัศิลปากรในช่วงแผนพฒันาการศึกษา แห่งชาติ ฉบบัท่ี 11 ท่ีเก่ียวขอ้งกบัคณะวิทยาการจดัการในกลยทุธ์ท่ี 4 การเป็นมหาวิทยาลยัวิจยัและการสร้างสรรคช์ั้นนาํ ..................................... 258 63 ขอ้เสนอแนวทางแผนกลยทุธ์มหาวิทยาลยัศิลปากรในช่วงแผนพฒันาการศึกษา แห่งชาติ ฉบบัท่ี 11 ท่ีเก่ียวขอ้งกบัคณะวิทยาการจดัการในกลยทุธ์ท่ี 5 สืบสานสร้างสรรคส่์งเสริมศิลปะและวฒันธรรมสู่ความเป็นเลิศ ................ 260 64 ขอ้เสนอแนวทางแผนกลยทุธ์มหาวิทยาลยัศิลปากรในช่วงแผนพฒันาการศึกษา แห่งชาติ ฉบบัท่ี 11 ท่ีเก่ียวขอ้งกบัคณะวิทยาการจดัการในกลยทุธ์ท่ี 6 การบริหารจดัการเชิงสร้างสรรค ์................................................................. 262 65 ขอ้เสนอแนวทางแผนกลยทุธ์มหาวิทยาลยัศิลปากรในช่วงแผนพฒันาการศึกษา แห่งชาติ ฉบบัท่ี 11 ท่ีเก่ียวขอ้งกบัคณะวิทยาการจดัการในกลยทุธ์ท่ี 7 ใชร้ะบบเทคโนโลยสีารสนเทศและการส่ือสารเพ่ือเพิ่มผลสมัฤทธ์ิ ตามพนัธกิจของมหาวิทยาลยั ...................................................................... 264

  • สารบัญแผนภูมิ แผนภูมิท่ี หนา้

    1 กรอบแนวคิดของการวิจยั ...................................................................................... 13 2 รูปแบบการวางแผนกลยทุธ์ของสแตนล่ี ซี อบัราฮมั ............................................. 45 3 รูปแบบการวางแผนกลยทุธ์ของจอห์น เอม็ ไปรสนั และ ฟาร์นุม เค อลัสตนั ....... 46 4 รูปแบบการวางแผนกลยทุธ์ของแซมมวล ซี เซอร์โต และ เจ พอล ปีเตอร์ ............ 47 5 รูปแบบการวางแผนกลยทุธ์ของ โรเบร์ิต เอ พิชชส์ และ เดวิด เล .......................... 48 6 รูปแบบการวางแผนกลยทุธ์ของแมรี โคลเธอร์ ...................................................... 49 7 แสดงพลงัผลกัดนั 5 ประการ และผลกระทบต่ออุตสาหกรรม .............................. 57 8 แสดงการตรวจสอบสภาพแวดลอ้มภายนอก ......................................................... 58 9 การวิเคราะห์ตามลูกโซ่แห่งคุณค่า ......................................................................... 65 10 โครงร่าง7-S ของแมคคินซีย ์.................................................................................. 71 11 ขั้นตอนในการวิเคราะห์สภาพแวดลอ้มภายนอก ................................................... 79 12 ขั้นตอนในการวิเคราะห์สภาพแวดลอ้มภายใน ...................................................... 80 13 ตวัแบบ Five Force เพื่อวิเคราะห์สภาพการแข่งขนั ในอุตสาหกรรม .................... 93 14 โครงสร้างการบริหารงานมหาวิทยาลยัศิลปากร .................................................... 109 15 แสดงโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการมหาวิทยาลยัศิลปากร .................................. 110 16 แสดงขั้นตอนการดาํเนินการวิจยั ........................................................................... 127 17 วิธีการสุ่มตวัอยา่งจากบุคลากรมหาวิทยาลยัศิลปากร ............................................ 130

  • 1

    บทที ่1 บทนํา

    โลกาภิวตัน์ (globalization) เป็นกระแสโลกท่ีส่งผลให้เกิดการเปล่ียนแปลงอย่าง

    รวดเร็วอันเน่ืองมาจากการเปล่ียนผ่านจากยุคอุตสาหกรรมมาสู่ยุคเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีมีเทคโนโลยกีารส่ือสารต่างๆเป็นเคร่ืองมือท่ีทาํใหโ้ลกมีขนาดเลก็ลงในความหมายของความรวดเร็วในการติดต่อส่ือสาร ด้วยเหตุน้ีโลกาภิวตัน์จึงมีผลทาํให้มีการเปล่ียนแปลงในด้านต่างๆอย่างมากมายไม่ว่าจะเป็นดา้นวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี เศรษฐกิจ สังคมและการเมืองแมก้ระทัง่ดา้นการศึกษา

    การเปล่ียนแปลงในปัจจุบนั เป็นการเปล่ียนแปลงในยคุท่ี 3 นบัตั้งแต่ เดนิส ปาปิน ( Dennis Papin) นกัฟิสิกส์ชาวฝร่ังเศสไดอ้อกแบบวาลว์ลดความดนั (Release Valve) ทาํให้เกิดความคิดเก่ียวกบัเคร่ืองจกัรแบบกระบอกสูบ เม่ือ ค.ศ. 1680 ส่งผลทาํใหเ้กิดการพฒันาเคร่ืองจกัรไอนํ้ าและเกิดการปฏิวติัทางการคา้ในสมยัต่อมาซ่ึงเป็นการเปล่ียนแปลงในยคุท่ี 2 คือ การปฏิวติัอุตสาหกรรม ซ่ึงเร่ิมตน้ตั้งแต่ตอนกลางศตวรรษท่ี 18 ถึงตอนกลางศตวรรษท่ี 19 ปัจจุบนัเราอยูใ่นยุคการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดจากข่าวสารขอ้มูลและชีววิทยา1 ผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงในยุคกระแสโลกาภิวตัน์ท่ีหลัง่ไหลเขา้มาอยา่งรวดเร็วจนไม่อาจพยากรณ์ไดว้่า จะมีอะไรเกิดข้ึนบา้งทาํให้มนุษยต์อ้งมีการปรับตวัจากโลกยุคเก่ามาเป็นโลกยุคใหม่ ซ่ึงการปรับตวัเพื่อให้เขา้กบัความเปล่ียนแปลงท่ีรวดเร็วนั้นส่งผลทาํใหเ้กิดความเครียดและความรุนแรงข้ึนได ้ แต่อยา่งไรก็ตามการเปล่ียนแปลงเป็นส่ิงท่ีไม่อาจหลีกเล่ียงไดผ้ลกระทบของการเปล่ียนแปลงนอกจากส่งผลกระทบต่อมนุษยโ์ดยตรงแลว้แลว้ยงัส่งผลกระทบต่อองคก์รต่างๆอีกดว้ยหากองคก์รนั้นไม่มีความพร้อมในการรับมือกบัการเปล่ียนแปลง การเปล่ียนแปลงไดส้ร้างหายนะใหก้บัองคก์รหลายแห่งไม่เวน้แม้กระทั้งองคก์รท่ีเคยประสบความสาํเร็จมาในอดีตในขณะเดียวกนัการเปล่ียนแปลงก็ไดส้ร้างโอกาสใหม่ๆ ใหก้บัหลายองคก์รเช่นกนั ในการบริหารหากผูบ้ริหารไม่ชอบการเปล่ียนแปลง ก็จะพบกบัการส่งผลกระทบในทางท่ีเสียหาย “If you don’t like change,you’re going to like irrelevance even less”2

    1 Peter Drucker,The Essential Drucker (California : Tuttle-Mori Agency Co.,Ltd, 2003), 499-500. 2 Tom Peter, Re-imagine (London : Doring Kindersley Limited, 2003),17.

  • 2

    ประเทศไทยไดก้า้วเขา้สู่การเป็นสมาชิกของหมู่บา้นโลกเช่นเดียวกบัประเทศต่างๆ ในโลก และไดรั้บผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงดงักล่าว ซ่ึงเป็นแนวคิดท่ีแสดงใหเ้ห็นถึงความสาํคญัของการเปล่ียนแปลง เราทุกคนคงยอมรับว่าไม่มียุคสมยัใดท่ีการเปล่ียนแปลงจะรวดเร็วและมีผลกระทบรุนแรงเท่าในปัจจุบนั จากการเปล่ียนแปลงอยา่งรวดเร็วและส่งผลกระทบอยา่งทัว่ถึงน้ี ทาํให้หน่วยงาน องคก์ารทั้งภาครัฐและเอกชน จะตอ้งปรับความสามารถในการแข่งขนั ตอ้งปรับความสามารถในการคิดไปสู่อนาคต ความสามารถในการคาดคะเนแนวโนม้ในอนาคต เพื่อจะได้หาทางรับมือ หรือเผชิญหนา้กบัการเปล่ียนแปลงในอนาคตไดอ้ยา่งเหมาะสม3 การเปล่ียนแปลงในทุกๆดา้นของสงัคมโลกโดยเฉพาะดา้นเทคโนโลยสีารสนเทศท่ีเนน้ความรวดเร็วของขอ้มูลข่าวสารนั้น ทาํให้เกิดภาวการณ์แข่งขนักนัสูงมากในทุกๆดา้นและกวา้งขวางในทุกสังคมและทุกองคก์ร ในช่วงทศวรรษท่ีผ่านมาน้ีสภาพแวดลอ้มของการแข่งขนัทางธุรกิจได้มีการเปล่ียนแปลงอย่างรุนแรงและด้วยขอบเขตท่ีแผ่ไปในวงกว้างอันเป็นผลจากการขยายตัวของโลกาภิวัตน์ (globalization) การเปิดเสรีประเทศเกิดใหม่และการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในภูมิภาคต่างๆ องค์ประกอบแห่งการเปล่ียนแปลงดังกล่าวเป็นผลสืบเน่ืองจากพฒันาการของเทคโนโลยีการส่ือสารโดยเฉพาะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ การขนส่งและแรงกระตุน้สู่การเปล่ียนแปลงท่ีสาํคญัท่ีสุดคือ การส้ินสุดลงของระบบสงครามเยน็อนัเป็นการเปิดศกัราชระเบียบโลกใหม่และนาํมาซ่ึงระบบการแข่งขนัท่ีเขม้แขง็ไร้พรมแดน4

    มหาวิทยาลยัในฐานะท่ีเป็นองคก์รหน่ึงท่ีมีความสาํคญัในสังคม ยอ่มไดรั้บผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงน้ีดว้ยเช่นกนัและเป็นองคก์รท่ีสาํคญัท่ีตอ้งปรับตวัและสามารถช้ีนาํสังคมได้อีกดว้ยซ่ึง การปรับตวัของมหาวิทยาลยัมีลกัษณะพิเศษท่ีเป็นการปรับตวัเพื่อความเป็นผูน้าํ เพื่อเป็นสถาบนัท่ีทาํหน้าท่ีช้ีนาํสังคม ศึกษาแนวทางการเปล่ียนแปลงของสังคมให้สังคมปรับเปล่ียนในทิศทางท่ีมีคุณค่า มีความหมายต่อคนในสงัคมอยา่งแทจ้ริง5

    ดงันั้นมหาวิทยาลยัตอ้งมีการปรับตวัเพื่อแสดงบทบาทในการช้ีนาํสงัคมเพราะมหาวิทยาลยัจะตอ้งพบกบัการเปล่ียนแปลงในหลายๆ ดา้น เช่น องคก์ารการคา้โลก (World Trade Organization, WTO) ไดก้าํหนดวา่ตั้งแต่ปี ค.ศ.2002 ใหก้ารศึกษาเป็นการบริการซ่ึงเปิดใหมี้การ

    3 อุทยั บุญประเสริฐ, การวางแผนการศึกษา (กรุงเทพมหานคร : ภาควชิาการบริหารการศึกษา คณะ

    ครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยั, 2547 ), 44-45. 4 สมชาย ภคภาสน์วิวฒัน์, การบริหารเชิงกลยทุธ์ พิมพค์ร้ังท่ี 10 (กรุงเทพฯ :สาํนกัพิมพอ์มรินทร์,

    2546),คาํนาํ. 5 ไพฑูรย ์สินลารัตน์, “การบริหารจดัการอุดมศึกษา : หลกัการและแนวทางตามแนวปฏิรูป,”

    เอกสารเสนอต่อสาํนกังานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, 2542,5.

  • 3 แข่งขนัโดยเสรี ทาํใหไ้ม่สามารถยบัย ั้งการจดัตั้งสถาบนัการศึกษาจากต่างประเทศเขา้มาใหบ้ริการการศึกษาในประเทศไทยได ้ ทางภาครัฐทาํไดเ้พยีงการดูแลควบคุมคุณภาพของการจดัการศึกษาซ่ึงทาํใหส้ถาบนัอุดมศึกษาไทยเสียเปรียบเน่ืองจากความสามารถในการจดัหาเทคโนโลยท่ีีมีตน้ทุนท่ีตํ่ากวา่และมีความกา้วหนา้มากกวา่ 6 จากการเปล่ียนแปลงดงักล่าวจึงทาํใหม้หาวิทยาลยัจาํเป็นตอ้งปรับตวัเพื่อรองรับการเปล่ียนแปลงเพื่อความอยูร่อดของมหาวิทยาลยัเองและเพ่ือทาํหนา้ท่ีเป็นองคก์รช้ีนาํสงัคมไดต่้อไป

    ความเป็นมาและความสําคญัของปัญหา

    สาํนกังานคณะกรรมการอุดมศึกษากระทรวงศึกษาธิการซ่ึงเป็นหน่วยงานท่ีกาํกบัดูแลสถาบนัอุดมศึกษาในปัจจุบนัไดด้าํเนินการจดัทาํ กรอบแผนอุดมศึกษา 15 ปี (พ.ศ. 2551-2565) เพื่อให้เป็นแผนรุกไปสู่อนาคตสําหรับให้อุดมศึกษามีบทบาทสาํคญัในการสร้างเสริมภาพลกัษณ์สงัคมท่ีพึงประสงคแ์ละสอดคลอ้งต่อการเปล่ียนแปลงของประเทศในดา้นต่างๆและเพ่ือเป็นแผนนาํทางของระบบอุดมศึกษาใชเ้ป็นแนวทางในการทาํแผนพฒันาสถาบนัระยะกลางและรายปี7

    จะเห็นไดว้่าจากกรอบแผนอุดมศึกษา 15 ปีของสาํนกังานคณะกรรมการอุดมศึกษากระทรวงศึกษาธิการนั้นเป็นการกาํหนดแผนในเชิงรุกและเป็นส่ิงท่ีทาํให้มหาวิทยาลยัซ่ึงเป็นสถาบนัอุดมศึกษาตอ้งมีแผนงานระยะยาวและจาํเป็นตอ้งมีทิศทางท่ีสัมพนัธ์กับแผนงานของสาํนกังานคณะกรรมการอุดมศึกษา การเตรียมการในอนาคตของมหาวิทยาลยั นอกจากจะตอ้งมีการวางแผนระยะยาวแลว้ จะตอ้งเป็นการดาํเนินการอย่างมีแผน เพื่อการเปล่ียนแปลงโดยโครงสร้างใหญ่เป็นหลกัมีผลต่อการดาํเนินการมากและการวางแผนอย่างมียุทธศาสตร์นั้นตอ้งมองทั้งระบบ เพราะมหาวิทยาลยัเป็นระบบท่ีไม่สามารถพฒันาไดด้ว้ยตนเองตอ้งข้ึนอยูก่บัสภาพแวดลอ้มหลายๆ ประการทั้งภายนอกและภายในและควรให้ความสาํคญักบัแนวคิดท่ีถูกตอ้งมากกว่าให้ความสาํคญักบัรายละเอียด ตอ้งทาํความเขา้ใจกบัอนาคต มีการมองอนาคตโดยการมองตอ้งมองในเชิงการวางแผนเพื่อการเปล่ียนแปลงและตอ้งรู้เส้นทางการเปล่ียนแปลงดว้ย รวมทั้งรู้ว่าส่ิงใดหรืออะไรมีความสําคญัท่ีแตกต่างจากส่ิงอ่ืนหรือรู้ลาํดบัความสําคญัของส่ิงต่างๆ นั่นเอง ความรู้เหล่าน้ีตอ้งอาศยัการวิเคราะห์อย่างละเอียดซ่ึงประกอบไปดว้ยการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและภยัคุกคาม ซ่ึงการวิเคราะห์เหล่าน้ีคือ การพิจารณาและการวิเคราะห์สภาพแวดลอ้มภายนอกองคก์ารและการวิเคราะห์ทรัพยากรและศกัยภาพภายในขององคก์าร

    6 รุ่ง แกว้แดง, “เง่ือนไข WTO การศึกษาตอ้งเปิดแข่งขนัเสรี,”ข่าวสด, 6 กนัยายน 2543,5. 7 ทบวงมหาวทิยาลยั, กรอบแผนอุดมศึกษา 15 ปีฉบบัท่ี 2 (พ.ศ. 2551-2565) (กรุงเทพมหานคร :

    โรงพิมพแ์ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยั, 2550) ,คาํนาํ.

  • 4

    มหาวิทยาลยัเป็นสถาบนัอุดมศึกษาชั้นสูงท่ีทาํหน้าท่ีพฒันาทรัพยากรมนุษย ์ซ่ึงเป็นปัจจยัท่ีสําคญัในการแข่งขนัของประเทศ มหาวิทยาลยัจึงเป็นสถาบนัท่ีทาํหน้าท่ีผลิตทรัพยากรมนุษยท่ี์มีคุณภาพให้กบัสังคม มหาวิทยาลยัจะเป็นสถาบนัท่ีมีคุณภาพในการผลิตคนให้กบัสังคมหรือมีช่ือเสียงมากน้อยแค่ไหน ข้ึนอยู่กบัผูบ้ริหารของมหาวิทยาลยัว่ามีความสามารถเชิงวิชาการและความสามารถในการบริหารมากนอ้ยเพียงใดโดยเฉพาะความเป็นผูมี้วิสัยทศัน์ท่ียาวไกลและมีนวตักรรมทางการบริหารเพื่อนาํมาใชเ้ป็นเคร่ืองมือในการบริหารงานอุดมศึกษา

    แนวคิดและเคร่ืองมือทางการบริหารท่ีเป็นประโยชน์และมีประสิทธิภาพซ่ึงสามารถกาํหนดทิศทาง เป้าหมายของมหาวิทยาลยัในอนาคตไดเ้ป็นอยา่งดีอยา่งหน่ึงคือ การวางแผนกลยทุธ์ ซ่ึงเป็นกลวิธีท่ีเหมาะสมท่ีสุดในการวางแผนเพื่ออนาคตของมหาวิทยาลยั8 ในการกาํหนดกลยทุธ์ท่ีดีนั้ นก็จะนําไปสู่การนําและการบริหารหน่วยงานไปสู่อนาคตท่ีเป็นจริงได้9 แนวคิดเร่ือง การวางแผนกลยทุธ์ไดเ้ขา้มามีบทบาทต่อสถาบนัอุดมศึกษาเพื่อช่วยทาํใหม้หาวิทยาลยัสามารถดาํรงอยู่และพฒันาองคก์ารภายใตส้ภาพการณ์ท่ีเปล่ียนแปลงอยา่งรวดเร็วในยคุโลกาภิวตัรและการวางแผนกลยทุธ์เป็นการวางแผนมุ่งไปในอนาคต มีกระบวนการคิดหาวิธีการท่ีดีท่ีสุดโดยใหค้วามสาํคญักบัผลกระทบจากปัจจยัสภาพแวดลอ้มทั้งภายนอกและภายใน ตลอดทุกมิติขององคก์าร รวมทั้งมีการยอมรับร่วมกนัของคนในองคก์าร จึงอาจกล่าวไดว้่า การวางแผนกลยุทธ์มีความจาํเป็นอย่างมากสําหรับผูบ้ริหารท่ีมุ่งหวงัผลสําเร็จในการดาํเนินงานในองค์การท่ีซับซ้อนหรือองค์การท่ีไดรั้บผลกระทบของการเปล่ียนแปลงท่ีรวดเร็วของสภาพแวดล้อมภายนอกอาทิ การเปล่ียนแปลงโครงสร้างของสังคม การขยายตวัอย่างรวดเร็วทางเทคนิค วิทยาการต่างๆ หรือการเปล่ียนแปลงทางกฎหมาย ซ่ึงอาจส่งผลกระทบต่อการดาํเนินงานขององคก์ารทั้งส้ิน ดงันั้นผูบ้ริหารจึงตอ้งหาวิธีการในการกาํหนดทิศทางการดาํเนินงานท่ีชดัเจน และตอ้งจดัสรรทรัพยากรท่ีมีอยูอ่ยา่งจาํกดัให้เกิดประโยชน์สูงสุด เพื่อให้สามารถเผชิญกับการเปล่ียนแปลงต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนได้10นอกจากน้ีผลการวิจยัเร่ือง การใชเ้คร่ืองมือการจดัการในองคก์ารภาครัฐพบว่า สถานภาพการใชเ้คร่ืองมือการจดัการในภาครัฐท่ีไดรั้บความนิยมสูงสุดอนัดบัหน่ึงคือ การวางแผนกลยทุธ์ (Strategic Planning)

    8 Kotler P.F. and Murphy P.F. “Strategic Planning for Higher Education.” Journal of Education

    52(1981) : 470. 9 Tucker, J.G. On mission and accountability. Education.[Online],accessed 15 December 2007.

    Available from http://findarticles.com/p/articles/mi_qa3673/is_n3_v116/ai_n28669982/ 10 ผสุดี พลสารัมย,์กลยทุธ์การบริหารมหาวทิยาลยัไทยเพ่ือความเป็นเลิศทางวิชาการในศตวรรษท่ี

    21 (กรุงเทพมหานคร : จุฬาล�