สารบัญ - pcd.go.thinfofile.pcd.go.th/air/vocinventory.pdf · สารบัญ...

26

Upload: others

Post on 01-Jun-2020

8 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: สารบัญ - PCD.go.thinfofile.pcd.go.th/air/VOCinventory.pdf · สารบัญ บทที่1 บทน ํา (Introduction) 1.1 แหล งกําเนิดแบบปล
Page 2: สารบัญ - PCD.go.thinfofile.pcd.go.th/air/VOCinventory.pdf · สารบัญ บทที่1 บทน ํา (Introduction) 1.1 แหล งกําเนิดแบบปล

สารบัญ บทที่ 1 บทนํา (Introduction)

1.1 แหลงกาํเนิดแบบปลอง (Stationary Sources) 1 1.2 แหลงกาํเนิดชนิดฟุงกระจาย (Fugitive Sources) 1

1.2.1 Pumps 1 1.2.2 Valves 2 1.2.3 Compressors 2 1.2.4 Pressure Relief Devices 2 1.2.5 Flanges 2 1.2.6 Connectors 2 1.2.7 Agitators 2 1.2.8 Open-end lines 2 1.2.9 Sampling Connections 2 1.2.10 Storage Tanks 2

บทที่ 2 วิธีการตรวจวัด (Method for Monitoring)

2.1 การตรวจวัด Stationary Source Emission 5 2.2 การตรวจวัด Fugitive Source Emission 5

2.2.1 Flame Ionization Detector (FID) 5 2.2.2 Photo Ionization Detector (PID) 6 2.2.3 Fourier Transform Detector (FTIR) 6

บทที่ 3 การจัดทําฐานขอมูลสารอินทรียระเหยจากแหลงกาํเนิด (Emission Inventory)

3.1 การจัดทาํฐานขอมูลของ Stationary Sources Inventory 7 3.1.1 สํารวจขอมูล (Source survey) 7 3.1.2 เกณฑการควบคุม (Emission Control Criteria) 7

3.2 การจัดทาํฐานขอมูลของ Fugitive Sources Inventory 7 3.2.1 สํารวจขอมูล (Source survey) 7 3.2.2 การคาํนวณ Emission Factors 8 3.2.3 เกณฑการควบคุม (Leak Identification) 12 3.2.4 ความถี่ในการตรวจวัด 12 3.2.5 การซอมแซมและบํารุงรักษา 12

Page 3: สารบัญ - PCD.go.thinfofile.pcd.go.th/air/VOCinventory.pdf · สารบัญ บทที่1 บทน ํา (Introduction) 1.1 แหล งกําเนิดแบบปล

บทที่ 4 แบบฟอรมท่ีใชในการจดัทําบัญชีขอมูลแหลงกําเนิดสารอินทรียระเหย

4.1 แบบฟอรมสําหรับ Stationary Source Inventory 14 4.1.1 ทะเบียนรหัสของแหลงกําเนิดชนดิ Stationary Source Emission (F1) 14 4.1.2 รายละเอียดการเก็บตัวอยาง Stationary Source Emission (F2) 15 4.1.3 การตรวจวัดแหลงกําเนิดชนิด Stationary Source Emission (F3) 16

4.2 แบบฟอรมสําหรับ Fugitive Source Inventory 17 4.2.1 ทะเบียนรหัสอุปกรณชนิด Fugitive Source Emission (F4) 17 4.2.2 จํานวนอุปกรณที่เปนแหลงกําเนิดชนิด Fugitive Source Emission (F5) 18 4.2.3 การตรวจวัดแหลงกําเนิด Fugitive Source Emission (F6) 19 4.2.4 การประเมินอัตราการระบายสารอนิทรียระเหยตอป 20 (เฉพาะ Fugitive Source Emission) (F7) 4.2.5 การประเมินอัตราการระบายสารอนิทรียระเหยของโรงงาน/ป 21 (Stationary Sources Emission + Fugitive Source Emission) (F8) 4.2.6 การประเมินอัตราการรั่วไหลและแผนการติดตามตรวจสอบครั้งตอไป (F9) 22

เอกสารอางองิ 23

Page 4: สารบัญ - PCD.go.thinfofile.pcd.go.th/air/VOCinventory.pdf · สารบัญ บทที่1 บทน ํา (Introduction) 1.1 แหล งกําเนิดแบบปล

1

บทที่ 1 บทนํา

(Introduction) จุดประสงคของคูมือนี้เพ่ือใชเปนแนวทางในการจัดทําบัญชีขอมูลสารอินทรียระเหยจาก

โรงกลั่นน้ํามันและโรงงานปโตรเคมี หรือโรงงานทีผ่ลิตหรอืเกี่ยวของกับการผลติสารอินทรียระเหย

การควบคุมการระบายของสารอินทรยีระเหย ทําใหเกิดประโยชนทั้งผูประกอบการเองและสิ่งแวดลอม

ประโยชนที่จะไดรับไดแก 1. ลดการใชสารอินทรียรวมทั้งตัวทําละลายตางๆ 2. เพ่ิมผลผลิตของโรงงาน 3. ลดคาใชจายในการบํารงุรักษา 4. ลดปญหารองเรียนเรื่องกลิ่นรบกวน 5. พัฒนาคุณภาพสิ่งแวดลอม สุขภาพอนามัย และความปลอดภยัของประชาชนใหดขีึ้น 6. รักษาภาพพจนของผูประกอบการและสามารถอยูรวมกับชุมชนไดโดยไมเกิดปญหา วิธีดําเนินการจะครอบคลุมเฉพาะการจัดทําฐานขอมูล (Emission Inventory) ของ

Stationary Source Emission และ Fugitive Emission แหลงกําเนิดสารอินทรียระเหยที่พบในโรงกลั่นน้ํามันและโรงงานปโตรเคมแีบงออกเปน 2 ชนิด 1.1 แหลงกําเนิดแบบปลอง (Stationary Sources)

เปนแหลงกําเนิดจากการระบายจากปลอง (Stacks) หรือทอ (Vents) มีทั้งชนิดทีม่ีระบบบําบัดสารอินทรยีระเหย (Controlled) และชนิดทีไ่มมีระบบบําบัด (Uncontrolled) รวมถึงปลองที่ใชเผาสารอินทรยีระเหย (Flare) สารอินทรยีระเหยสวนใหญที่ระบายออกจะถูกทาํลายโดยความรอน

ของปลอง 1.2 แหลงกําเนิดชนดิฟุงกระจาย (Fugitive Sources)

เปนแหลงกําเนิดที่มีลักษณะเปนการฟุงกระจายจากการรั่วไหล เปนแหลงกําเนิดสารอินทรีย

ระเหยที่พบมากที่สุดในโรงกลั่นน้ํามันและโรงงานปโตรเคมี ไดแก 1.2.1 Pumps เปนอุปกรณทีใ่ชในโรงกลั่นน้ํามันและโรงงานปโตรเคมีเพ่ือใชในการ

ขับเคลื่อนสารอินทรียที่เปนของเหลว Pumps ที่ใชกนัมากที่สุดเปนชนิด Centrifugal Pumps ซึ่งใชแรงเหวีย่งจากจุดศูนยกลางโดยมแีกนหมุน (shaft) ไปหมุนแผนหมุน (Impeller) ทําใหเกิดแรงดันในการขับเคลื่อนสารละลาย สารอินทรยีสามารถรั่วออกมาจากรอยตอระหวางแกนหมุนและสวนที่เปน

การจัดทําบัญชีขอมูลแหลงกําเนิดสารอินทรียระเหยจากโรงกลั่นนํ้ามันและโรงงานปโตรเคมี

Page 5: สารบัญ - PCD.go.thinfofile.pcd.go.th/air/VOCinventory.pdf · สารบัญ บทที่1 บทน ํา (Introduction) 1.1 แหล งกําเนิดแบบปล

2

กลองหอหุมปม (Casing) โดยปกติจึงมีตวักันรั่ว (Seal) ระหวางรอยตอดังกลาวเพือ่ปองกันของเหลวภายใน Pump การรั่วไหลของสารอนิทรียระเหยเกิดจากการชํารุดเสียหายของตัวกันรั่ว (Seal) ดังน้ันควรมีการตรวจดวยสายตา (Visual) เปนประจําวามีของเหลวหยดออกมาจาก Pump หรือไม

1.2.2 Valves เปนอุปกรณทีใ่ชในการควบคมุอัตราการไหลของของเหลวหรือแกส มี

องคประกอบหลักคือกานวาวล (Stem) ที่สามารถหมนุเพื่อควบคมุอัตราการไหลของของเหลวหรอืแกส

โดยปกติกานวาวลจะมี O-ring ปองกันการรั่วซึมของของเหลวหรือแกส หาก O-ring ชํารดุจะทําใหเกิดการรั่วไหลของสารอินทรยีระเหยออกจากกานวาวล

1.2.3 Compressors เปนอุปกรณที่ใชทาํหนาที่เชนเดียวกบั Pump แตใชในการ

ขับเคลื่อนสารอินทรียที่เปนกาซ ซึ่งจะมีตวักันรั่ว (Seal) เชนเดียวกับ Pump แตเนื่องจาก Compressors ใชในการขับเคล่ือนสารอินทรยีที่เปนกาซจึงไมสามารถตรวจสอบการรั่วซมึไดดวยสายตา

เชนเดียวกับ Pumps 1.2.4 Pressure Relief Devices เปนอุปกรณที่ใชในการปองกันความดันของไอสาร

ไมใหสูงเกินเกณฑทีต่ั้งไว Pressure Relief Devices จะปลอยไอของสารอินทรียระเหยออกสู

ส่ิงแวดลอมโดยอัตโนมัตหิากความดันของไอสารเกินจากเกณซึ่งในขณะนั้นจะไมถือวามีการรั่วไหล

ของสารอินทรียระเหย การตรวจสอบการรั่วไหลจะทําขณะที่ Pressure Relief Devices ยังไมทํางาน 1.2.5 Flanges เปนอุปกรณทีใ่ชเชื่อมตอระหวางทอ (Piping) และอุปกรณอื่นๆ เชน

Pumps, Valves มีลักษณะเปนทอโลหะที่มีปกกลมรอบๆตรงปากทัง้สองดาน โดยปกติจะมีปะเก็น

(Gasket-sealed) ปองกันการรั่วไหล Flanges โดยปกติจะใชกับทอที่มีขนาดตั้งแต 2 นิ้วขึ้นไป การ

รั่วไหลของสารอินทรียระเหยเกิดจากการใสปะเก็นไมดีพอ อายุการใชงาน ความรอน และการชาํรุด

เสียหายของปะเก็นรวมถึงการใชปะเก็นทีไ่มมีคุณภาพ 1.2.6 Connectors เปนอุปกรณทีใ่ชเชื่อมตอระหวางทอ (Piping) และอุปกรณอื่นๆ

เชนเดียวกับ Flanges แตใชกับทอที่มีขนาดตั้งแต 2 นิ้วลงมา มีลักษณะเปนทอโลหะที่ปลายเชื่อมตอทําเปนเกลียว คือเกลียวนอก (Male) และเกลียวใน (Female) เกลียวนอกจะพันดวยเทปกันซึมซึ่งปกติจะทาํดวยวัสดุปองกันการรั่วซึม การรั่วไหลของสารอินทรียระเหยเกิดจากการชาํรดุของเทปกัน

ซึมเน่ืองจากอายุการใชงาน การตดิตั้งที่ไมดีพอ หรือความรอน 1.2.7 Agitators เปนอุปกรณทีใ่ชกวนของเหลวหลายชนิดผสมใหเขากัน ประกอบดวย

ถังบรรจุสารละลายดานบนมีแกนหมุน (shaft) ที่มใีบพัดที่ปลายเพือ่ผสมสารละลาย ระหวางแกนหมุน

และปากถังจะมีวัสดุกันรั่ว (Seal) ของสารอินทรียระเหยเชนเดียวกับ Pumps วัสดุกันรั่วมี 4 ชนิด คือ

Packed Seals, Mechanical Seals, Hydraulic Seals, และ Lip Seals 1.2.8 Open-ended lines เปนสวนปลายทอทีต่อจากวาวล (Valves) กรณีที่วาวลนั้น

ทําหนาที่อยูปลายทอ หากเกิดปญหาวาวลปดไมสนิทหรือชํารุดจะเกิดการรั่วซึมทีป่ลายทอ 1.2.9 Sampling Connections เปนสวนที่ใชเพ่ือการเก็บตัวอยางสารละลายใน

กระบวนการผลิต การรั่วไหลจะเกิดขณะเก็บตัวอยาง

การจัดทําบัญชีขอมูลแหลงกําเนิดสารอินทรียระเหยจากโรงกลั่นนํ้ามันและโรงงานปโตรเคมี

Page 6: สารบัญ - PCD.go.thinfofile.pcd.go.th/air/VOCinventory.pdf · สารบัญ บทที่1 บทน ํา (Introduction) 1.1 แหล งกําเนิดแบบปล

3

1.2.10 Storage Tanks เปนอุปกรณทีี่ใชเกบ็สารอินทรยีระเหยแบงออกเปนหลายชนิด

ไดแก Fixed Roof Tanks และ Floating Roof Tanks การรั่วไหลสามารถเกิดไดทั้งสภาวะปกติและในระหวางการขนถานสารอินทรีย การคํานวณอตัราการระบายสารอินทรียระเหยสามารถคํานวณได

จากสมการทีพั่ฒนาโดย The American Petroleum Institute (API) ซึ่งในคูมอืนี้มิไดกลาวถึงการจัดทาํฐานขอมูลการระบายสารอินทรยีระเหยของ Storage Tanks แตสามารถศึกษารายละเอียดไดจาก “Compilation of Air Pollutant Emission Factors Volume I: Stationary Point and Area Sources (AP-42), Section 7.1 Organic Liquid Storage Tank” ของ US-EPA หรือที ่www.epa.gov/ttn/chief/ap42/ch07/ สําหรับ Software ที่ US-EPA พัฒนาขึ้นมาสําหรับใชในการคํานวณอตัราการระบายสารอินทรียระเหยจาก Storage Tanks โดยเฉพาะ สามารถคนหาไดจาก

www.epa.gov/ttnchei1/software/tanks/tank4man.pdf

รูปที่ 1 แสดงองคประกอบหลักของแหลงกําเนิดชนิด Fugitive Source Emission ในแตละ Stream จากการศึกษาแหลงกําเนิดสารอินทรียระเหยชนิด Fugitive Emission ในโรงงานของ

ประเทศอังกฤษพบวา Valves เปนแหลงกําเนิดหลัก (Main Sources) คือมีการระบายสารอนิทรียระเหยมากที่สุดคือประมาณ 60 % (รูปที ่1) ซึ่งอาจเปนแนวทางใหผูประกอบการจดัลําดับความสําคญัในการวางแผนการควบคุมสารอินทรียระเหย ดังน้ันขอแนะนําในการลดการระบายสารอินทรียระเหยจาก Fugitive Emission ควรมีการประเมินอัตราการระบายสารอนิทรียระเหยในเบื้องตนโดยวิธีที่จะกลาวใน บทที่ 3 เพ่ือประเมินหาแหลงกําเนิดหลัก (Main Sources) จากนั้นจึงจัดลําดับความสําคัญ

การจัดทําบัญชีขอมูลแหลงกําเนิดสารอินทรียระเหยจากโรงกลั่นนํ้ามันและโรงงานปโตรเคมี

Page 7: สารบัญ - PCD.go.thinfofile.pcd.go.th/air/VOCinventory.pdf · สารบัญ บทที่1 บทน ํา (Introduction) 1.1 แหล งกําเนิดแบบปล

4

ของแหลงกําเนิดที่ควรไดรบัการตรวจสอบ บํารุงรักษา เปนลาํดับตนๆ ทบทวนขัน้ตอนการบาํรุงรกัษา

และตรวจสอบดูวาอุปกรณตางๆวาไดรับการตดิตั้งและบํารุงรกัษาอยางถูกตอง หาวิธีการในการ

ตรวจสอบการรั่วไหลซึ่งจะใชวิธีการที่งาย ราคาไมแพงและมีประสิทธิภาพ และควรเปลี่ยนขั้นตอน

ผลิตหรืออุปกรณที่เปนแหลงกําเนิดหากพบวาแหลงกําเนิดใดไมคุมตอการซอมแซมหรือบํารุงรักษา

รูปที่ 2 แสดงสัดสวนการระบายสารอนิทรียระเหยจากแหลงกาํเนดิชนิด Fugitive Source Emission

การจัดทําบัญชีขอมูลแหลงกําเนิดสารอินทรียระเหยจากโรงกลั่นนํ้ามันและโรงงานปโตรเคมี

Page 8: สารบัญ - PCD.go.thinfofile.pcd.go.th/air/VOCinventory.pdf · สารบัญ บทที่1 บทน ํา (Introduction) 1.1 แหล งกําเนิดแบบปล

5

บทที่ 2 วิธีการตรวจวัด

(Method for Monitoring) การตรวจวัดสารอินทรียระเหยที่ใชในโรงกลั่นน้ํามันและโรงงานปโตรเคม ี จะตรวจวัดใน

รูปของปริมาณสารอินทรียระเหยทั้งหมด (Total Organic Compounds) เปนการตรวจวัดความเขมขนของ Carbon ซึ่งถาเปนการตรวจวัดแหลงกําเนิดที่มีลักษณะเปนการฟุงกระจาย (Fugitive Emission) จากการรั่วไหลจะใชวิธีของ US-EPA Method 21 แตหากเปนการตรวจวัดจากแหลงกําเนดิที่เปน

Stationary Source Emission เชน ปลอง (Stack) หรือทอ (Vent) จะใชวิธีของ US-EPA Method 25A หรือ 25B 2.1 การตรวจวัด Stationary Source Emission

การตรวจวัดจากแหลงกําเนดิที่เปน Stationary Source Emission เชน ปลอง (Stack) หรือทอ (Vent) ใชวิธีของ US-EPA Method 25A หรอื 25B สําหรบั Method 25A จะใชหัวตรวจวัดชนิด Flame Ionization Detector (FID) ซึ่งใชหลกัการคอืสารอินทรียระเหยถูก Oxidize ดวยความรอนจากเปลวไฟทีเ่กิดจากกาซ Hydrogen ซึ่งอยูระหวางขัว้ Electrode เกิด Ionization ทําใหเกิดกระแสระหวางขั้ว Electrode สัดสวนของปริมาณ Carbon ทั้งหมดจะทาํใหเกิดกระแสที่เพ่ิมขึ้น สวน Method 25B จะใชหวัตรวจวดัชนิด Nondispersive Infrared (NDIR) ซึ่งใชหลกัการการดูดกลืนแสง Infrared ที่ความยาวคลืน่แตกตางกันของ Functional Group ที่เปนองคประกอบในสารอินทรยีระเหย

วิธีการตรวจวดัทั้ง Method 25A และ 25B จะเก็บตัวอยางดวยวิธีเดียวกันโดยตัวอยางอากาศจากปลองหรือทอถูกดูดดวยอัตราทีค่งทีท่ีท่ราบอัตราการดูดที่แนนอน ผานทอที่ใหความรอน (Heated Sample Line) เพ่ือปองกันการกลั่นตัวของไอน้ํา ผานเขาสู Glass Fiber Filter เพ่ือกรองฝุนละอองกอนผานเขาสูหัวตรวจวัดซึ่งถาเปน Method 25A หัวตรวจวัดจะเปน FID แตหากเปน Method 25B หัวตรวจวัดจะเปน NDIR ผลการตรวจวดัจะอยูในรูปของความเขมขนของ Carbon ทั้งหมดตอหนวยปริมาตรอากาศ

กรณีการใชหวัตรวจวัดชนดิ FID จะตองใช Hydrogen Gas จุดเปลวไฟเพื่อใชในการ Oxidize สารอินทรียระเหยใหเปน Carbon dioxide จึงตองระมัดระวังกรณทีี่ใชในพื้นที่ที่มีสารไวไฟ 2.2 การตรวจวัด Fugitive Source Emission

การตรวจวัดการรั่วไหลของสารอินทรียระเหยชนิด Fugitive Emission เปนการตรวจวัดในรูป TOC (Total Organic Compounds) วัดปริมาณ Carbon ทั้งหมด ใชเครื่องมือตรวจวดัเปนชนดิ

Potable Equipment ซึ่งตาม US-EPA Method 21 สามารถใชเครือ่งมือไดหลากหลายชนิดไดแก

การจัดทําบัญชีขอมูลแหลงกําเนิดสารอินทรียระเหยจากโรงกลั่นนํ้ามันและโรงงานปโตรเคมี

Page 9: สารบัญ - PCD.go.thinfofile.pcd.go.th/air/VOCinventory.pdf · สารบัญ บทที่1 บทน ํา (Introduction) 1.1 แหล งกําเนิดแบบปล

6

2.2.1 Flame Ionization Detectors (FID) หัวตรวจวัดชนิดนี้จะเปลี่ยนสารอินทรยีระเหยโดยการเผาในเปลวไฟที่เกิดจากกาซ Hydrogen ที่อยูระหวางขั้ว Electrode เกิด Ionization ของสารอินทรียระเหย ทาํใหเกิดกระแสระหวางขั้ว Electrode สัดสวนของปริมาณ Carbon ทั้งหมดจะทาํใหเกิดกระแสที่เพ่ิมขึ้น ดวยเหตุนีห้ัวตรวจวัด FID จึงเปรียบเสมือนเครื่องตรวจนับปริมาณ Carbon หัวตรวจวดัชนดินี้ใชสําหรับการตรวจวัดสารอินทรยีปรมิาณคอนขางมาก จึงเหมาะสําหรับโรงงานใหญๆ ที่มีอัตราการรั่วไหลสูงและสามารถใชตรวจวัดก็าซที่มสีวนผสมของสารอนินทรีย (Inorganic Gas) ได นอกจากนี้ยงัสามารถตอเขากับ Gas Chromatograph เพ่ือใชในการตรวจวดัสารอินทรียแบบแยกชนิด

(Individual Parameters) ขอควรระวังสําหรับหัวตรวจวัดชนิดนี้คือความชื้น หากกาซตวัอยางมี

ความชื้นสูงอาจทําใหเกิดหยดน้ําในหัวตรวจวัดจึงควรใช Heated Sample Lines 2.2.2 Photo Ionization Detectors (PID) หัวตรวจวัดชนดินี้ทํางานคลายกับ FID แต

ใช High Voltage Ultraviolet Lamp ในการ Ionize สารอินทรยีระเหยทาํใหเกิดกระแสเชนเดียวกับ FID แตมีขอที่ดกีวาคอืไมจําเปนตองใชกาซ Hydrogen ใหผลการตรวจวัดทีร่วดเร็ว สามารถตอเขากับ Gas Chromatograph เพ่ือใชในการตรวจวัดสารอินทรียแบบแยกชนิดเชนเดียวกับ FID และสารถมารถ

ตรวจวัดไดในระดับต่ําถึงระดับ ppb สามารถตรวจวัดสารประเภท Chlorinated Solvent แตไมเหมาะกับกาซที่มีสารอนินทรยี (Inorganic Gas) ปนอยู

2.2.3 Fourier Transform Infrared Detectors (FTIR) หัวตรวจวัดชนดินี้ใชหลักการการดูดกลนืรังสี Infrared ของ Functional Group ที่เปนองคประกอบของสารอินทรยีระเหยจงึสามารถ

ตรวจวดัสารอนิทรียแบบแยกชนิดได หัวตรวจวัดชนิดนี้มีราคาแพงสามารถตรวจวดัการรั่วไหลทีม่ีปริมาณ

มากจึงเหมาะสําหรับโรงงานที่มีขนาดใหญ การตรวจวัดการรั่วไหลของสารอินทรยีระเหยในแตละอปุกรณนอกจากแนวทางการปฏิบัติที่

ปรากฏใน US-EPA Method 21 แลวยังมีรายละเอียดเพิม่เติมดังตอไปนี้ 1. ตรวจสอบจุดที่มกีารรั่วไหลในแตละอปุกรณเพ่ือกาํหนดจดุตรวจวัด 2. วาง Probe ใหชดิกับจุดรั่วไหลมากทีสุ่ดโดยหางจากจุดรั่วไหลไมเกิน 1 ซม. 3. ตั้ง Probe ในแนวตั้งฉากกับจุดรั่วไหล 4. ตรวจวัดอยางนอย 2 ครั้งติดตอกันในแตละจุด 5. หลีกเลี่ยงการตรวจวัดในขณะที่มีลมแรง 6. ตรวจสอบดูวามีน้ํามันหรือส่ิงสกปรกที่ Probe หรือไม 7. ควบคุมใหอัตราการดูดกาซคงที่ตลอดเวลา 8. อุณหภมูิและความดันของของเหลวในระบบตองคงที่ตลอดเวลาของการวดั 9. ขนาดของ Probe ตองเทาเดิมสําหรบัการตรวจวัดทุกครั้ง

รูปที่ 3 จุดตรวจวัด Fugitive Source Emission ของ Valve และ Flange

การจัดทําบัญชีขอมูลแหลงกําเนิดสารอินทรียระเหยจากโรงกลั่นนํ้ามันและโรงงานปโตรเคมี

Page 10: สารบัญ - PCD.go.thinfofile.pcd.go.th/air/VOCinventory.pdf · สารบัญ บทที่1 บทน ํา (Introduction) 1.1 แหล งกําเนิดแบบปล

7

บทที่ 3 การจัดทําฐานขอมูลสารอินทรียระเหยจากแหลงกําเนิด

(VOC Emission Inventory) 3.1 การจดัทําฐานขอมูลของ Stationary Sources Inventory

3.1.1 สํารวจขอมูล (Source Survey) 3.1.1.1 จัดทาํทะเบียนแหลงกําเนดิมลพิษไดแกปลองระบายมลพิษ (Stacks) และ

ทอ (Vents) ทาํรหัสบันทึกลงใน F1 ในบทที่ 4 3.1.1.2 ตรวจวัดการระบายสารอินทรยีระเหย (Emission Concentration) ของ

แตละ Stack หรือ Vent ตามทะเบียนในขอ 3.1.1.1 ใหครบ ในรูปของ TOC (Total Organic Compounds) โดยใช Method 25A หรือ 25B ของ US-EPA บันทึกรายละเอียดลงใน F2

3.1.1.3 คํานวณอัตราการระบายสารอินทรียระเหย (Emission Loading) ของแตละปลองหรอืทอบันทึกผลลงใน F3 และบันทึกผลรวมใน F9

3.1.2 เกณฑการควบคุม (Emission Control Criteria) 3.1.2.1 จากขอมูลในขอ 3.1.1.2 กรณทีี่ Stack หรือ Vent ที่มีคาการระบาย

TOC ≤ 20 ppmv (25 oC dry basis, 3% O2) ไมจําเปนตองบําบัด 3.1.2.2 กรณีที่ Stack หรือ Vent ที่มีคาอัตราการระบาย TOC > 20 ppmv

(25 oC dry basis, 3% O2) หรือมีอตัราการระบาย TOC > 33 Kg/d ตองมรีะบบบําบัด หากเปน

Vent ใหบําบดัดวยการตอทอเขาสู Flare, Incinerator, Boiler/heater หรือระบบบําบัดอื่นๆ 3.1.2.3 ควรมีการตรวจวัด TOC ทั้งกอนและหลังการเผาเพื่อหาประสิทธิภาพ

ในการบาํบัดและหลังการเผาตองมี TOC ≤ 20 ppmv (25 oC dry basis, 3 % O2) 3.1.2.4 ความถี่ในการตรวจวัดอยางนอยปละครั้ง

3.2 การจดัทําฐานขอมูลของ Fugitive Sources Inventory 3.2.1 การสํารวจขอมูล (Source Survey)

3.2.1.1 จัดทําทะเบียนแหลงกําเนิดมลพิษชนิดฟุงกระจาย (Fugitive Source Emission) ไดแกอุปกรณเชน Valves, Pumps/Compressors, Pressure relies devices, Opened end lines, Sampling Connections, Agitators และอื่นๆ ในแตละ Plant โดยแยกประเภทบันทึกผลลงใน F4 และสรุปจํานวนลงใน F5 ในบทที่ 4

การจัดทําบัญชีขอมูลแหลงกําเนิดสารอินทรียระเหยจากโรงกลั่นนํ้ามันและโรงงานปโตรเคมี

Page 11: สารบัญ - PCD.go.thinfofile.pcd.go.th/air/VOCinventory.pdf · สารบัญ บทที่1 บทน ํา (Introduction) 1.1 แหล งกําเนิดแบบปล

8

3.2.1.2 ตรวจวดัการรัว่ไหลของสารอินทรียระเหยในรูปของ TOC (Total Organic Compounds, ppmv) ทุกจดุในขอ 3.2.1.1 ใหครบทกุกลุมโดยใช Method 21 ของ US EPA บันทึกผลลงใน F 6

3.2.1.3 คํานวณอตัราการระบายสารอินทรียระเหยจากแหลงกําเนิด Fugitive Emission โดยใชวิธีใดวิธีหน่ึงในขอ 3.2.2

3.2.1.4 นําผลการคาํนวณที่ไดใสในชอง Mass Emission (Kg/hr) ของ

แบบฟอรม F6 (ชอง Mass Emission, Kg/hr) 3.2.1.5 สรุปอัตราการระบาย Fugitive Emission รวมของโรงงาน บันทึกผลลง

ใน F7 และ F8 3.2.2 การคํานวณ Emission Factors

3.2.2.1 Correlation Equation Method เปนการคาํนวณอัตราการระบาย

สารอินทรียระเหยของ Fugitive Emission โดยใชคาการตรวจวัดจริง นําผลการตรวจวัดในขอ 3.2.1.2 มาคาํนวณตามสูตรในตารางที่ 1 หรือ 2 (แลวแตชนิดของโรงงาน)

ตารางที่ 1 สมการการคาํนวณ Mass Emission (Kg/hr) สําหรับโรงงาน SOCMI

ชนิดอุปกรณ (Equipment type)

กรณีผลการตรวจวัด = 0 (Kg/hr per item)

Pegged Emission Rate (Kg/hr per item)

สมการ (Kg/hr per item)

10,000 ppmv 100,000 ppmv Gas/vapor Valves 0.00000066 0.024 0.11 Leak Rate = 1.87E-06 x (SV)0.873

Light Liquid Valves 0.00000049 0.036 0.15 Leak Rate = 6.41E-06 x (SV)0.797

Pumps 0.0000075 0.14 0.62 Leak Rate = 1.90E-05 x (SV)0.824

Compressors 0.0000075 0.14 0.62 Leak Rate = 1.90E-05 x (SV)0.824

Pressure relief valves 0.0000075 0.14 0.62 Leak Rate = 1.90E-05 x (SV)0.824

Agitators 0.0000075 0.14 0.62 Leak Rate = 1.90E-05 x (SV)0.824

Connectors/Flanges 0.00000061 0.044 0.22 Leak Rate = 3.05E-06 x (SV)0.885

หมายเหต ุ

SV คือ ผลการตรวจวัดการรั่วไหลของสารอินทรียระเหยในรปูของ TOC Pegged Emission Rate = อัตราการระบายที่มคีาเกนิจากคาสูงสุดที่เครื่องสามารถวัดไดในชวงนั้น

การจัดทําบัญชีขอมูลแหลงกําเนิดสารอินทรียระเหยจากโรงกลั่นนํ้ามันและโรงงานปโตรเคมี

Page 12: สารบัญ - PCD.go.thinfofile.pcd.go.th/air/VOCinventory.pdf · สารบัญ บทที่1 บทน ํา (Introduction) 1.1 แหล งกําเนิดแบบปล

9

ตารางที่ 2 สมการการคาํนวณ Mass Emission (Kg/hr) สําหรับโรงงานกลั่นน้ํามนั (Petroleum Refinery) ชนิดอุปกรณ

(Equipment type) กรณีผลการตรวจวัด = 0

(Kg/hr per item) Pegged Emission Rate

(Kg/hr per item) สมการ

(Kg/hr per item)

10,000 ppmv 100,000 ppmv Connectors 0.00000750 0.028 0.030 Leak Rate = 1.51E-06 x (SV)0.735

Flanges 0.00000031 0.085 0.084 Leak Rate = 4.44E-06 x (SV)0.703

Open - Ended Line 0.00000200 0.030 0.079 Leak Rate = 2.16E-06 x (SV)0.704

Pump 0.00002400 0.074 0.160 Leak Rate = 4.82E-05 x (SV)0.610

Valve 0.00000780 0.064 0.140 Leak Rate = 2.28E-06 x (SV)0.746

Other 0.00000400 0.073 0.110 Leak Rate = 1.32E-05 x (SV)0.589

หมายเหต ุ

SV คือ ผลการตรวจวัดการรั่วไหลของสารอินทรียระเหยในรปูของ TOC Pegged Emission Rate = อัตราการระบายที่มคีาเกนิจากคาสูงสุดที่เครื่องสามารถวัดไดในชวงนั้น

3.2.2.2 Average Emission Factor เปนการคํานวณอตัราการระบาย

สารอินทรียระเหยชนิด Fugitive Emission โดยใช Emission Factor ของ US-EPA ในตารางที่ 3 และ 4 แลวแตชนิดของโรงงาน (ไมจําเปนตองใชผลการตรวจวัดใชเฉพาะชนิดของอุปกรณ อยางไรก็ตามในขั้นตอนการควบคุมจําเปนตองตรวจวัดอยูแลว) ตารางที่ 3 การคาํนวณ Mass Emission (Kg/hr) โดยใช Average Emission Factors สําหรับโรงงาน SOCMI

ชนิดอุปกรณ (Equipment type)

สถานะสารอินทรีย (Service)

Emission Factor (Kg/hr per item)

Valves Gas 0.00597 Light Liquid 0.00403 Heavy Liquid 0.00023 Pumps Light Liquid 0.01990 Heavy Liquid 0.00862 Compressors Gas 0.228 Pressure relief valves Gas 0.104 Connectors All 0.00183 Open-ended lines All 0.0017 Sampling Connections All 0.0150 Agitators All 0.01990

การจัดทําบัญชีขอมูลแหลงกําเนิดสารอินทรียระเหยจากโรงกลั่นนํ้ามันและโรงงานปโตรเคมี

Page 13: สารบัญ - PCD.go.thinfofile.pcd.go.th/air/VOCinventory.pdf · สารบัญ บทที่1 บทน ํา (Introduction) 1.1 แหล งกําเนิดแบบปล

10

ตารางที่ 4 การคํานวณ Mass Emission (Kg/hr) โดยใช Average Emission Factors สําหรบัโรงงานกล่ันน้ํามัน (Petroleum Refinery) ชนิดอุปกรณ

(Equipment type) สถานะสารอินทรีย

(Service) Emission Factor (Kg/hr per item)

Valves Gas 0.0268 Light Liquid 0.0109 Heavy Liquid 0.00023 Pumps Light Liquid 0.114 Heavy Liquid 0.021 Compressors Gas 0.636 Pressure relief valves Gas 0.16 Connectors All 0.00025 Open-ended lines All 0.0023 Sampling Connections All 0.0150 Agitators All 0.114

3.2.2.3 Screening Range Method เปนการคํานวณอตัราการระบาย

สารอินทรียระเหยชนิด Fugitive Emission โดยใชเกณฑการตรวจวัดที่ 10,000 ppmv ตามตารางที่ 5 และ 6 แลวแตชนิดของโรงงาน

ตารางที่ 5 การคํานวณ Mass Emission (Kg/hr) โดยใช Screening Value Ranges สําหรับโรงงาน SOCMI

ชนิดอุปกรณ (Equipment type)

สถานะสารอินทรีย (Service)

Emission Factor (Kg/hr per item)

≥ 10,000 ppmv < 10,000 ppmv Valves Gas 0.0782 0.000131 Light Liquid 0.0892 0.000165 Heavy Liquid 0.00023 0.00023 Pumps Light Liquid 0.243 0.00187 Heavy Liquid 0.216 0.00210 Compressors Gas 1.608 0.0894 Pressure relief valves Gas 1.691 0.0447 Connectors All 0.113 0.0000810 Open-ended lines All 0.01195 0.00150 Agitators All 0.243 0.00187

การจัดทําบัญชีขอมูลแหลงกําเนิดสารอินทรียระเหยจากโรงกลั่นนํ้ามันและโรงงานปโตรเคมี

Page 14: สารบัญ - PCD.go.thinfofile.pcd.go.th/air/VOCinventory.pdf · สารบัญ บทที่1 บทน ํา (Introduction) 1.1 แหล งกําเนิดแบบปล

11

ตารางที่ 6 การคํานวณ Mass Emission (Kg/hr) โดยใช Screening Value Ranges สําหรบัโรงงานกล่ันน้ํามัน (Petroleum Refinery)

ชนิดอุปกรณ (Equipment type)

สถานะสารอินทรีย (Service)

Emission Factor (Kg/hr per item)

≥ 10,000 ppmv < 10,000 ppmv Valves Gas 0.2626 0.0006 Light Liquid 0.0852 0.0017 Heavy Liquid 0.00023 0.00023 Pumps Light Liquid 0.437 0.0120 Heavy Liquid 0.3885 0.0135 Compressors Gas 1.608 0.0894 Pressure relief valves Gas 1.691 0.0447 Connectors All 0.0375 0.00006 Open-ended lines All 0.01195 0.00150 Agitators All 0.437 0.0120

หมายเหต ุ

1) วิธีที่แนะนําใหใช (Prefered Method) คอื Correlation Method เน่ืองจากเปนวิธีทีใ่หผลใกลเคยีงกับความเปนจริงมากที่สุด ไดจากการตรวจวดัจรงิ สวนอีก 2 วิธี (Alternative Method) คือ

Average Emission Factor ใชกรณทีี่ไมมีผลการตรวจวัดจรงิ ใหผลที่มากกวาความเปนจริงเน่ืองจากการทดลองของ US-EPA เลือกโรงงานทีส่วนใหญขาดการบาํรงุรักษา (Maintenance) จึงไมเหมาะกับโรงงานที่มีแผนการบํารุงรักษาที่ดี และ Screening Range Method มีการตรวจวัดจริงแตใชคาทีใ่หผลมากกวาหรือนอยกวา 10,000 ppmv เทานั้น

2) เน่ืองจากคา Emission Factor ที่ไดจากวิธี Average Emission Factor และ

Screening Range Method ของโรงกลั่นน้ํามันจะอยูในรูป Total Non-methane Organic Compounds (TNMOC) การจดัทําฐานขอมูลของแหลงกาํเนิด Fugitive Emission ของโรงกลั่นน้ํามันจําเปนตองปรบั (Correction) คา Emission Factors สําหรับ 2 วิธีดังกลาวเพื่อใหไดเปน Total Organic Compounds (TOC) โดยการคูณดวยอัตราสวนระหวาง wt. fraction ของ TOC ตอ wt. fraction ของ TNMOC ในกรณทีี่ไมทราบอัตราสวนดังกลาว US-EPA จะกําหนดไวไมเกิน 10%

การจัดทําบัญชีขอมูลแหลงกําเนิดสารอินทรียระเหยจากโรงกลั่นนํ้ามันและโรงงานปโตรเคมี

Page 15: สารบัญ - PCD.go.thinfofile.pcd.go.th/air/VOCinventory.pdf · สารบัญ บทที่1 บทน ํา (Introduction) 1.1 แหล งกําเนิดแบบปล

12

3.2.3 เกณฑการควบคุม (Leak Identification) 3.2.3.1 หลังจากจัดทาํฐานขอมูลดวยวิธีในขอ 3.2.1 แลวใหนําคาความเขมขน

(Emission Concentration, ppmv) ในแบบบันทึก F6 มาพิจารณาวาจุดใดมีการรั่วไหล (Leak) หรือไมโดยใชเกณฑดังน้ี

- Pumps ≥ 10,000 ppmv

- Compressors ≥ 500 ppmv - Pressure relief devices > 500 ppmv

- Valves (Gas/Light Liquid) ≥ 500 ppmv

- Valves (Heavy Liquid) ≥ 10,000 ppmv

- Opened end lines, Sampling Connections ≥ 500 ppmv

- Connections & Flanges ≥ 500 ppmv 3.2.3.2 นําผลการพิจารณามาบันทกึใน F9 เพ่ือกาํหนดแผนการติดตามตรวจสอบ

ในครัง้ตอไปตามเกณฑในขอ 3.2.4 3.2.4 ความถี่ในการตรวจวัด (การกาํหนดแผนในการตรวจวัดครั้งตอไป)

3.2.4.1 หากพบการรั่วไหลที่ Pumps < 10 % ของทั้งหมดในแตละ Plant แตไม

เกิน 3 Pumps ใหตรวจวัดทั้งหมดครั้งตอไปอีก 1 ป หาก ≥ 10 % หรือเกิน 3 Pumps อยางใดอยางหนึ่งที่นอยกวา ใหตรวจวัดทั้งหมดครั้งตอไปอีก 6 เดือน

3.2.4.2 หากพบการรั่วไหลที่ Compressors < 10 % ของทั้งหมดในแตละ Plant

แตไมเกิน 3 Compressors ใหตรวจวัด Compressors ทั้งหมดครัง้ตอไปอีก 3 เดือน หาก ≥ 10 % หรือเกิน 3 Compressors อยางใดอยางหนึ่งที่นอยกวา ใหตรวจวัดครั้งตอไปอีก 1 เดือน

3.2.4.3 หากพบการรั่วไหลที่ Pressure Relief Devices, Valves, Opened end lines, Sampling Connections, Connections & Flanges ใหใชหลักเกณฑดังน้ี

- พบ ≥ 4 % ของจาํนวนทัง้หมดในแตละ Plant ใหตรวจวดัครั้งตอไปอีก

1 เดือน

- พบ < 4 แต ≥ 3 % ของจํานวนทั้งหมดในแตละ Plant ใหตรวจวัดครั้งตอไปอีก 3 เดือน

- พบ < 3 แต ≥ 2 % ของจํานวนทั้งหมดในแตละ Plant ใหตรวจวัดครั้งตอไปอีก 6 เดือน

- พบ < 2 % ของจํานวนทั้งหมดในประเภทนั้นใหตรวจวัดครั้งตอไปอีก 1 ป

การจัดทําบัญชีขอมูลแหลงกําเนิดสารอินทรียระเหยจากโรงกลั่นนํ้ามันและโรงงานปโตรเคมี

Page 16: สารบัญ - PCD.go.thinfofile.pcd.go.th/air/VOCinventory.pdf · สารบัญ บทที่1 บทน ํา (Introduction) 1.1 แหล งกําเนิดแบบปล

13

3.2.5 การซอมแซมและบํารุงรกัษา 3.2.5.1 หากตรวจพบการรั่วไหลที่ Pressure relief valves ใหทําการซอมแซมให

แลวเสร็จภายใน 24 ชั่วโมง 3.2.5.2 หากตรวจพบการรั่วไหลที่จดุอื่นๆนอกเหนือจากในขอ 3.2.5.1 ใหทําการ

ซอมแซมใหแลวเสร็จภายใน 5 – 15 วัน 3.2.5.3 หลังจากซอมแซมเสรจ็แลวใหตรวจสอบการรั่วไหลซ้าํทนัทแีละคาตรวจวัด

ตองไมเกินจากเกณฑ ในขอ 3.2.3

การจัดทําบัญชีขอมูลแหลงกําเนิดสารอินทรียระเหยจากโรงกลั่นนํ้ามันและโรงงานปโตรเคมี

Page 17: สารบัญ - PCD.go.thinfofile.pcd.go.th/air/VOCinventory.pdf · สารบัญ บทที่1 บทน ํา (Introduction) 1.1 แหล งกําเนิดแบบปล

14

บทที่ 4 แบบฟอรมที่ใชในการจัดทําบัญชีขอมูลแหลงกําเนิด

สารอินทรียระเหย 4.1 แบบฟอรมสําหรับ Stationary Source Emission

ประกอบดวยแบบฟอรมสําหรับบันทึกขอมูลการจัดทําทะเบียนแหลงกําเนิด การสํารวจ

และเก็บขอมูลจากปลอง (Stack) และขอมูลผลการตรวจวัดและปรมิาณการระบายสารอินทรยีระเหยจากปลองรายป รายละเอียดดังน้ี

4.1.1 ทะเบียนรหัสของแหลงกําเนิดชนดิ Stationary Source Emission (F1)

ลําดับที ่ ชนิดแหลงกําเนิด

(Stack or Vent) รหัส

(Code) ตําแหนง (GPS)

Plant ID

การจัดทําบัญชีขอมูลแหลงกําเนิดสารอินทรียระเหยจากโรงกลั่นนํ้ามันและโรงงานปโตรเคมี

Page 18: สารบัญ - PCD.go.thinfofile.pcd.go.th/air/VOCinventory.pdf · สารบัญ บทที่1 บทน ํา (Introduction) 1.1 แหล งกําเนิดแบบปล

15

4.1.2 รายละเอยีดการเก็บตัวอยาง Stationary Source Emission (F2)

ชื่อโรงงาน : ชนิดแหลงกําเนิด : (Stack/Process Vent) รหัส (Code) : หนวยผลิต (Plant ID) : ขอมูลภาคสนาม (Field Information) 1. ขอมูลปลอง (Stack/Vent Characteristic) :

1.1 ความสูง (height) ……………………….…... เมตร 1.2 เสนผาศูนยกลาง (diameter) ………………. เมตร 1.3 อุณหภูม ิ………………………… OC ………………………..Kelvin 1.4 ความเร็วอากาศ (Velocity) ………………… เมตร/วินาที 1.5 ออกซิเจน (O2) ……………………………... %

2. ขอมูลการเก็บตัวอยาง (Sampling Information) : 2.1 ความเร็ว Pump ………………….. ลิตร/นาที …………………… ลบ.ม./นาท ี2.2 เริ่มเก็บเวลา ………….. น. หยุดเก็บเวลา ………….. น. รวมระยะเวลาเก็บตัวอยาง ………………………… นาท ี

ชื่อผูเก็บตัวอยาง ……………………………….. วันที่ …………………………… ขอมูลการตรวจวัด (Analytical Information) 1. เครื่องมือทีใ่ช (ยี่หอ/รุน) …………………………………………………………. 2. วันที่ Calibrate …………………………………………………………………… 3. อุณหภูมิอากาศ ………………………. OC ………………………..Kelvin 4. ความดัน ……………………………… 5. ความเขมขนัของ TOC ทีอ่านจากเครื่อง ……………..…………..… ppmvC ……….. mg/m3C 6. ความเขมขนัของ TOC ทีส่ภาวะของปลอง (Actual) ……………….. ppmvC ……….. mg/m3C 7. ความเขมขนของ TOC ทีส่ภาวะมาตรฐาน (25OC dry basis, 3%O2) …..……….. ppmvC ………........ mg/m3C ชื่อผูเคราะห …………….……………………….. วันที่ ……………………………

การจัดทําบัญชีขอมูลแหลงกําเนิดสารอินทรียระเหยจากโรงกลั่นนํ้ามันและโรงงานปโตรเคมี

Page 19: สารบัญ - PCD.go.thinfofile.pcd.go.th/air/VOCinventory.pdf · สารบัญ บทที่1 บทน ํา (Introduction) 1.1 แหล งกําเนิดแบบปล

16

4.1.3 การตรวจวัดแหลงกําเนิดชนิด Stationary Source Emission (F3)

แหลงกําเนิด (Source)

รหัส (Code)

Stack Characteristic Stack Velocity

อัตราการ ระบายอากาศ

ความเขมขน (TOC)

อัตราการระบาย สารอินทรียระเหย

Height Diameter Temp. (m/s) (m3/s) Actual Std. cond. Kg/hr hr/yr Kg/yr (m) (m) (K) (Actual) ppmv mg/m3 ppmv mg/m3

รวม หมายเหต ุ 1) Std. cond. หมายถึง TOC คํานวณที่ 25 OC dry basis, 3% O2

2) hr/yr เปนอัตราการทาํงานตอป

การจัดทําบัญชีขอมูลแหลงกําเนิดสารอินทรียระเหยจากโรงกลั่นน้ํามันและโรงงานปโตรเคมี

Page 20: สารบัญ - PCD.go.thinfofile.pcd.go.th/air/VOCinventory.pdf · สารบัญ บทที่1 บทน ํา (Introduction) 1.1 แหล งกําเนิดแบบปล

17

4.2 แบบฟอรมสําหรับ Fugitive Source Emission ประกอบดวยแบบฟอรมสําหรับบันทึกขอมูลการจัดทําทะเบียนแหลงกําเนิดชนิด

Fugitive Emission ผลการตรวจวัดแหลงกําเนิด อัตราการรั่วไหล ปริมาณการระบายสารอินทรีย

ระเหยรายป และการกําหนดแผนการตดิตามตรวจสอบแหลงกําเนิดครั้งตอไป

4.2.1 ทะเบียนรหัสอุปกรณชนดิ Fugitive Source Emission (F4)

Stream No. : อุปกรณ (Equipment) :

ลําดับ รหัส (Code) ตําแหนง

การจัดทําบัญชีขอมูลแหลงกําเนิดสารอินทรียระเหยจากโรงกลั่นนํ้ามันและโรงงานปโตรเคมี

Page 21: สารบัญ - PCD.go.thinfofile.pcd.go.th/air/VOCinventory.pdf · สารบัญ บทที่1 บทน ํา (Introduction) 1.1 แหล งกําเนิดแบบปล

18

4.2.2 จํานวนอุปกรณท่ีเปนแหลงกําเนิดชนิด Fugitive Source Emission (F5)

อุปกรณ (Equipment)

สถานะ สารอินทรีย

Stream No.

A B C รวม Valves Gas/vapor Liquid Pumps Light Liquid Heavy Liquid Compressor Gas/vapor Connectors/ Flange

All

Pressure Relief Valves

Gas/vapor

Agitators Others

การจัดทําบัญชีขอมูลแหลงกําเนิดสารอินทรียระเหยจากโรงกลั่นนํ้ามันและโรงงานปโตรเคมี

Page 22: สารบัญ - PCD.go.thinfofile.pcd.go.th/air/VOCinventory.pdf · สารบัญ บทที่1 บทน ํา (Introduction) 1.1 แหล งกําเนิดแบบปล

19

4.2.3 การตรวจวัดแหลงกําเนิด Fugitive Source Emission (F6)

Stream No. : เครื่องมือ/รุนทีใ่ชตรวจวดั : ชนิดอุปกรณ (Components type) : (เชน Valves (Gas/vapor)) จํานวน : วันที่ตรวจวัด : เกณฑที่ใช : ppmv

รหัสอุปกรณ (Equipment ID)

ผลการตรวจวัด (ppmv)

Mass Emission (Kg/hr)

คํานวณดวยวิธี ชั่วโมงการ ดําเนินการ/ป

(hr/yr)

อัตราการระบายสารอินทรีย/ป

(Kg/yr)

รั่ว/ไมรั่ว (Leakage)

รวม หมายเหต ุ 1) อัตราการระบายสารอินทรียระเหย/ป (Kg/yr) = Mass Emission (Kg/hr) x ชั่วโมงการดําเนินการ/ป (hr/yr)

2) ใสชองสุดทาย X = รั่ว , / = ไมรั่ว โดยใชเกณฑในขอ 2.1 ของ Fugitive Emission 3) ชอง Mass Emission ใหระบุวิธีการคํานวณดังนี้

A = Correlation Equation Method, B = Average Emission Factors, C = Screening Value Range

การจัดทําบัญชีขอมูลแหลงกําเนิดสารอินทรียระเหยจากโรงกลั่นน้ํามันและโรงงานปโตรเคมี

Page 23: สารบัญ - PCD.go.thinfofile.pcd.go.th/air/VOCinventory.pdf · สารบัญ บทที่1 บทน ํา (Introduction) 1.1 แหล งกําเนิดแบบปล

20

4.2.4 การประเมินอัตราการระบายสารอินทรียระเหยตอป (เฉพาะ Fugitive Source Emission) (F7)

สํารวจถึงวันที ่:

Stream No. อุปกรณ (Components)

อัตราการระบาย สารอินทรีย/ป (Kg/yr)

A Valves Gas/vapor Liquid Pumps Light Liquid Heavy Liquid Compressor Gas/vapor Connectors/Flange All Pressure Relief Valves Gas/vapor Agitators All Others B Valves Gas/vapor Liquid Pumps Liquid Compressor Gas/vapor Connectors/Flange All Pressure Relief Valves Gas/vapor Agitators All Others C Valves Gas/vapor Liquid Pumps Liquid Compressor Gas/vapor Connectors/Flange All Pressure Relief Valves Gas/vapor Agitators All Others

รวมอัตราการระบายสารอินทรียระเหย (Fugitive)/ป

การจัดทําบัญชีขอมูลแหลงกําเนิดสารอินทรียระเหยจากโรงกลั่นนํ้ามันและโรงงานปโตรเคมี

Page 24: สารบัญ - PCD.go.thinfofile.pcd.go.th/air/VOCinventory.pdf · สารบัญ บทที่1 บทน ํา (Introduction) 1.1 แหล งกําเนิดแบบปล

21

4.2.5 การประเมินอัตราการระบายสารอินทรียระเหยของโรงงาน/ป (Stationary Sources Emission + Fugitive Source Emission) (F8)

แหลงกําเนิด Kg/yr

Stationary Sources Emission Fugitive Emission

รวม

การจัดทําบัญชีขอมูลแหลงกําเนิดสารอินทรียระเหยจากโรงกลั่นนํ้ามันและโรงงานปโตรเคมี

Page 25: สารบัญ - PCD.go.thinfofile.pcd.go.th/air/VOCinventory.pdf · สารบัญ บทที่1 บทน ํา (Introduction) 1.1 แหล งกําเนิดแบบปล

22

4.2.6 การประเมินอัตราการรั่วไหลและแผนการติดตามตรวจสอบครั้งตอไป (F9) สํารวจถึงวันที ่: Stream

No. อุปกรณ

(Components) จํานวน อัตราการ

รั่วไหล (%)

การตรวจวัด ครั้งตอไป

A Valves Gas/vapor Liquid Pumps Light Liquid Heavy Liquid Compressor Gas/vapor Connectors / Flange All Pressure Relief Valves Gas/vapor Agitators All Others B Valves Gas/vapor Liquid Pumps Light Liquid Heavy Liquid Compressor Gas/vapor Connectors/Flange All Pressure Relief Valves Gas/vapor Agitators All Others C Valves Gas/vapor Liquid Pumps Light Liquid Heavy Liquid Compressor Gas/vapor Connectors/Flange All Pressure Relief Valves Gas/vapor Agitators All

หมายเหต ุ อัตราการรั่วไหลหมายถึงจาํนวนอุปกรณ (Component) ที่ตรวจพบการรั่วไหลคิดเปนรอยละจากจาํนวนอุปกรณชนิดนัน้ทั้งหมดในแตละ Stream (คํานวณจากจํานวนรั่วในตาราง F6)

การจัดทําบัญชีขอมูลแหลงกําเนิดสารอินทรียระเหยจากโรงกลั่นนํ้ามันและโรงงานปโตรเคมี

Page 26: สารบัญ - PCD.go.thinfofile.pcd.go.th/air/VOCinventory.pdf · สารบัญ บทที่1 บทน ํา (Introduction) 1.1 แหล งกําเนิดแบบปล

23

เอกสารอางอิง 1. Protocol for Equipment Leaks Emission Estimation, US-EPA, Office of Air Quality

Planning and Standards, Research Triangle Park, NC 27719, November 1995. 2. Environmental Code of Practice for the Measurement and Control of Fugitive VOC

Emission from Equipment Leaks, CCME Canada, 1993. 3. Code of Federal Regulations 40 Part 60 Subpart VV Standard of Performance for

Equipment Leaks of VOC in the Synthetic Organic Chemicals Manufacturing Industry, Revised as of July1, 2002.

4. Preferred and Alternative Methods for Estimating Air Emissions from Equipment Leaks, Emission Inventory Improvement Program (EIIP), Volume II, Chapter 4, November 1996.

5. Preferred and Alternative Methods for Estimating Air Emissions from Plastic Products Manufacturing, Emission Inventory Improvement Program (EIIP), Volume II, Chapter 11, December 1998.

6. Cost - Effective Reduction of Fugitive Solvent Emissions, Environmental Technology Best Practice Program, UK, March 1997.

Website 1. www.epa.gov/ttn/chief/ap42/ch07/2. www.epa.gov/ttnchei1/software/tanks/tank4man.pdf

การจัดทําบัญชีขอมูลแหลงกําเนิดสารอินทรียระเหยจากโรงกลั่นนํ้ามันและโรงงานปโตรเคมี