การศึกษาวิเคราะห์คัมภีร์...

803
การศึกษาวิเคราะห์คัมภีร์สมาธิราชสูตร โดย ร้อยโทพรชัย หะพินรัมย์ วิทยานิพนธ์นีÊเป็นส่วนหนึÉงของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาสันสกฤต ภาควิชาภาษาตะวันออก บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีการศึกษา 2558 ลิขสิทธิ Íของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Upload: others

Post on 25-Aug-2020

11 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • การศึกษาวเิคราะห์คมัภีร์สมาธิราชสูตร

    โดย

    ร้อยโทพรชัย หะพนิรัมย์

    วทิยานิพนธ์นเีป็นส่วนหนงึของการศึกษาตามหลกัสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎบีัณฑติ

    สาขาวชิาภาษาสันสกฤต

    ภาควชิาภาษาตะวนัออก

    บัณฑติวทิยาลยั มหาวทิยาลยัศิลปากร

    ปีการศึกษา 2558

    ลขิสิทธขิองบัณฑติวทิยาลยั มหาวทิยาลยัศิลปากร

  • การศึกษาวเิคราะห์คมัภีร์สมาธิราชสูตร

    โดย

    ร้อยโทพรชัย หะพนิรัมย์

    วทิยานิพนธ์นเีป็นส่วนหนงึของการศึกษาตามหลกัสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎบีัณฑติ

    สาขาวชิาภาษาสันสกฤต

    ภาควชิาภาษาตะวนัออก

    บัณฑติวทิยาลยั มหาวทิยาลยัศิลปากร

    ปีการศึกษา 2558

    ลขิสิทธขิองบัณฑติวทิยาลยั มหาวทิยาลยัศิลปากร

  • A CRITICAL STUDY OF THE SAMĀDHIRĀJASŪTRA

    By

    Lt. Pornchai Hapinram

    A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree

    Doctor of Philosophy Program in Sanskrit

    Department of Oriental Languages

    Graduate School, Silpakorn University

    Academic Year 2015

    Copyright of Graduate School, Silpakorn University

  • บณัฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัศิลปากร อนุมติัใหว้ิทยานิพนธเ์รือง “ การศึกษาวิเคราะห์คมัภีร์สมาธิราชสูตร ” เสนอโดย ร้อยโทพรชยั หะพินรัมย ์ เป็นส่วนหนึงของการศึกษาตาม

    หลกัสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบณัฑิต สาขาวิชาภาษาสนัสกฤต

    ……...........................................................

    (รองศาสตราจารย ์ดร.ปานใจ ธารทศันวงศ)์

    คณบดีบณัฑิตวิทยาลยั

    วนัที..........เดือน.................... พ.ศ...........

    อาจารยที์ปรึกษาวิทยานิพนธ ์

    ผูช่้วยศาสตราจารย ์ดร.สมบติั มงัมีสุขศิริ

    คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ ์

    .................................................... ประธานกรรมการ

    (ผูช่้วยศาสตราจารย ์ดร.ชยัณรงค ์ กลินนอ้ย)

    ............/......................../..............

    .................................................... กรรมการ

    (ผูช่้วยศาสตราจารย ์ดร.พระสุธีธรรมานุวตัร (เทียบ สิริญาโณ) )

    ............/......................../..............

    .................................................... กรรมการ ................................................... กรรมการ

    (ผูช่้วยศาสตราจารย ์ดร.จิรพฒัน์ ประพนัธว์ิทยา) (ผูช่้วยศาสตราจารย ์ดร.สมบติั มงัมีสุขศิริ)

    ............/......................../.............. ............/......................../..............

  • 53105902 : สาขาวิชาภาษาสันสกฤต

    คาํสาํคญั : สมาธิราชสูตร / ศูนยตา

    พรชยั หะพินรัมย ์: การศึกษาวเิคราะห์คมัภีร์สมาธิราชสูตร. อาจารยที์ปรึกษาวิทยานิพนธ ์: ผศ.ดร.

    สมบติั มงัมีสุขศิริ. 794 หนา้.

    วิทยานิพนธ์นีมีวตัถุประสงค์เพือแปลสมาธิราชสูตรภาษาสันสกฤตเป็นภาษาไทยและเพือศึกษา

    ความเป็นมา รูปแบบการแต่ง และคาํสอนในสมาธิราชสูตร

    เบืองตน้ผูว้ิจัยได้ปริวรรตสมาธิราชสูตรอกัษรเทวนาครีเป็นอกัษรไทยและแปลสมาธิราชสูตร

    ภาษาสันสกฤตเป็นภาษาไทย จากนนัจึงศึกษาวิเคราะห์สมาธิราชสูตรตามวตัถุประสงคที์ตงัไว ้

    ผลการศึกษาพบว่าสมาธิราชสูตรเป็นวรรณคดีของพุทธศาสนามหายานในยคุแรก ๆ สันนิษฐานว่า

    น่าจะประพนัธ์ในช่วงคริสตศ์ตวรรษที 2 – 6 ไม่ปรากฏนามผูป้ระพนัธ์ มีการดาํเนินเรืองในรูปแบบการถามตอบ

    ระหว่างจนัทรประภากบัพระพุทธเจ้า แต่งเป็นร้อยแกว้ผสมร้อยกรอง ร้อยแกว้ใชภ้าษาสันสกฤตมาตรฐานตาม

    ไวยากรณ์ของปาณินิ ส่วนร้อยกรองแต่งด้วยภาษาสันสกฤตผสม มีบทร้อยกรองจํานวนทังสิ น 2,056 โศลก

    ใชฉ้ันทลกัษณ์ 15 ชนิด ฉันทลกัษณ์ทีใชม้ากทีสุดคืออุปชาติฉันท ์มีการแทรกเรืองเล่าจาํนวน 12 เรืองในรูปแบบ

    ของปูรวโยคะซึงมีรูปแบบคลา้ยกบัชาดกเพือเป็นตวัอยา่งประกอบคาํสอนทงัในดา้นดีและไม่ดี มีการใชส้าํนวนซํา

    เป็นจาํนวนมากอยา่งทีคมัภีร์ในยคุแรก ๆ นิยมใชเ้พือจดจาํไดง่้ายจากปากต่อปาก (มุขปาฐะ)

    สมาธิราชสูตรมีจุดมุ่งหมายคือการได้บรรลุสัมมาสัมโพธิญาณดว้ยการให้ความรู้เรืองศูนยตา

    ซึงแสดงทังปุทคลศูนยตาโดยสอนไม่ให้เยือใยในร่างกายและชีวิต ความไม่ใช่สัตว์ บุคคล ชีวะ และแสดง

    ธรรมศูนยตาโดยสอนว่าธรรมเป็นอภาวะกล่าวคือไม่มีอยู่จริง สอนให้มีจิตตงัมนัเป็นกลางไม่หวนัไหวต่อโลก

    ธรรม ดาํรงอยูใ่นมชัฌิมาปฏิปทา

    รูปแบบการสอนทีคมัภีร์ใชแ้บ่งไดเ้ป็น 3 ประการ คือ 1) หลกัความงาม 3 ประการ ไดแ้ก่ ปริยติั

    แสดงส่วนทีเป็นหลกัการ ปฏิบติั แสดงตวัอยา่งและวิธีการปฏิบติั และปฏิเวธ แสดงผลทีไดจ้ากการปฏิบติั คมัภีร์

    แสดงคาํสอนในรูปแบบนีจาํนวน 55 คาํสอน 2) หลกัเทศนาวิธีหรือลีลาการสอน 4 ประการ ไดแ้ก่ สันทสัสนา

    ชีแจงให้เห็นชดั สมาทปนา ชวนใจให้อยากปฏิบติั สมุตเตชนา เร้าใจให้อาจหาญแกลว้กลา้ และสัมปหังสนา

    ปลอบชโลมใจใหส้ดชืนร่าเริง คมัภีร์ใชล้ีลาการสอนทงั 4 ประการนีสลบักนัไปมาตลอดทงัเรือง และ 3) หลกัการ

    เรียนการสอนทีใหผ้ลสัมฤทธิจากน้อยไปมาก ไดแ้ก่ การฟัง การเขา้ห้องเรียน การไดรั้บความรู้อย่างครอบคลุม

    การรับความรู้นนัมาเป็นของตนและทรงจาํไวใ้นความหมายของตน การสามารถพูดเล่าความรู้นันได ้การสร้าง

    ความเชียวชาญดว้ยการตรวจสอบความรู้ การชีแสดงเป็นเรืองๆ การทบทวนความรู้นันเพือเฟ้นหาความจริง

    การเกบ็ตวัเงียบเพือคน้ควา้ในเชิงลึก การคน้ควา้บ่อยๆ และการประกาศความรู้แก่คนอืนไดอ้ยา่งกวา้งขวาง

    ภาควิชาภาษาตะวนัออก บณัฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัศิลปากร

    ลายมือชือนกัศึกษา ........................................ ปีการศึกษา 2558

    ลายมือชืออาจารยที์ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ................................................

  • 53105902 : MAJOR : SANSKRIT

    KEY WORD : SAMĀDHIRĀJASŪTRA / SŪNYATĀ

    PORNCHAI HAPINRAM : A CRITICAL STUDY OF THE SAMĀDHIRĀJASŪTRA. THESIS

    ADVISOR : ASST.PROF.SOMBAT MANGMEESUKHSIRI , PH.D.. 794 pp.

    This thesis aims at translating the Samādhirājasutra from Sanskrit text into Thai and also at

    studying the history and characteristics of the Samādhirājasutra including the doctrine as depicted in the

    scripture.

    Initially, the researcher transliterated the Samādhirājasutra from the Devanāgarī alphabet into

    Thai and translated the Samādhirājasutra from Sanskrit text into Thai.

    The result of study shows that Samādhirājasutra was a literature in the early era of Mahayana

    Buddhism. It was assumed that it was written during the 2nd – 6th centuries. The author’s name was not found.

    The story was told through asking and answering questions between Candraprabhā and the Buddha. The

    literature was in the form mixing prose and verse. Prose is written in classical Sanskrit according to Paninian

    grammars, while verse is in Mixed Sanskrit. There were 2,056 slokas in 15 types of versifications. The most

    frequently used versification was Upajāti. There were 12 narratives in the form of Pūrvayoga inserted between

    preaching of Buddha to be the examples of good and bad behaviors. Many stock phrases were used as could be

    seen in the scriptures in the early period in order to make it easy to memorize.

    The purpose of Samādhirājasutra is to promote enlightenment by learning about Sūnyatā with

    Pudgalasūnyatā by presenting the ways to not adhere to physical bodies, no Satva, no Pudgala, No jiva. as well

    as studying about Dharmasūnyatā by explaining that dharma is Abhava or none-existance. keeping in mind not

    inclined to worldly conditions and follow the Middle Way. The teachings in the scripture can be divided into

    three forms. Firstly, esthetics includes Pariyatti, which presenting principles, Patipatti, which shows examples

    and practices, and Pativetha, which demonstrates the results from the practices. The scripture presents 55

    teachings in this form. Secondly, there are four teaching principles that include Santassana (i.e. clarification),

    Samathapana (i.e. persuasion), Samuttechana (i.e. encouragement), and Sampahangsana (i.e. comfort). These

    four teachings were alternatively used in the whole story. Thirdly, the teaching principles were ranged from

    ineffective to effective ones including listening, participating in classrooms, learning complete knowledge,

    applying the knowledge to real life and memorizing the knowledge, explaining the knowledge, improving skills

    by checking the knowledge, describing stories, reviewing the knowledge in order to find truths, being isolated

    in order to conduct in-depth research, frequently studying things, and sharing the knowledge to the public.

    Department of Oriental Languages Graduate School, Silpakorn University

    Student’s signature………………………………….. Academic Year 2015

    Thesis Advisor’s signature……………………………………….

  • กติตกิรรมประกาศ

    ผูว้ิจัยขอขอบคุณผูช่้วยศาสตราจารย์ ดร .สมบัติ มั งมีสุขศิริ อาจารยที์ปรึกษา

    วิทยานิพนธที์กรุณาใหค้าํปรึกษาและคาํแนะนาํอนัมีคุณค่ายงิต่อการเรียบเรียงวิทยานิพนธ ์

    ขอขอบคุณคณาจารยป์ระจาํสาขาวิชาภาษาสนัสกฤตทุกท่านทีประสิทธิประสาทวิชา

    ใหแ้ก่ผูว้ิจยัจนเพียงพอทาํใหง้านวิจยัครังนีสาํเร็จได ้

    ขอขอบคุณบิดา มารดา พี น้อง เพือนๆ ทุกคน และท่านผูมี้อุปการคุณทุกท่านทีคอย

    เติมกาํลงัใจใหก้นัอยา่งไม่ลดละ

    คุณค่าหรือประโยชน์อนัใดพึงมีจากวิทยานิพนธ์เล่มนี ผูว้ิจ ัยขอน้อมบูชาคุณบิดา

    มารดา ครูอาจารย ์และผูมี้อุปการคุณทุกท่าน

  • สารบญั

    หนา้

    บทคดัยอ่ภาษาไทย ................................................................................................................. ง

    บทคดัยอ่ภาษาองักฤษ ............................................................................................................ จ

    กิตติกรรมประกาศ ................................................................................................................. ฉ

    บทที

    1 บทนาํ ...................................................................................................................... 1

    ความเป็นมาและความสาํคญัของปัญหา ............................................................. 1

    ความมุ่งหมายและวตัถุประสงคข์องการศึกษา ................................................... 5

    ขอบเขตของการศึกษา ........................................................................................ 5

    ขอ้ตกลงเบืองตน้ ................................................................................................. 5

    วิธีดาํเนินการวิจยั ................................................................................................ 6

    วรรณกรรมทีเกียวขอ้ง ........................................................................................ 6

    ประโยชน์ทีคาดว่าจะไดรั้บ ................................................................................. 15

    นิยามศพัทเ์ฉพาะ ................................................................................................. 15

    2 บทแปลสมาธิราชสูตร ............................................................................................ 17

    ทฤษฎีการวิจารณ์ตวับท....................................................................................... 17

    ทฤษฎีสรรผสาน ............................................................................................. 18

    ทฤษฎีสายวิวฒันาการ .................................................................................... 20

    ทฤษฎีแกไ้ขตวับทคดัลอก .............................................................................. 21

    วิธีการแปลสมาธิราชสูตร .................................................................................... 25

    บทแปลสมาธิราชสูตร ......................................................................................... 27

    3 ขอ้มลูทวัไปเกียวกบัสมาธิราชสูตร ........................................................................... 295

    ความเป็นมาของพระพุทธศาสนามหายาน ........................................................... 295

    การคน้พบสมาธิราชสูตร ..................................................................................... 304

    กาํหนดเวลาการแต่งและตน้ฉบบัของสมาธิราชสูตร .......................................... 306

    ชือเรียกคมัภีร์ ....................................................................................................... 310

    ภาษาและไวยากรณ์ ............................................................................................. 311

    ฉนัทลกัษณ์ในสมาธิราชสูตร .............................................................................. 315

  • บทที หนา้

    รูปแบบการแต่ง .................................................................................................... 357

    โครงเรืองและเหตุการณ์ในเรือง ...................................................................... 357

    สารัตถะหรือแก่นเรือง .................................................................................... 363

    เวลาและสถานที ............................................................................................. 364

    ตวัละครและบทสนทนา ................................................................................. 365

    กลวิธีหรือเทคนิคในการแต่ง .......................................................................... 368

    เรืองเล่าในสมาธิราชสูตร ..................................................................................... 368

    สาํนวนซาํในสมาธิราชสูตร ................................................................................. 388

    4 ลกัษณะเฉพาะ หลกัการสอนและคาํสอนในสมาธิราชสูตร ...................................... 399

    ลกัษณะเฉพาะของคมัภีร์ ..................................................................................... 399

    หลกัการสอนและสาระคาํสอน ............................................................................ 419

    หลกัปริยติั ปฏิบติัและปฏิเวธ........................................................................... 419

    หลกัการสอนทีดีหรือเทศนาวิธี 4 ประการ....................................................... 477

    หลกัการสอนทีใหผ้ลสมัฤทธิจากนอ้ยทีสุดไปมากทีสุด ................................. 489

    5 บทสรุปและขอ้เสนอแนะ ......................................................................................... 495

    บทสรุป ................................................................................................................ 495

    ขอ้เสนอแนะ ........................................................................................................ 496

    รายการอา้งอิง ......................................................................................................................... 497

    ภาคผนวก ............................................................................................................................... 505

    ภาคผนวก ก การเทียบอกัษรเทวนาครี-ไทย ............................................................. 506

    ภาคผนวก ข บทปริวรรตสมาธิราชสูตร ................................................................... 508

    ประวติัผูว้จิยั ........................................................................................................................... 794

  • 1

    บทที 1

    บทนํา

    ความเป็นมาและความสําคญัของปัญหา

    พระไตรปิฎกเป็นชือเรียกรวมคัมภีร์ในพระพุทธศาสนาซึงจาํแนกคมัภีร์ได้เป็น 3

    ประเภทคือ พระวินยั พระสูตรและพระอภิธรรม มีบนัทึกไวเ้ป็นภาษาต่างๆ เช่น ภาษาบาลี ภาษา

    สันสกฤต ภาษาจีน ภาษาทิเบต ภาษาไทย ภาษาแรกสุดของพระไตรปิฎกคือภาษาบาลีของ

    พุทธศาสนานิกายเถรวาท ส่วนพระไตรปิฎกภาษาสนัสกฤตเป็นของนิกายสรวาสติวาทซึงเป็นนิกาย

    ในยคุแรกๆ ทีแยกตวัออกจากเถรวาทนิกายเดิมเพราะมีขอ้ความอา้งถึงการไดรั้บความอุปถมัภ์จาก

    พระเจา้อโศกมหาราชเช่นกบันิกายเถรวาท แต่ภายหลงัคงเพลียงพลาํจึงไดไ้ปยึดอินเดียตะวนัตก

    เฉียงเหนือคือคนัธาระและมถุราเป็นศูนยก์ลาง1 และเจริญเติบโตอย่างต่อเนือง ภายหลงัไดท้าํการ

    สงัคายนาพระไตรปิฎกซึงนบัเป็นครังที 4 ในประวติัศาสตร์พระพุทธศาสนาโดยไดรั้บการอุปถมัภ์

    จากพระเจา้กนิษฐกะในราวปี พ.ศ. 643 และไดบ้นัทึกพระไตรปิฎกเป็นภาษาสันสกฤต นิกาย

    สรวาสติวาทนียงันับว่าเป็นนิกายฝ่ายเถรวาท แมภ้าษาทีใช้บันทึกคัมภีร์จะเป็นภาษาสันสกฤต

    ขอ้นนัอาจเป็นเพราะนิกายนีเติบโตอยู่ในอินเดียเหนือซึงนิยมใชภ้าษาสันสกฤตจึงตอ้งอนุวตัตาม

    ความนิยมด้านภาษาของคนในถินนัน ส่วนพระไตรปิฎกภาษาจีน ภาษาทิเบต และภาษาไทย

    เป็นการแปลพระไตรปิฎกภาษาบาลีหรือภาษาสันสกฤตเป็นภาษาของตนอีกทอดหนึงเพือสะดวก

    ในการคน้ควา้ศึกษาในประเทศนนั ๆ

    ดา้นเนือหา พระไตรปิฎกเป็นทีรวมคาํสอนอนัลึกซึงมีเนือหาครอบคลุมการปฏิบติัตน

    ของพุทธศาสนิกชนในทุกระดบัชนัทงัระดบัโลกิยะคือการแสวงหาความเจริญรุ่งเรืองในวิถีชีวิต

    ของคฤหสัถ ์และระดบัโลกุตระคือการแสวงหาสจัธรรมเพือความหลุดพน้ของบรรพชิต และในแต่

    ละระดบัพระพุทธเจา้ไดแ้สดงธรรมตามจริตของสรรพสตัวที์มีสติปัญญาลดหลนักนัลงไป คาํสอน

    ของพระพุทธเจา้จึงมีความหลากหลาย ผูศึ้กษาและปฏิบติัตามไม่จาํตอ้งศึกษาพระไตรปิฎกทงัหมด

    เพียงเลือกธรรมทีถูกจริตของตนและปฏิบัติตามอย่างถูกต้องย่อมได้รับประโยชน์สูงสุด

    พุทธศาสนามหายานจึงมีการยกยอ่งและใหค้วามสาํคญัพระสูตรบางสูตรทีนิยมอยา่งมาก เช่นคมัภีร์

    9 เล่มทีเรียกชือรวมว่านวธรรมหรือนวสกนัธ์ (นวสกนฺธ) ไดแ้ก่ อษัฏสาหัสริกาปรัชญาปารมิตา,

    1 พระศรีปริยติัโมลี (สมชยั กุสลจิตฺโต), พระไตรปิฎกภาษาสันสกฤต, เขา้ถึงเมือ 23 ธนัวาคม 2558,

    เขา้ถึงไดจ้าก http://www.mcu.ac.th/mcutrai/menu2/Article/article_22.htm

  • 2

    สัทธรรมปุณฑรีกะ, ลลิตวิสตระ,ลงักาวตาระ, สุวรรณประภาสะ, คณัฑวยหูะ, ตถาคตคุหยกะ,

    สมาธิราชะ และทศภูมิศวระ 2 คัมภีร์ เหล่านีชาวเนปาลนิยมนํามาสวดและเทิดทูนบูชาใน

    ชีวิตประจาํวนั อีกทงัคัมภีร์บางเล่มไดรั้บการยกย่องว่าเป็นไวปุลยสูตร3 เพราะมีเนือหาลุ่มลึก

    มีประโยชน์มหาศาล

    พระไตรปิฎกภาษาไทยทีมีอยู่ในปัจจุบนัแปลมาจากภาษาบาลีเพราะคนไทยนับถือ

    พระพุทธศาสนานิกายเถรวาทซึงยึดภาษาบาลีเป็นหลกั ยงัมีคัมภีร์พุทธศาสนาอีกจาํนวนมาก

    ทีคนไทยยงัเข้าไม่ถึงอย่างแพร่หลายโดยเฉพาะพระไตรปิฎกภาษาสันสกฤตเพราะข้อจํากัด

    ในความรู้ดา้นภาษาสนัสกฤตทีศึกษาในวงแคบ คนไทยจึงยงัไม่ไดรั้บทราบและรับประโยชน์จาก

    คาํสอนในคมัภีร์พุทธศาสนาเหล่านันอย่างทีควร โดยเฉพาะคมัภีร์กลุ่มนวธรรมทีพุทธศาสนิกชน

    ฝ่ายมหายานให้การยกย่องอย่างมาก ผูว้ิจ ัยจึงต้องการศึกษาคัมภีร์ในกลุ่มนวธรรมได้แก่คัมภีร์

    สมาธิราชสูตรฉบบัภาษาสนัสกฤตโดยวิธีการแปลภาษาสนัสกฤตเป็นภาษาไทย การศึกษารูปแบบ

    การแต่ง และการศึกษาสาระคาํสอนของคมัภีร์ซึงยงัไม่มีผูใ้ดทาํการศึกษาและเผยแพร่คัมภีร์นี

    ในประเทศไทยมาก่อน ส่วนในต่างประเทศมีการศึกษาสมาธิราชสูตรบา้งแต่เป็นเพียงบางปริวรรต

    ยงัไม่ครอบคลุมเนือหาทงัหมดของคมัภีร์

    ตน้ฉบบัคมัภีร์สมาธิราชสูตรทีตกทอดมาถึงปัจจุบนัเหลือเพียงบางส่วนเพราะความ

    คงทนของวสัดุทีใชบ้นัทึกไดผ้กุร่อนและหกัเสียหายไปตามกาลเวลา แต่ผูส้นใจศึกษาคมัภีร์เหล่านี

    ก็ได้พยายามค้นหาจารึกจากสถานทีต่างๆ เพือนําจารึกเหล่านันมาเทียบเคียงให้สามารถอ่าน

    ขอ้ความในจารึกไดส้มบูรณ์ยงิขึน สถานทีคน้พบจารึกภาษาสนัสกฤตจาํนวนมากทีสาํคญัมี 2 แห่ง

    คือหุบเขากาฐมาณฑุ ประเทศเนปาล และหมู่บ้านกิลกิต ประเทศปากีสถาน บไรอนั ฮอดจ์สัน

    (Brian Hodgson)4 นักการทูตชาวองักฤษได้ทาํการรวบรวมคัมภีร์ทีค้นพบในบริเวณหุบเขา

    กาฐมาณฑุของเนปาลในปี ค.ศ. 1824 ซึงรวมถึงสมาธิราชสูตรนีดว้ย และไดส่้งคมัภีร์เหล่านีไป

    2 Nariman Gushtaspshah Kaikhushro. Literary history of Sanskrit Buddhist (Delhi : Motilal

    Banarsidass, 1992), 64. 3 ความหมายของไวปุลยสูตร ไดแ้ก่ความไพบูลยห์รือยิงใหญ่กวา้งขวาง สมาธิราชสูตรจัดเป็น

    ไวปุลยสูตรดว้ยดังปรากฏในปริวรรตสุดท้ายของคมัภีร์สมาธิราชสูตรทีพระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่า ก็ เราแสดง

    พุทธธรรมอนัไพบูลย ์แสดงนัยอนัไพบูลย ์เพราะแสดงธรรมอนัไพบูลยจึ์งไดรั้บคุณอนัไพบูลย ์ฯ ลกัษณะของ

    ธรรมเหมือนกบัอากาศอนัไพบูลย ์เพราะมีรัตนะอนัไพบูลยจึ์งเรียกว่า ไพบูลย ์ฯ จริยาอนัไพบูลยเ์ป็นความไพบูลย์

    สาํหรับสัตวท์งัหลายเราไดแ้สดงไวแ้ลว้ เพราะอาคม (วิชาความรู้) เป็นสิงไพบูลย ์ฉะนันจึงเรียกว่า ไพบูลย ์ฯ ดู

    SR. 40/303/2 4 David M. Waterhouse, ed., The Origins of Himalayan Studies : Brian Houghton Hodgson

    in Nepal and Darjeeling 1820-1858 (New York: Routledge Curzon, 2005), 55.

  • 3

    เก็บไวย้งัสถานทีต่าง ๆ เช่น หอสมุดแห่งวิทยาลยัฟอร์ทวิลเลียม (The library of the College of Fort

    William) หอสมุดแห่งสมาคมเอเชียติคแห่งเบงกอล (The Library of the Asiatic Society of Bengal)

    ราชสมาคมเอเชีย (The Royal Asiatic Society) หอสมุดอินเดีย (The India Office Library) หอสมุด

    บ๊อดเลียน (Bodleian Library) สมาคมเอเชีย (The Société Asiatique) และบางส่วนไดม้อบให้แก่

    เบอร์นูฟ (Burnouf) ซึงเป็นผูเ้ชียวชาญภาษาตะวนัออกชาวฝรั งเศส รวมจารึกทงัหมด 423 ผูก

    ประกอบไปดว้ยคมัภีร์ทงัทีเป็นพระสูตรและตนัตระ มีคมัภีร์ทีสาํคญั ๆ คือ อษัฏสาหัสริกาปรัชญา-

    ปารมิตา, คณัฑวยหูะ, สุขาวตีวยหูะ, ทศภูมิกะ, ลงักาวตาระ, สมาธิราชะ, ลลิตวิสตระ, คุหยสมาชะ,

    โพธิจรรยาวตาระ พุทธจริตะ และสทัธรรมปุณฑรีกะ คมัภีร์เหล่านี ฮอดจ์สันไม่ไดอ่้านดว้ยตนเอง

    แต่ไดส่้งไปยงัส่วนงานต่าง ๆ ดงัทีกล่าวแลว้ ในส่วนสมาธิราชสูตรผูที้ไดใ้ชป้ระโยชน์จากจารึก

    ทีฮอดจ์สันรวบรวมคือ เรกาเม่ (Constainty Regamey) ไดท้าํการศึกษาและตีพิมพ์ผลงานในงาน

    เขียนชือว่า Three Chapters from the Samadhirajasutra (บทที 8 19 และ 22) ตีพิมพใ์นปี ค.ศ. 19385

    อีกแหล่งทีพบจารึกสมาธิราชสูตรคือหมู่บา้นกิลกิต6 แควน้จมัมุและแคชเมียร์ ปัจจุบนัอยู่ใน

    ประเทศปากีสถาน มีการคน้พบจารึกตงัแต่ปี ค.ศ.1931 โดยคนเลียงสัตวไ์ดต้อ้นสัตวไ์ปกินหญา้

    ใกล ้ๆ กบัสถปูร้างแห่งหนึง และบงัเอิญไดพ้บกล่องซึงภายในบรรจุเปลือกไมที้มีการเขียนจารึก

    เหล่านีลง จากนันไดน้าํไปมอบให้แก่มหาราชแห่งแควน้จมัมุและแคชเมียร์ ปัจจุบนัจารึกกิลกิต

    จาํนวนมากเหล่านีถกูเก็บไวที้ The National Archives กรุงนิวเดลี ประเทศอินเดีย เป็นจารึกทีเขียน

    ลงบนเปลือกไม ้ภาษาของจารึกคลา้ยกับคัมภีร์มหายานในยุคแรก ๆ หนึงในคัมภีร์ทีพบคือ

    สมาธิราชสูตร ผูที้ศึกษาจารึกเหล่านีคือนาลินักษะ ทตัต์ (Nalinaksha Dutt) นอกจากนียงัคน้พบ

    จารึกสมาธิราชสูตรภาษาสนัสกฤตในเอเชียกลางเป็นจารึกเปลือกไมจ้าํนวน 3 แผน่

    จารึกสมาธิราชสูตรทีคน้พบเหล่านีมีผูอ่้านและเทียบเคียงจากจารึกทีคน้พบในทีต่าง ๆ

    แลว้ทาํการแกไ้ขปรังปรุงเป็นตน้ฉบบัทีอ่านความไดค่้อนขา้งสมบูรณ์และตีพิมพเ์ผยแพร่จาํนวน 2

    ฉบับ คือ ฉบับของทัตต์และฉบับของไวทยะ สําหรับทัตต์ (Nalinaksha Dutt) ได้นําเสนอ

    ผลการศึกษาจารึกและเนือหาของสมาธิราชสูตรจากตน้ฉบบัทีคน้พบในกิลกิต ตีพิมพใ์นหนงัสือชือ

    Gilgit Manuscripts Vol.II พร้อมทงัสรุปเนือหาของแต่ละปริวรรตไว ้ ส่วนไวทยะ (P.L. Vaidya)

    ได้ทําการแก้ไขฉบับของทัตต์โดยนําปีกกาทีทัตต์ใส่ไว ้ออกเพือให้เข้าใจง่าย อ่านราบรืน

    5 David M. Waterhouse, ed., The Origins of Himalayan Studies : Brian Houghton Hodgson

    in Nepal and Darjeeling 1820-1858, 71. 6 Sudha Gopalakrishnan, Unesco memory of the world register Gilgit Manuscripts, aceessed

    December 23, 2015, available from http://portal.unesco.org/ci/en/files/22450/1151397961157_India_Gilgit.doc/

    57%2BIndia%2BGilgit.doc

  • 4

    เป็นขอ้ความเดียวกนัอยา่งต่อเนือง รวมทงัตดัขอ้ความทีไม่มีในฉบบักิลกิตออก เช่นคาถา 12 บทที

    เรียกว่า จนฺทฺรปฺรทีปสฺโตตฺร แลว้รวมรวบขอ้ความทีตดัออกนีไวใ้นภาคผนวกทา้ยเล่ม ในกรณีมีคาํ

    ทีอ่านไดแ้ตกต่างกนัไวทยะไดท้าํหมายเหตุไวใ้นเชิงอรรถซึงเป็นรูปแบบเดียวกบัทีทตัต์ไดท้าํไว ้

    โดยไวทยะเองกล่าวว่าเป็นการตรวจทานฉบบัของทตัตอี์กครังหนึง ฉบบัของไวทยะจึงถือเป็นการ

    นาํเสนองานการอ่านจารึกทีมองต่างมุม (Critical Apparatus) จากทตัต ์

    ดา้นการแปลสมาธิราชสูตรเป็นภาษาองักฤษมีการเลือกแปลเพียงบางส่วน ดงันี

    1. ปริวรรตที 1 – 4 แปลโดยโกเมซและซิลค์ (Lius O. Gomez and J.A. Silk) ตีพิมพ ์

    ในหนงัสือชือ Studies in the Literature of the Great Vehicle. ในปี ค.ศ. 1989

    2. ปริวรรตที 4, 6, 7 และ 9 แปลโดยร๊อกเวลล์ (John Rockwell, Jr.) เพือเป็น

    วิทยานิพนธ์ระดบัปริญญาโทในชือ Samadhi and Patient Acceptance: Four Chapters of the

    Samadhirajasutra, Translated from the Sanskrit and Tibetan.) ในปี ค.ศ. 1980

    3. ปริวรรตที 8, 19 และ 22 แปลโดยเรกาเม่ (Konstenty Regamey) เพือเป็น

    วิทยานิพนธใ์นระดบัปริญญาเอกในชือ Philosophy in the Samadhirajasutra : Three Chapters from

    the Samadhirajasutra. ในปี ค.ศ. 1938

    4. ปริวรรตที 9 แปลโดยคุปเปอร์ (Christoph Cuppers) เพือเป็นวิทยานิพนธ์ในระดบั

    ปริญญาเอกในชือ The IXth Chapter of the Samadhirajasutra. A Text-critical Contribution to the

    Study of Mahayana Sutras. ในปี ค.ศ. 1990

    5. ปริวรรตที 11 แปลโดยมาร์ค ททัซ์ (Mark Tatz) เพือเป็นวิทยานิพนธ์ในระดับ

    ปริญญาโทในชือ Revelation in Mathyamika Buddhism. ในปี ค.ศ. 1972

    ด้านเนือหา สมาธิราชสูตรเป็นคัมภีร์ทีแสดงหลกัการเกียวกับสมาธิชันยอดหรือ

    เรียกว่าราชาแห่งสมาธิ เป็นบทสนทนาระหว่างจนัทรประภากบัพระพุทธเจา้ถึงการปฏิบติัตนเป็น

    พระโพธิสตัวผ์า่นการฝึกสมาธิทีหลากหลายเพือผลลพัธท์างใจคือการมีความคิดทีละเอียดอ่อนอย่าง

    ทีสุดเป็นสมัมาทิฐิ สาระของการฝึกเช่น การระลึกถึงพระพุทธเจา้ (พุทธานุสมฤติ) การสละทางโลก

    อยา่งสินเชิง ความมีเมตตากรุณาต่อสรรพสตัว ์ความไม่แยแสต่อร่างกายและชีวิต สละชีวิตตนเองได้

    ในกรณีทีจาํเป็นเพือประโยชน์ต่อผูอื้น ความเข้าใจและมองสรรพสิงรวมทงัธรรมะเป็นศูนยตา

    เหล่านีเป็นตวัอยา่งการปฏิบติัสมาธิทีปรากฏในสมาธิราชสูตร7 นอกจากมุ่งแสดงหลกัการเกียวกบั

    สมาธิซึงเป็นเรืองลึกซึงทีตอ้งทาํความเขา้ใจอยา่งมากแลว้สมาธิราชสูตรยงัทาํให้ผูอ่้านเขา้ใจง่ายขึน

    ดว้ยการแสดงเรืองราวประกอบในรูปแบบของปูรวโยคะซึงมีรูปแบบคลา้ยกบัอวทานหรือชาดก

    7 Nariman Gushtaspshah Kaikhushro, Literary history of Sanskrit Buddhist, 82.

  • 5

    จาํนวน 12 เรือง เรืองราวเหล่านีเป็นแรงบนัดาลใจกระตุน้ให้บุคคลกลา้ปฏิบติัธรรมตามสมควร

    แก่ธรรม ดงัเช่นเรืองของเกษมทตัตแ์สดงความกลา้หาญในการเผามือของตนถวายเป็นพุทธบูชาอาจ

    เป็นแรงจูงใจให้พระภิกษุหนุ่มในเวียดนามกล้าเผาร่างตนเพือต่อสู้กับรัฐบาลโง ดินห์ เดียม

    ของเวียดนามก็เป็นได ้

    สมาธิราชสูตรเป็นทีนิยมอยา่งมากในพระพุทธศาสนาฝ่ายมหายานเห็นไดจ้ากการทีมี

    การแปลสมาธิราชสูตรเป็นภาษาจีนในราวคริสต์ศตวรรษที 2 และการแปลเป็นภาษาทิเบตในราว

    คริสต์ศตวรรษที 9 รวมถึงการอา้งถึงข้อความในสมาธิราชสูตรหลายครังในคัมภีร์รุ่นหลงัเช่น

    ประสนันปทาของจนัทรกีรติและศึกษาสมุจจยะของศานติเทวะ8 แต่ในประเทศไทยสมาธิราชสูตร

    ยงัไม่ถกูเผยแพร่เนืองจากไม่มีฉบบัแปลเป็นภาษาไทย ผูศึ้กษามุ่งหมายศึกษาสมาธิราชสูตรเพือให้

    เป็นทีรู้จกัแพร่หลายและไดรั้บประโยชน์จากคาํสอนของพระสมัมาสมัพุทธเจา้ต่อไป

    ความมุ่งหมายและวตัถุประสงค์ของการศึกษา

    1. เพือแปลความสมาธิราชสูตรจากตน้ฉบบัภาษาสนัสกฤตเป็นภาษาไทย

    2. เพือศึกษาความเป็นมาและลกัษณะของสมาธิราชสูตร

    3. เพือศึกษาเนือหาสาระคาํสอนทีปรากฏในสมาธิราชสูตร

    ขอบเขตของการศึกษา

    การศึกษาวิจยันี ผูศึ้กษากาํหนดขอบเขตในการศึกษาวิจยัดงันี

    1. ศึกษาประวติัความเป็นมา ลกัษณะเฉพาะ รูปแบบการแต่ง และสาระคาํสอนที

    ปรากฏในสมาธิราชสูตร

    2. ศึกษาเนือหาในสมาธิราชสูตรฉบบัภาษาสนัสกฤต อกัษรเทวนาครี ฉบบัของไวทยะ

    ข้อตกลงเบืองต้น

    1. การถ่ายถอดคาํศพัทที์เป็นชือเฉพาะจากอกัษรเทวนาครีเป็นอกัษรไทยมีหลกัเกณฑ์

    ดงันี

    1.1 ใชว้ิธีการถ่ายถอดตามอกัขรวิธีไทยสาํหรับชือเฉพาะของบุคคล สถานที เช่น

    จนัทรประภา ไมตเรยะ เป็นตน้ ส่วนคาํศพัทที์ไทยยมืมาใชจ้นเป็นทีนิยมแลว้ ผูศึ้กษาจะถ่ายถอด

    คาํศพัทเ์ช่นนนัตามความนิยม เช่น พระอานนท ์ กรุงกบิลพสัดุ ์ ภูเขาคิชฌกฏู เป็นตน้

    8 Nalinaksha Dutt, Gilgit Manuscripts vol.ii (Calcutta: Calcutta Oriental Press LTD., 1941), iii.

  • 6

    1.2 ใช้คาํศพัท์ตามทีปรากฏในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542

    สําหรับคาํศพัท์ทีมีการกาํหนดไว้ในพจนานุกรม เช่น ศราวก อารยสัตย์ อวิทยา เป็นต้น

    ส่วนคาํศพัทที์ไม่มีในพจนานุกรม ผูศึ้กษาจะถ่ายถอดตามอกัขรวิธีไทย

    1.3 คาํศพัท์ทีถ่ายถอดเป็นครังแรก ผูศึ้กษาจะระบุคาํศพัท์ภาษาสันสกฤตไว ้

    ในนขลิขิตทา้ยคาํศพัทน์นั เช่น ศราวก (ศฺราวก) อารยสตัย ์(อารฺยสตฺย) อวิทยา (อวิทฺยา) เป็นตน้

    2. การแปลสมาธิราชสูตรจากตน้ฉบบัภาษาสันสกฤตเป็นภาษาไทย ผูศึ้กษาจะแปล

    เทียบเคียงตามรูปหรือการแปลตรงตวั โดยทาํการแปลประโยคต่อประโยค ความคิดต่อความคิด

    จะรักษาคาํและความหมายในตน้ฉบบัไวม้ากทีสุด แต่ปรับเปลียนโครงสร้างของประโยคให้เขา้กบั

    โครงสร้างของภาษาไทยเพือให้เขา้ใจความหมาย อีกทังมีการเพิมเติมข้อความในนขลิขิตเพือ

    เสริมความในส่วนทีสาํนวนความในภาษาสันสกฤตไม่มีเช่นกบัในภาษาไทย ในส่วนขอ้ความใด

    ทีผูแ้ปลเห็นควรอธิบายเพิมเติมจะกล่าวไวใ้นเชิงอรรถ

    วธิีดําเนินการวจิยั

    การวิจยัครังนีเป็นการวิจยัเอกสาร (Documentary Research) โดยมีขนัตอนดงัต่อไปนี

    1. รวบรวมและตรวจสอบเอกสารทีเกียวขอ้ง ไดแ้ก่ ต้นฉบับคัมภีร์สมาธิราชสูตร

    ทฤษฎีการแปล การวิจารณ์วรรณคดี และผลงานวิจัยทีเกียวข้องทีเกียวข้องทังภาษาไทยและ

    ภาษาต่างประเทศ

    2. ปริวรรตคมัภีร์สมาธิราชสูตรฉบบัของไวทยะซึงเป็นภาษาสนัสกฤตอกัษรเทวนาครี

    เป็นภาษาสนัสกฤตอกัษรไทยตามวิธีเขียนภาษาสนัสกฤตดว้ยอกัษรไทย

    3. แปลคมัภีร์สมาธิราชสูตรภาษาสนัสกฤตเป็นภาษาไทยโดยวิธีแปลเทียบเคียงตามรูป

    หรือเรียกว่าการแปลตรงตวัเพือรักษาภาษาตน้ฉบบัไวใ้หม้ากทีสุด

    4. จดัลาํดบัและเรียบเรียงขอ้มลูเป็นหมวดหมู่ตามหวัเรืองทีกาํหนด

    5. วิเคราะห์ขอ้มลูทีเชือถือได ้มีความสมเหตุสมผล สอดคลอ้งกบัประเด็นเนือหาทีจะ

    ศึกษาและทาํการอภิปรายผลการศึกษา

    6. สรุปผลการศึกษาและนาํเสนอผลการศึกษา

    วรรณกรรมทีเกยีวข้อง

    งานวิจยัทีเกียวขอ้ง สามารถแบ่งสรุปเป็น 2 ประเภท คือ

    1. วรรณกรรมทีนําเสนอเนือหาสรุปทีได้จากการอ่านจารึกภาษาสันสกฤต มีดงันี

  • 7

    1.1 The Sanskrit Buddhist Literature of Nepal (1882) ของราเชนทรลาล มิตระ

    (Rajendralal Mitra) ในหนังสือของราเชนทรมิตระไดเ้ขียนบทนําจาํนวนหลายหน้าเพือกล่าวถึง

    ชีวประวติัและผลงานของไบรอนั ฮอดจ์สัน (B. Hodgson, 44 หน้า) ซึงเป็นผูร้วบรวมจารึกต่าง ๆ

    จาํนวนมากรวมถึงจารึกทีบนัทึกสมาธิราชสูตรนีด้วย มิตระไดศึ้กษาจารึกฉบบัเนปาล เอกสาร

    จารึกมีความกวา้ง 14.50 x 3.50 นิว มีจาํนวน 226 หน้า จารึกหน้าละ 6 บรรทดั มีจาํนวนโศลก

    รวม 5,339 โศลก เขียนดว้ยอกัษรเนวารี มีลกัษณะเก่ามากบางหน้าชาํรุด แต่งเป็นร้อยแกว้ผสม

    ร้อยกรอง แบ่งบทออกเป็น 42 ปริวรรต โดยลกัษณะของสมาธิราชสูตรจดัอยู่ในกลุ่มงานทีเรียกว่า

    วยากรณะ (เฉลยธรรม) ซึงเป็นคมัภีร์ประเภทเรืองเล่า แสดงถึงรูปแบบของสมาธิต่าง ๆ จึงมีชือ

    เรียกว่า “ราชาแห่งสมาธิ” เป้าหมายของคมัภีร์เพือแสดงกระบวนการทีผูห้วงัพุทธภูมิจะตอ้งยกจิต

    ไปสู่สถานะทีสูงสุดตามลาํดบั ซึงลาํดบัเนือหาของคมัภีร์จะแสดงขนัตอนทีละขนัในการยกระดบั

    จิตใจของมนุษย ์ประกอบกบัมีเรืองเล่าใหเ้ห็นเป็นตวัอยา่ง ผา่นการดาํเนินเรืองดว้ยการสนทนากนั

    ระหว่างพระพุทธเจา้กบัจนัทรประภา ณ ภูเขาคิชฌกฏูซึงเป็นสถานทีหลกัทีพระพุทธเจา้ทรงแสดง

    พระธรรมเทศนาอนังดงามในเบืองต้น ท่ามกลาง และทีสุด มิตระไดท้าํการสรุปเนือหาแต่ละ

    ปริวรรตของสมาธิราชสูตร ตดัประเด็นทีเกียวกบัอภินิหารและการอธิบายความซาํ ๆ ในทาํนอง

    มุขปาฐะออกแลว้นาํเสนอรายละเอียดบางประเด็นทีน่าสนใจ

    1.2 Studies in the Literature of the Great Vehicle : Three Mahayana

    Buddhist Texts (1989) ของโกเมซและซิลค์ (Luis O. Gomez and Jonathan A. Silk) ในหนังสือ

    เล่มนีมีบทนาํทีใหร้ายละเอียดเกียวกบัสมาธิราชสูตรว่าไดต้น้ฉบบัคมัภีร์มาจากกิลกิต มีอายุอยู่ใน

    ราวคริสต์ศตวรรษที 2 - 6 โดยอา้งถึงฉบบัแปลภาษาจีนผลงานของอนั ชิ เกา (An Shih-Kao)

    มีบนัทึกไวแ้ลว้ตงัแต่คริสต์ศตวรรษที 2 และจารึกทีคน้พบทีกิลกิตมีระยะเวลาการแต่งเฉลียอยู่

    ในช่วงคริสต์ศตวรรษที 6 จากนันคงมีการเปลียนแปลงเพิ มเติมเนือหาหลายครังจนถึง

    คริสต์ศตวรรษที 9 ซึงเป็นยุคสมยัทีมีการแปลเป็นภาษาทิเบต ในด้านชือคัมภีร์มีชือเรียกว่า

    สมาธิราชสูตร และ จนัทรประทีปสูตร ซึงเป็นทีสงสยัว่าเหตุใดจึงตงัชือเช่นนนัในขณะทีตวัเอกของ

    เรืองคือจันทรประภา ไม่ใช่จนัทรประทีป ในขณะทีฉบบัแปลภาษาทิเบตมีชือตรงตามเนือหาที

    ปรากฏในคมัภีร์คือ สรฺวธรฺมสฺวภาวสมตาวิป ฺ จิตสมาธิราช ตวัพระสูตรไดอ้ธิบายสารัตถะหลกั

    เกียวกบัลกัษณะของสมาธิทีถูกยกให้เป็นเรืองหลกัในวิถีและเป็นคุณธรรมของพระพุทธเจา้และ

    พระโพธิสตัวท์งัหลาย ดา้นโครงสร้าง จารึกกิลกิตกบัฉบบัแปลภาษาจีน มีเนือหาในช่วงเริมแรก

    ซึงสนักว่าทีปรากฏในจารึกเนปาลและฉบบัแปลภาษาทิเบต ฉบบัแปลภาษาจีนไม่มีการแบ่งบทแต่

    ฉบบัอืน ๆ มีการแบ่งบทซึงไม่ลงกนั ดา้นสารัตถะคมัภีร์มีเนือหาเกียวกบัสมาธิตรงตามชือเรียกว่า

    สมาธิราชสูตร ในตอนเริมตน้พระสูตร พระพุทธเจา้ตรัสกบัจนัทรประภาถึงสมาธิทีมีชือเรียกเต็ม

  • 8

    ในสนัสกฤตทีแปลความไดว้่า สมาธิทีแสดงใหเ้ห็นถึงความเสมอกนัแห่งสภาวะของธรรมทงัหมด

    จากนันพระองค์ไดอ้ธิบายคุณลกัษณะของสมาธิ กระตุน้ให้จนัทรประภาเรียนสมาธิ และอธิบาย

    ผลดีของการทรงจาํสมาธิ ในบทที 3 ชือพุทธานุสมฤติ (พุทฺธานุสฺมฺฤติ) ไดแ้สดงมุมมองของการฝึก

    โดยปฏิบติัตามคุณลกัษณะของพระพุทธเจา้ แต่ในบทที 4 สมาธิได้รับการอธิบายในฐานะเป็น

    วิธีการตระหนักรู้ทีเกียวเนืองกับการหยงัรู้และพลธรรม พระพุทธเจา้ได้ทรงอธิบายสมาธินีไว ้

    ในฐานะสูงสุด จากนนัไดอ้ธิบายว่าทุกสิงทีมีอยู่ควรมองให้เห็นว่าไม่มีสาระ เป็นเช่นกบัความฝัน

    หรือมายากล ถา้เขา้ใจไดเ้ช่นนีก็จะไดส้ัมโพธิทีเป็นสิงสูงสุด นีเป็นแนวคิดหลกัของบทหลกั ๆ

    ของพระสูตรปริวรรตที 5 – 37 หลงัจากปริวรรตที 4 คมัภีร์ไดส้ลบักนัระหว่างปริวรรตทีเป็นเรือง

    เล่า (อดีตชาติ) กบัปริวรรตทีแสดงถึงสารัตถะหลกัตามทีปรากฏในบทที 1 – 4 มีการเน้นยาํเนือหา

    ทีกระตุ้นให้รักษาสมาธิ รวมทังผลทีจะได้รับจากการเล่าเรียนสมาธินี มีการยกตัวอย่างสิงที

    พระพุทธเจา้ผูท้รงเล่าเรียนสมาธินีแลว้ได้รับเช่น พุทธคุณ ลกัษณะดีๆ ดา้นกาย เช่น มหาบุรุษ-

    ลกัษณะและอนุวยญัชนะ ดา้นวาจา เช่นเสียงทีดีเลิศกว่าเสียงใดๆ การไดรั้บสัมโพธิชญาน เป็นตน้

    อย่างไรก็ตาม ในส่วนทีเป็นเรืองเล่าก็ใช่ว่าจะมีคุณค่าน้อย เพราะแสดงถึงตัวอย่างอันดีของ

    วรรณกรรมพุทธศาสนาและเป็นการกล่าวแสดงหลกัการไดด้ว้ย สุดทา้ยไดน้าํเสนอการแปลคมัภีร์

    สมาธิราชสูตร เฉพาะปริวรรตที 1 – 4

    1.3 Encyclopedia of Indian Philosophies Volume VIII: Buddhist Philosophy

    from 100 to 350 A.D. (1999) ของพอตเตอร์ (K. H. Potter) หนังสือเล่มนีเป็นการรวบรวมเนือหา

    สรุปของคมัภีร์มหายานต่าง ๆ ซึงแต่งหรือคาดว่าแต่งในระหว่าง ค.ศ. 100 – 350 โดยรวมสมาธิราช-

    สูตรไวใ้นหนงัสือเล่มนีและระบุเวลาแต่งไวใ้นปี ค.ศ.150 มีการกล่าวบทนาํสัน ๆ ซึงนาํเนือหามา

    จากหนังสือของเรกาเม่ (Regamey) ทตัต์ (Dutt) ไวทยะ (Vaidya) โกเมซและซิลค์ (Gomez/Silk)

    และมิตระ (Mitra) และมีการสรุปเนือหาของแต่ละบททงั 40 บท ในการสรุปเนือหาแต่ละบทนี

    ผูแ้ต่งไดชี้แจงว่านาํเนือหามาจากงานของมิตระและทตัต ์

    2. วรรณกรรมทีนําเสนอเนือหาในรูปแบบการตรวจทานจารึก แก้ไข เพิมเติม ปรับปรุงข้อความในจารึก ทาํการลงความเห็นถึงคาํหรือขอ้ความทีเป็นไปได ้(Critical Apparatus)

    และนําเสนอสมาธิราชสูตรในแบบฉบับของผูศึ้กษาเองซึงผูศึ้กษามีฐานะเป็นผูป้รับปรุงแก้ไข

    (Editor) ไดผ้ลงานเป็นฉบบัปรับปรุงแกไ้ข (Edition) มีดงันี

    2.1 Gilgit Manuscripts. Vol. II (part 1:1941, part 2:1953 and part 3:1954)

    ของนะลินากษะ ทตัต์ (Nalinaksha Dutt) ไดน้าํเสนอผลการศึกษาจารึกและเนือหาของสมาธิราช-

    สูตรจากตน้ฉบบัทีคน้พบในกิลกิต ตีพิมพใ์นหนังสือชือ Gilgit Manuscripts Vol.II มีจาํนวน 3

  • 9

    ส่วน (เล่ม) แบ่งเนือหาบทที 1-16 ไวใ้นส่วนที 1 (Part I) บทที 17 – 32 ในส่วนที 2 (Part. II) และ

    บทที 33 – 40 ในส่วนที 3 (Part. III)

    ทตัตไ์ดป้รับปรุงแกไ้ขสมาธิราชโดยนาํจารึกทีพบในกิลกิตเป็นตวัตงั เทียบเคียง

    กบัจารึกทีพบในเนปาล 2 ฉบบั คือฉบบัจารึกของศาสตรี (A) และฉบบัจารึกของฮอดจ์สัน (B)

    รวมทงัการเทียบเคียงกบัฉบบัแปลภาษาทิเบต ทตัต์ไดท้าํการเติมขอ้ความทีไม่มีในฉบบักิลกิตแต่

    พบไดใ้นฉบบัอืน ๆ โดยทาํเครืองหมายวงเล็บแทรกขอ้ความไว ้ ในกรณีทีมีคาํทีแตกต่างกนัก็จะ

    หมายเหตุความแตกต่างกนัไวใ้นเชิงอรรถ สาํเร็จเป็นฉบบัปรับปรุงแกไ้ขของทตัต์ ในดา้นลาํดบั

    เวลาการแต่ง ฉบบักิลกิตน่าจะร่วมสมยักบัฉบบัจีนของนเรนทรยศสัคือศตวรรษที 6 (ค.ศ.557)

    ดว้ยหลกัฐานดงันี

    1. อกัษรคุปตะทีใชใ้นจารึกมีอยูใ่นคริสตศ์ตวรรษที 6

    2. จนัทรกีรติมีชีวิตอยูใ่นช่วงคริสตศ์ตวรรษที 6 และศานติเทวะมีชีวิตอยู่ในช่วง

    ศตวรรษที 7 คมัภีร์ของทงัสองท่านไดอ้า้งถึงสมาธิราชสูตรบ่อยๆ การแต่งสมาธิราชสูตรจึงตอ้งมีอยู่

    ก่อนหนา้นนั จดัเป็นเกณฑต์ดัสินการอา้งถึงวนัเวลาจากคมัภีร์ทีระบุวนัเวลาได ้

    3. ในคมัภีร์มีการอา้งการสงัคายนาสามครัง การแต่งจึงน่าจะอยู่หลงัการสังคายนา

    ครังทีสามแลว้ ซึงจดัทาํในยคุของพระเจา้กนิษกะ (ตามคมัภีร์สันสกฤต พ.ศ.643) ในช่วงศตวรรษ

    ที 1-2 จดัเป็นเกณฑต์ดัสินวนัเวลาจากเนือหาทีปรากฏในคมัภีร์

    4. มีการแปลเป็นภาษาจีนโดยอนัชิเกา ในปี ค.ศ.148 (พ.ศ.691) แต่ฉบับนีไม่

    หลงเหลืออยู่ในปัจจุบัน อีกฉบบัทีไม่สมบูรณ์คือฉบับของฉีเซียนกุง ผูมี้ชีวิตอยู่ในช่วงปี ค.ศ.

    420-479

    ฉบบักิลกิตเก่ากว่าฉบบัเนปาลทงัสองฉบบั จากการทีฉบบักิลกิตไม่มีส่วนทีเป็น

    ร้อยแก้วเหมือนทีฉบับเนปาลมี ข้อนีจัดเป็นเกณฑ์ตัดสินจากข้อความทีเพิมเข้ามา ฉบับแปล

    ภาษาจีนไม่มีส่วนทีเป็นร้อยแกว้เช่นเดียวกนั คาดกนัว่าฉบบัเนปาลของฮอดจ์สันเป็นแหล่งขอ้มูล

    ทีใช้ในการแปลเป็นฉบับแปลภาษาทิเบตซึงแปลโดยไศเลนทรโพธิและธรรมตาศีลผูมี้ชีวิต

    ในคริสตศ์ตวรรษที 9 เพราะว่าฉบบัแปลภาษาทิเบตไม่มีโศลกในส่วนบทนาํ 30 โศลกเช่นเดียวกบั

    ฉบบัของฮอดจ์สัน (B) ในขณะทีฉบบั A มีการเพิมโศลกเขา้มาอีก 30 โศลก จึงตดัสินว่าฉบบั A

    มีทีหลงัฉบบั B จดัเป็นเกณฑต์ดัสินจากขอ้ความทีเพิมเขา้มา ระยะเวลาแต่งของคมัภีร์สมาธิราชสูตร

    จึงอยูใ่นช่วงคริสตศ์ตวรรษที 2-9 โดยมีการเพิมเติมแกไ้ขตลอดมา เมือเรียงลาํดบัจารึกทีพบจะได้

    ลาํดบัเก่าไปหาใหม่ ยกเวน้ฉบบัแปลภาษาจีนของอนัชิเกาซึงไม่มีต้นฉบับเหลืออยู่ จะจัดเรียง

    ไดด้งันี

    1. ฉบบักิลกิต และฉบบัแปลภาษาจีนของนเรนทรยศสั (คริสตศ์ตวรรษที 2)

  • 10

    2. ฉบบัเนปาลของฮอดจส์นั

    3. ฉบบัเนปาลของศาสตรี (พิจารณาจากการมีขอ้ความทีเพิมเขา้มาซึงฉบบัของ

    ฮอดจส์นัไม่มี)

    4. ฉบบัแปลภาษาทิเบต (คริสตศ์ตวรรษที 9)

    จากนันทัตต์ได้อภิปรายเรืองชือของคัมภีร์ รูปแบบไวยากรณ์ทีไม่เป็นไปตาม

    ไวยากรณ์มาตรฐาน ภาษาทีใชมี้ลกัษณะเป็นสนัสกฤตผสมซึงใชใ้นอินเดียเหนือจึงน่าจะบ่งบอกถึง

    ตน้กาํเนิดของคมัภีร์ได ้ สิงทีคมัภีร์มุ่งนาํเสนอคือทฤษฏีศูนยตา ความดีเด่นเหนือกว่าเถรวาทของ

    มหายาน กายของพระพุทธเจ้า เป็นตน้ จากนันได้ทาํการสรุปเนือหาแต่ละบทโดยตดัพลความ

    ทีแต่งในรูปแบบมหายานคือการใชข้อ้ความฟุ่มเฟือยมากและการแต่งเนือหาให้ดูยิงใหญ่อลงัการ

    ออกไป

    2.2 Buddhist Sanskrit Texts - No. 2 : Samadhirajasutra (1961) ของไวทยะ

    (P.L. Vaidya) ไวทยะไดท้าํการแกไ้ขฉบบัปรับปรุงแกไ้ขของทตัต์ กล่าวสรุปขอ้ความในบทนาํ

    ของทตัต ์ และทาํการปรับปรุงแกไ้ขโดยนาํปีกกาทีทตัตใ์ส่ไวอ้อกเพือใหเ้ขา้ใจง่าย อ่านราบรืนเป็น

    ขอ้ความเดียวกนัอย่างต่อเนือง รวมทงัตดัขอ้ความทีไม่มีในฉบบักิลกิตออก (เช่นคาถา 12 บทที

    เรียกว่า จนฺทฺรปฺรทีปสฺโตตฺร) แต่ไดร้วมรวบขอ้ความทีตดัออกนีไวใ้นภาคผนวกทา้ยเล่ม ในกรณีที

    มีคาํแตกต่างกนัไดท้าํหมายเหตุไวใ้นเชิงอรรถซึงเป็นรูปแบบเดียวกบัทีทตัต์ไดท้าํไว ้โดยไวทยะ

    กล่าวว่าเป็นการตรวจทานฉบบัของทตัตอี์กครังหนึง

    2.3 The IXth Chapter of the Samadhirajasutra : A text critical contribution

    to the study of Mahayana Sutras (1990) ของคุปเปอร์ (Christoph Cüppers) คุปเปอร์ได้

    ทาํการศึกษาสมาธิราชสูตรปริวรรตที 9 เป็นวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอก เพราะเห็นว่าเป็น

    ปริวรรตทีมีเนือหาทางปรัชญาซึงชีแจงลกัษณะทางมายาของปรากฏการณ์ทุกอย่าง หลกัปรัชญานี

    เป็นทีรู้จกักนัอย่างแพร่หลาย อีกทังได้รับการอา้งถึงในคัมภีร์ของปรมาจารยฝ่์ายมธัยมกะในยุค

    ต่อมาและในงานระดบัอรรถาธิบายความฉบบัภาษาทิเบตอืนๆ ดว้ย คุปเปอร์ศึกษาโดยการรวบรวม

    เอกสารต่างๆ ทาํการเทียบเคียงเอกสารปฐมภูมิภาษาสนัสกฤตระหว่างจารึกกิลกิตกบัจารึกเนปาลอีก

    12 ฉบบั และนาํจารึกสนัสกฤตเปรียบเทียบกบัฉบบัแปลภาษาทิเบต จาํนวน 9 ฉบบัและฉบบัแปล

    ภาษาจีนของนเรนทรยศสั จากนนัไดท้าํการแปลภาษาสันสกฤตเป็นภาษาองักฤษโดยไดท้าํหมาย

    เหตุไวใ้นกรณีทีจารึกฉบบัอืนมีเนือหาทีแตกต่างกนั ในผนวก A คุปเปอร์ไดน้าํคมัภีร์กีรติมาลาของ

    มัญชุศรีกีรติ ซึงเป็นอรรถาธิบายความสมาธิราชสูตรทีแต่งเป็นภาษาทิเบต (ปริวรรตที 9)

    มานาํเสนอโดยการเสนอตน้ฉบบัและทาํการแปลภาษาทิเบตเป็นภาษาองักฤษ ในผนวก B เป็นการ

    นาํเสนอดชันีคาํคน้บาทคาถาเรียงตามลาํดบัอกัษร ในผนวก C นาํเสนอคาํปรากฤตซึงเป็นภาษา

  • 11

    อินเดียกลางทีปรากฏในคัมภีร์ และในทา้ยบทได้นาํเสนอตน้ฉบบัภาษาจีนของสมาธิราชสูตร

    จากการศึกษาคุปเปอร์ใหข้อ้เปรียบเทียบระหว่างสมาธิราชสูตรฉบบักิลกิตและฉบบัเนปาล และลง

    ความเห็นว่าฉบบักิลกิตเป็นฉบบัทีเก่าแก่ทีสุด กาํหนดเวลาแต่งไดร้าวคริสต์ศตวรรษที 6 เทียบกบั

    คมัภีร์อืน ๆ ทีพบในกิลกิตซึงมีระยะเวลาการแต่งในช่วงคริสตศ์ตวรรษที 6 โดยตวัเขียนทีใชบ้นัทึก

    อยูใ่นกลุ่มตวัเขียนคุปตะ เรียกชือว่า calligraphic ornate script (Thomas) หรือ Gilgit/Bamiyan Type

    I (Sander) ในการปรับปรุงแก้ไขคัมภีร์ คุปเปอร์ได้นําต้นฉบับต่าง ๆ มาเปรียบเทียบกันและ

    คดัเลือกคาํโดยมีหลกัเกณฑด์งันี

    1. ระหว่างคาํสมาสกบัคาํแจกรูป จะเลือกคาํทีแจกรูป อาจเป็นไปไดว้่าคุปเปอร์

    เห็นว่าในยคุแรกเริมไม่นิยมการสมาสคาํ

    2. รูปทีอ่านแลว้เห็นว่าผิดไปจากรูปปกติ ยกเวน้แต่จะเห็นว่าเกิดจากการสะกด

    คาํผิดอย่างชัดเจน เช่นคาํว่า สฺกนฺธุมฺ จะถูกเลือกไว ้เพราะผูศึ้กษาโดยทั วไปย่อมทราบว่าคาํที

    ถกูตอ้งเป็น สฺกนฺธ ํ

    3. เมือมีคาํทีมีความหมายต่างกันจะเลือกคาํทีมีความหมายดีทีสุด เช่น คาํว่า

    วิสุทฺเธ กบั ปฺรสนฺเน ซึงขยายคาํว่า หฺรเท คุปเปอร์ได้เลือกคาํว่า ปฺรสนฺเน เพราะให้ความหมาย

    ดีกว่า (บึงใส)

    4. คาํทีอ่านแลว้เขา้กนัไดก้บับริบทจะถกูเลือก เช่นระหว่างคาํว่า ปารคต ในฉบบั

    กิลกิตกบัคาํว่า ปารค ในฉบับเนปาล คุปเปอร์เลือกคาํว่า ปารคต เพราะเขา้กนัได้กบัคาํถดัไปว่า

    สฺถลคต ซึงปรากฏทงัในฉบบักิลกิตและฉบบัเนปาล

    5. การเปลียนตาํแหน่งคาํเพือหลีกเลียงสนธิ ยกตวัอย่าง นาริ อลมฺกฺฤตมฺ มุขมฺ ใน

    ฉบบักิลกิตกบั นาริ มุขมฺ อลมฺกฺฤตมฺ ในฉบบัเนปาล คุปเปอร์เลือกคาํทีสนธิกนัคือ อลมฺกฤตมฺ มุขมฺ

    6. ในกรณีทีไม่มีหลกัเกณฑที์เหมาะสมในการเลือก คุปเปอร์อาจจะเลือกคาํใดคาํ

    หนึงก็ได ้ เช่นระหว่างคาํว่า อนุตฺตรามฺ กบั จานุตฺตรามฺ รูปคาํทงัสองไปปรากฏในบทอืน ๆ ดว้ย

    โดยทีบทที 8,14,16 เป็น อนุตฺตรามฺ และบทที 6,7,8, เป็น จานุตฺตรามฺ จะเลือกคาํใดคาํหนึงก็ได ้

    2.4 Four recensions of the Samadhiraja-Sutra (1999) ของสกิลตนั (Andrew

    Skilton) สกิลตนัไดเ้ขียนบทความลงในวารสารอินโด-อิราเนียน (Indo-Iranian Journal) ฉบบัที 42

    หนา้ที 335-356 กล่าวถึงสมาธิราชสูตรทีมีรูปแบบแตกต่างกนั เช่น การแบ่งบท ฉบบักิลกิตแบ่งเป็น

    40 บท ฉบบัเนปาลทีคน้พบ 2 ฉบบั ฉบบัหนึงมี 40 บท อีกฉบบัมี 42 บท ฉบบัแปลภาษาทิเบตมี 39

    บท ส่วนฉบบัแปลภาษาจีนไม่มีการแบ่งบท ความแตกต่างน�