a2680 เล่ม 1-2558 - soc.go.th

45
หน้า เล่ม ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๒๓๔ ราชกิจจานุเบกษา ตุลาคม ๒๕๕๘ ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที๔๗๑๓ (.. ๒๕๕๘) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม .. ๒๕๑๑ เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม การทดสอบเพื่อการรับรองคุณสมบัติช่างเชื่อม - การเชื่อมหลอมละลาย เล่ม เหล็กกล้า อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๕ แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม .. ๒๕๑๑ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม การทดสอบเพื่อการรับรองคุณสมบัติช่างเชื่อม - การเชื่อมหลอมละลาย เล่ม เหล็กกล้า มาตรฐานเลขทีมอก. 2680 เล่ม 1 - 2558 ไว้ ดังมีรายละเอียดต่อท้ายประกาศนีทั้งนีให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ประกาศ วันที๒๐ กรกฎาคม .. ๒๕๕๘ จักรมณฑ์ ผาสุกวนิช รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม

Upload: others

Post on 03-Nov-2021

10 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: a2680 เล่ม 1-2558 - soc.go.th

หน้า ๒ เล่ม ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๒๓๔ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑ ตุลาคม ๒๕๕๘

ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ ๔๗๑๓ (พ.ศ. ๒๕๕๘)

ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. ๒๕๑๑

เร่ือง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม การทดสอบเพื่อการรับรองคุณสมบัติช่างเชื่อม - การเชื่อมหลอมละลาย

เล่ม ๑ เหล็กกล้า

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๕ แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. ๒๕๑๑ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม การทดสอบเพื่อการรับรองคุณสมบัติช่างเชื่อม - การเชื่อมหลอมละลาย เล่ม ๑ เหล็กกล้า มาตรฐานเลขที่ มอก. 2680 เล่ม 1 - 2558 ไว้ ดังมีรายละเอียดต่อท้ายประกาศน้ี

ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

ประกาศ ณ วันที่ ๒๐ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ จักรมณฑ์ ผาสุกวนิช

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม

Page 2: a2680 เล่ม 1-2558 - soc.go.th

มอก. 2680 เลม 1–2558

–1–

มาตรฐานผลิตภัณฑอตุสาหกรรม

การทดสอบเพ่ือการรับรองคุณสมบัติชางเชื่อม – การเชื่อมหลอมละลาย

เลม 1 เหล็กกลา 1. ขอบขาย

มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนี้ คุณลักษณะท่ีตองการสําหรับการทดสอบเพื่อรับรองคุณสมบัติของชางเช่ือม สําหรับการเช่ือมแบบหลอมละลายของเหล็กกลา

ภายใตขอกําหนดประกอบดวยกฎเกณฑทางเทคนิคสําหรับวิธีการรับรองคุณสมบัติชางเช่ือมอยางเปนระบบ และสามารถรับรองดวยรูปแบบเดียวกันโดยไมข้ึนอยูกับ ประเภทของผลิตภัณฑ สถานท่ี และผูตรวจสอบ/หนวยงานตรวจสอบท่ีเปนกลาง

ชางเช่ือมท่ีไดรับการรับรอง (qualifying welder) มุงเนนท่ีความสามารถของชางเช่ือมในการใชมือจับควบคุมลวดเช่ือม หัวเช่ือม หรือหัวเช่ือมแกส และสรางงานเช่ือมท่ีมีคุณภาพเปนท่ียอมรับได

กระบวนการเช่ือมท่ีถูกใชในมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนี้ คือ กระบวนการเช่ือมแบบหลอมละลาย ซ่ึงถูกกําหนดรหัสรับรองเปนการเช่ือมดวยมือ หรือการเช่ือมควบคุมเชิงกลบางสวน (partly mechanized welding) แตจะไมครอบคลุมถึงกระบวนการเช่ือมควบคุมเชิงกลและการเช่ือมอัตโนมัติเต็มรูปแบบ (ดู ISO 14732)

2. เอกสารอางอิง

เอกสารอางอิงท่ีระบุในมาตรฐานน้ีใชประกอบกับมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนี้ เอกสารอางอิงท่ีระบุปท่ีพิมพใหใชฉบับปท่ีระบุ สวนเอกสารอางอิงฉบับท่ีไมระบุปท่ีพิมพนั้นใหใชฉบับปลาสุด

มอก.2597-2556 งานเช่ือมและกระบวนการท่ีเกี่ยวของ – ตําแหนงการเช่ือม ISO 857-1, Welding and allied processes — Vocabulary — Part 1: Metal welding processes ISO 3834-2, Quality requirements for fusion welding of metallic materials — Part 2: Comprehensive quality requirements ISO 3834-3, Quality requirements for fusion welding of metallic materials — Part 3: Standard quality requirements

Page 3: a2680 เล่ม 1-2558 - soc.go.th

มอก. 2680 เลม 1–2558

–2–

ISO 4063, Welding and allied processes — Nomenclature of processes and reference numbers ISO 5173, Destructive tests on welds in metallic materials — Bend tests ISO 5817, Welding — Fusion-welded joints in steel, nickel, titanium and their alloys (beam welding excluded) — Quality levels for imperfections ISO 9017, Destructive tests on welds in metallic materials — Fracture test ISO/TR 15608, Welding — Guidelines for a metallic material grouping system ISO 15609-1, Specification and qualification of welding procedures for metallic materials — Welding procedure specification — Part 1: Arc welding ISO 15609-2, Specification and qualification of welding procedures for metallic materials — Welding procedure specification — Part 2: Gas welding ISO 17636 (all parts), Non-destructive testing of welds — Radiographic testing ISO 17637, Non-destructive testing of welds — Visual testing of fusion-welded joints ISO/TR 25901:2007, Welding and related processes — Vocabulary

3. ศัพทและบทนิยาม

ความหมายของคําท่ีใชในมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนี้ มีดังตอไปนี้

3.1 ชางเช่ือม (welder) หมายถึง บุคคลท่ีใชมือจับและควบคุมหัวเช่ือม หรือหัวเช่ือมแกส

3.2 ผูทํา (manufacturer) หมายถึง บุคคล หรือองคกรท่ีมีหนาท่ีรับผิดชอบในงานเช่ือมเพ่ือการผลิต

3.3 ผูควบคุมการทดสอบ (examiner) หมายถึง บุคคลท่ีมีคุณสมบัติตามเกณฑท่ีกําหนด ซ่ึงไดรับการแตงต้ังใหทําหนาท่ีทดสอบรับรองตามมาตรฐานท่ีใชงาน

หมายเหตุ ในบางกรณี ผูควบคุมการทดสอบ เปนบุคคลอิสระภายนอกได

3.4 องคกรควบคุมการทดสอบ (examining body) หมายถึง องคกรซ่ึงไดรับการแตงต้ังใหทําหนาท่ีทดสอบรับรองตามมาตรฐานท่ีใชงาน

หมายเหตุ ในบางกรณี องคกรควบคุมการทดสอบ เปนองคกรอิสระภายนอกได

3.5 วัสดุรองดานหลัง (material backing) หมายถึง วัสดุใด ๆ ท่ีใชรองดานหลังรอยเช่ือม เพื่อรองรับน้ําโลหะหลอมละลายของเน้ือโลหะเช่ือม

3.6 แกสปกคลุมดานหลัง (gas backing) หมายถึง แกสใด ๆ ท่ีใชปกคลุมดานหลังรอยเช่ือม เพื่อปองกันการเกิดออกซิเดชัน

Page 4: a2680 เล่ม 1-2558 - soc.go.th

มอก. 2680 เลม 1–2558

–3–

3.7 ฟลักซรองดานหลัง (flux backing) หมายถึง ฟลักซใด ๆ ท่ีใชรองดานหลังรอยเช่ือม เพื่อปองกันการเกิดออกซิเดชัน

หมายเหตุ ในการเช่ือมอารกใตฟลักซ (submerged arc welding) การใชฟลักซรองดานหลังอาจชวยลดความเส่ียงตอการยุบตัวของบอหลอมละลายดวย

3.8 วัสดุแทรกส้ินเปลือง (consumable insert) หมายถึง วัสดุเติมท่ีวางไวบริเวณแนวรากของรอยตอกอนเช่ือม เพื่อใหหลอมละลายอยางสมบูรณไปในแนวราก

3.9 ช้ันเช่ือม (layer) หมายถึง ช้ันของเน้ือเช่ือม ประกอบไปดวยเท่ียวเช่ือมเดียวหรือหลายเท่ียวเช่ือม

3.10 แนวราก (root run) หมายถึง เท่ียวเช่ือมท่ีเปนช้ันเช่ือมแรกบริเวณรากของรอยตอ ในการเช่ือมหลายช้ันเช่ือม

3.11 แนวกลาง (filling run) หมายถึง เท่ียวเช่ือมท่ีเปนลําดับตอจากแนวราก และกอนแนวปดบนของรอยตอ ในการเช่ือมหลายช้ันเช่ือม

3.12 แนวปดบน (capping run) หมายถึง เท่ียวเช่ือมท่ีมองเห็นไดบริเวณผิวหนา หลังส้ินสุดการเช่ือมแลวเสร็จสมบูรณ ในการเช่ือมหลายช้ันเช่ือม

3.13 ความหนาของเนื้อโลหะเติม (deposited thickness) หมายถึง ความหนาของโลหะเช่ือม ไมรวมความนูนสวนเกิน

3.14 การเช่ือมเดินหนา (leftward welding) หมายถึง เทคนิคการเช่ือมแกส โดยลวดเติมเคล่ือนท่ีนําหนาหัวเช่ือมแกสในทิศทางของการเช่ือมเดียวกัน

3.15 การเช่ือมถอยหลัง (rightward welding) หมายถึง เทคนิคการเช่ือมแกส โดยลวดเติมเคล่ือนท่ีตามหลังหัวเช่ือมแกสในทิศทางของการเช่ือมเดียวกัน

3.16 รอยตอแขนง (branch joint) หมายถึง รอยตอเดียวหรือหลายรอยตอของช้ินสวนทอกับทอหลัก หรือ ผนัง

3.17 รอยเช่ือมฟลเล็ท (fillet weld) หมายถึง รอยเช่ือมรูปทรงสามเหล่ียมโดยไมบากขอบช้ินงาน ในการเช่ือมงานท่ีเปนรอยตอรูปตัวที ตอมุม หรือ ตอเกย

3.18 การทวนสอบ (verification) หมายถึง การยืนยันผานหลักฐานท่ีเปนจริงพิสูจนได ซ่ึงระบุวาสามารถเปนไปตามรายการท่ีกําหนด

3.19 ชุดประกอบเพื่อทดสอบการเช่ือม (test assembly) หมายถึง ชิ้นงานเช่ือมประกอบกันข้ึนเปนรูปราง ติดกันโดยการเช่ือมยึดเพื่อนําไปใชในการเช่ือมสอบ

3.20 ช้ินงานทดสอบ (test pieces) หมายถึง ชุดประกอบเพ่ือทดสอบการเช่ือมท่ีเช่ือมเรียบรอยแลว ซ่ึงอาจตัดหรือไมตัดบางสวน ซ่ึงพรอมนําไปทําเปนช้ินทดสอบได

Page 5: a2680 เล่ม 1-2558 - soc.go.th

มอก. 2680 เลม 1–2558

–4–

3.21 ช้ินทดสอบ (test specimen) หมายถึง ช้ินทดสอบมาตรฐานท่ีพรอมท่ีจะทดสอบในการหาคาคุณสมบัติทางกล โดยไดมาจากช้ินงานทดสอบเทานั้น

3.22 ทอ (pipe/ tube) หมายถึง ผลิตภัณฑท่ีมีรูปกลวง ซ่ึงมีหนาตัดกลม โดยมีผนังตอเนื่องกัน การบอกขนาดระบุใหเปนไปตามมาตรฐานกําหนด

3.23 หนาตัดกลวง (hollow section) หมายถึง ผลิตภัณฑท่ีมีรูปกลวง ซ่ึงมีหนาตัดไมกลม โดยมีผนังตอเนื่องกัน

3.24 ขอกําหนดวิธีดําเนินการเช่ือมเบ้ืองตน (preliminary Welding Procedure Specification, pWPS) หมายถึง เอกสารท่ีกําหนดคาตัวแปรท่ีสําคัญในการกําหนดวิธีดําเนินการเช่ือมซ่ึงตองไดรับการรับรองคุณสมบัติ

3.25 ขอกําหนดวิธีดําเนินการเช่ือม (Welding Procedure Specification, WPS) หมายถึง เอกสารท่ีไดรับการรับรองคุณสมบัติแลวและกําหนดคาตัวแปรท่ีสําคัญในการกําหนดวิธีดําเนินการเช่ือมเพ่ือใหม่ันใจในการผลิตซํ้าในผลิตภัณฑงานเช่ือมท่ีเหมือนกัน

3.26 โท (toe) หมายถึง รอยตอระหวางขอบรอยเช่ือมท่ีมาบรรจบกับผิวหนาช้ินงาน (รายละเอียดตาม ISO 5817)

3.27 ความไมตอเนื่อง (discontinuity) หมายถึง ตลอดความยาวของรอยเช่ือมมีความไมสมบูรณ และ/หรือส่ิงบกพรองขวางอยู

3.28 ผูประสานงานเช่ือม (welding coordinator) หมายถึง บุคคลท่ีมีคุณสมบัติตามเกณฑท่ีกําหนด ซ่ึงไดรับการแตงต้ังใหทําหนาท่ีประสานงานในการทดสอบรับรองตามมาตรฐานท่ีใชงาน

คือมุมโท

Page 6: a2680 เล่ม 1-2558 - soc.go.th

มอก. 2680 เลม 1–2558

–5–

4. หมายเลขอางอิง สัญลักษณ และคํายอ

4.1 ท่ัวไป

ตองใชอักษรยอและหมายเลขอางอิงตอไปนี้ เม่ือมีการออกใบรับรองหลังการสอบรับรองชางเช่ือมส้ินสุด (ดูภาคผนวก ก.)

4.2 หมายเลขอางอิงของกระบวนการเช่ือม

มาตรฐานน้ีครอบคลุมกระบวนการเช่ือมดวยมือ หรือกระบวนการเช่ือมควบคุมเชิงกลบางสวน (หมายเลขอางอิงของกระบวนการเช่ือมเปนสัญลักษณการรับรองคุณสมบัติ แสดงไวใน ISO 4063):

คําจํากัดความของการเช่ือมดวยมือ (manual welding) และการเช่ือมควบคุมเชิงกลบางสวน (partly mechanized welding) ดูเอกสารอางอิง ISO TR 25901 และ ISO 857-1

111 การเช่ือมอารกโลหะดวยมือ (manual metal arc welding) 114 การเช่ือมอารกดวยลวดเช่ือมมีใสไมใชแกสคลุม (self-shielded tubular - cored arc welding) 121 การเช่ือมอารกใตฟลักซดวยลวดเช่ือมตันแบบเสนมวน (ควบคุมเชิงกลบางสวน) (submerged

arc welding with solid wire electrode (partly mechanised)) 125 การเช่ือมอารกใตฟลักซดวยลวดเช่ือมมีไส ( ควบคุมเชิงกลบางสวน) (submerged arc

welding with tubular cored electrode (partly mechanised) 131 การเช่ือมมิกดวยลวดเช่ือมตันแบบเสนมวน (MIG welding with solid wire electrode) 135 การเช่ือมแม็กดวยลวดเช่ือมตันแบบเสนมวน (MAG welding with solid wire electrode) 136 การเช่ือมแม็กดวยลวดเช่ือมมีไสฟลักซ (MAG welding with flux cored electrodes) 138 การเช่ือมแม็กดวยลวดเช่ือมมีไสโลหะ (MAG welding with metal cored electrode) 141 การเช่ือมทิกดวยวัสดุเติมตัน (TIG welding with solid filler material) 142 การเช่ือมทิกแบบออโตจีเนียส (autogenous TIG welding) 143 การเช่ือมทิกดวยวัสดุเติมมีไส (TIG welding with tubular cored filler material) 145 การเช่ือมทิกดวยวัสดุเติมตันใชแกสลดทอน (เสนมวน/เสนตรง) (TIG welding using

reducing gas and solid filler material (wire/rod) 15 การเช่ือมพลาสมาอารก (plasma arc welding) 311 การเช่ือมออกซ่ี-อะเซทิลีน (oxy - acetylene welding)

หมายเหตุ หลักปฏิบัติ (principle) ของมาตรฐานนี้อาจประยุกตใชกับกระบวนการเช่ือมหลอมละลาย อ่ืน ๆ ได

Page 7: a2680 เล่ม 1-2558 - soc.go.th

มอก. 2680 เลม 1–2558

–6–

4.3 สัญลักษณและคํายอ (symbols and abbreviated term)

4.3.1 ช้ินงานทดสอบ

a ความหนาคอรอยเช่ือมออกแบบ BW รอยเช่ือมชน D เสนผานศูนยกลางภายนอกทอ FW รอยเช่ือมฟลเล็ท l1 ความยาวช้ินงานทดสอบ l2 ความกวางคร่ึงหนึ่งของช้ินงานทดสอบ lf ความยาวท่ีใชตรวจสอบ (examination length) P แผน s ความหนาของเน้ือโลหะเช่ือม หรือความหนาของโลหะที่หลอมละลายในรอยเช่ือมชน t ความหนาของวัสดุช้ินงานทดสอบเช่ือม (ความหนาแผน หรือผนังทอ) s1 ความหนาของเน้ือโลหะเช่ือมของช้ินงานทดสอบ สําหรับกระบวนการเช่ือมท่ี 1 s2 ความหนาของเน้ือโลหะเช่ือมของช้ินงานทดสอบ สําหรับกระบวนการเช่ือมท่ี 2 T ทอ1) z ความยาวขาของรอยเช่ือมฟลเล็ท หมายเหตุ 1) คําวา “ทอ” หมายถึง ทอ (pipe/tube) หรือ หนาตัดกลวง (hollow section)

4.3.2 วัสดุเติม

nm ไมมีวัสดุเติม

สัญลักษณของชนิดสารพอกหุมหรือไส เปนดังตอไปนี ้

03 สารพอกหุมประเภทรูไทล-ดาง (rutile basic covering)

10 สารพอกหุมประเภทเซลลูโลส (cellulosic covering)

11 สารพอกหุมประเภทเซลลูโลส (cellulosic covering)

12 สารพอกหุมประเภทรูไทล (rutile covering)

13 สารพอกหุมประเภทรูไทล (rutile covering)

14 สารพอกหุมประเภทรูไทล+ผงเหล็ก (rutile + iron powder covering)

15 สารพอกหุมประเภทดาง (basic covering)

16 สารพอกหุมประเภทดาง (basic covering)

18 สารพอกหุมประเภทดาง+ผงเหล็ก (basic + iron powder covering)

Page 8: a2680 เล่ม 1-2558 - soc.go.th

มอก. 2680 เลม 1–2558

–7–

19 สารพอกหุมประเภทอิลเมไนต (ilmenite covering)

20 สารพอกหุมประเภทผงเหล็กออกไซด (iron oxide covering)

24 สารพอกหุมประเภทรูไทล+ผงเหล็ก (rutile + iron powder covering)

27 สารพอกหุมประเภทผงเหล็กออกไซด+ผงเหล็ก (iron oxide + iron powder covering)

28 สารพอกหุมประเภทดาง+ผงเหล็ก (basic + iron powder covering)

45 สารพอกหุมประเภทดาง (basic covering)

48 สารพอกหุมประเภทดาง (basic covering)

หมายเหตุ รายละเอียดของฟลักซประเภทตาง ๆ ดูไดจากมาตรฐานลวดเช่ือมท่ีเกี่ยวของ เชน มอก. 49 เปนตน

ลวดเช่ือมท่ีจําแนกชนิดตามความตานการคราก มีดังตอไปนี ้

A สารพอกหุมประเภทกรด

B สารพอกหุมประเภทดาง หรือ ไสลวดเช่ือม - ดาง

C สารพอกหุมประเภทเซลลูโลส

R สารพอกหุมประเภทรูไทล หรือ ไสลวดเช่ือม - รูไทล สแลกแข็งตัวชา

RA สารพอกหุมประเภทรูไทล-กรด

RB สารพอกหุมประเภทรูไทล-ดาง

RC สารพอกหุมประเภทรูไทล-เซลลูโลส

RR สารพอกหุมประเภทรูไทลหนา

M ลวดเช่ือมมีไสโลหะ – ผงโลหะ

P ลวดเช่ือมมีไส - รูไทล สแลกแข็งตัวเร็ว

S ลวดเติมตันแบบเสนมวน / ลวดเติมตันแบบเสนตรง

V ลวดเช่ือมมีไส - รูไทล หรือดาง / ฟลูออไรด

W ลวดเช่ือมมีไส – ดาง/ ฟลูออไรด สแลกแข็งตัวชา

Y ลวดเช่ือมมีไส – ดาง / ฟลูออไรด สแลกแข็งตัวเร็ว

Z ลวดเช่ือมมีไส – ประเภทอ่ืน

Page 9: a2680 เล่ม 1-2558 - soc.go.th

มอก. 2680 เลม 1–2558

–8–

4.3.3 สําหรับรายละเอียดการเช่ือมอ่ืน ๆ

fb ฟลักซรองดานหลัง (flux backing) bs การเช่ือมท้ัง 2 ดาน (welding from both sides) ci วัสดุแทรกส้ินเปลือง (consumable insert) lw การเช่ือมเดินหนา (leftward welding) mb วัสดุรองดานหลัง (material backing) gb แกสปกคลุมรองดานหลัง (gas backing) ml ช้ันเช่ือมหลายช้ัน (multi-layer) nb ไมมีวัสดุรองดานหลัง (welding with no material backing) rw เช่ือมถอยหลัง (rightward welding) sl ช้ันเช่ือมเดยีว (single layer) ss ช้ันเช่ือมดานเดียว (single side welding)

4.3.4 การทดสอบดัดโคง

A ความยืดตัวตํ่าสุดจากแรงดงึหลังจากขาดแลวตามท่ีระบุในขอกําหนดของวัสด ุd เสนผานศูนยกลางของหัวกดหรือลูกกล้ิงตัวใน

ts ความหนาของช้ินทดสอบดัดโคงมาตรฐาน 4.3.5 ชนิดของการเช่ือมอารก (Types of arc welding)

การเช่ือมแม็ก (metal active gas; MAG) การเช่ือมมิก (metal inert gas; MIG) การเช่ือมทิก (tungsten inert gas; TIG)

5. ตัวแปรสําคัญ (essential variable) และชวงของการรับรองคุณสมบัติ

5.1 ท่ัวไป

การรับรองคุณสมบัติชางเช่ือมข้ึนกับตัวแปรสําคัญ ชวงของการรับรองคุณสมบัติจะระบุตามตัวแปรสําคัญแตละตัว ถาชางเช่ือมตองเช่ือมงานท่ีนอกเหนือจากชวงของการรับรองคุณสมบัติ จําเปนตองทําการทดสอบรับรองใหม ตัวแปรสําคัญไดแก

กระบวนการเช่ือม

ชนิดผลิตภัณฑ (แผน หรือ ทอ)

ชนิดของรอยเช่ือม (เช่ือมชน หรือ เช่ือมฟลเล็ท)

กลุมวัสดุเติม

วัสดุเช่ือมส้ินเปลือง

Page 10: a2680 เล่ม 1-2558 - soc.go.th

มอก. 2680 เลม 1–2558

–9–

มิติ (ความหนาของวัสดุ และเสนผานศูนยกลางภายนอกทอ)

ตําแหนงการเชื่อม

รายละเอียดการเช่ือม (วัสดุรองดานหลัง แกสปกคลุมดานหลัง วัสดุแทรกละลาย ฟลักซรองดานหลัง การเช่ือมดานเดียว การเช่ือม 2 ดาน ช้ันเช่ือมเดียว หลายช้ันเช่ือม เช่ือมเดิมหนา เช่ือมถอยหลัง)

กลุมของวัสดุช้ินงาน – กลุมยอย ตามมาตรฐาน ISO/TR 15608 ซ่ึงใชในการทดสอบควรบันทึกไวในใบรับรองชางเช่ือม

5.2 กระบวนการเช่ือม

ISO 857-1 และ ขอ 4.2 ใหคํานิยามของกระบวนการเช่ือมไวแลว

ตามปกติ การทดสอบแตละคร้ังจะรับรองเพียงกระบวนการเช่ือมเดียวเทานั้น การเปล่ียนแปลงกระบวนการเช่ือมจําเปนตองมีการทดสอบรับรองใหม

ยกเวนกรณีดังตอไปนี้

การเปล่ียนจากลวดเช่ือมตัน 135 เปน ลวดเช่ือมใสโลหะ 138 หรือในทางกลับกัน ไมจําเปนตองทดสอบรับรองใหม (ดูตารางท่ี 5)

การเปล่ียนจากลวดเช่ือมตัน 121 เปนลวดเช่ือมใส 125 หรือในทางกลับกัน ไมจําเปนตองทดสอบรับรองใหม (ดูตารางท่ี 5)

การเช่ือมดวยกระบวนการเช่ือม 141 143 หรือ 145 รับรองกระบวนการเช่ือม 141 142 143 และ 145 ยกเวน 142 รับรองเฉพาะกระบวนการเช่ือม 142 เทานั้น

เม่ือมีการรับรองคุณสมบัติชางเช่ือมดวยวิธีสงถายแบบลัดวงจร (short circuit transfer mode) (131, 135 และ 138) การรับรองคุณสมบัตินี้ตองรับรองวิธีอ่ืน ๆ ดวย แตเม่ือมีการรับรองคุณสมบัติชางเช่ือมดวยวิธีอ่ืน ๆ จะไมรับรองวิธีสงถายแบบลัดวงจร

อยางไรก็ตาม ชางเช่ือมอาจไดรับรองกระบวนการเช่ือม 2 กระบวนการหรือมากกวา ในช้ินงานรับรองดวยช้ินงานเช่ือมเพียงช้ินเดียว (รอยตอประกอบดวยกระบวนการเช่ือมหลายกระบวนการ) หรือทําการสอบแยกออกเปน 2 ช้ินหรือแยกเปนช้ิน ๆ ตามกระบวนการเช่ือมก็ได ชวงของการรับรองคุณสมบัติจะข้ึนกับความหนาของรอยเช่ือมในแตละกระบวนการเช่ือมท่ีใช และสําหรับรอยตอชนท่ีประกอบดวยหลายกระบวนการเช่ือมแสดงไวในตารางท่ี 1 และตารางท่ี 6

Page 11: a2680 เล่ม 1-2558 - soc.go.th

มอก. 2680 เลม 1–2558

–10–

ตารางท่ี 1 ชวงความหนาของเน้ือโลหะเชื่อมสําหรับกระบวนการเชื่อมเดียว และหลายกระบวนการเชื่อม สําหรับรอยเชื่อมชน

(ขอ 5.2)

กระบวนการเช่ือมช้ินงานทดสอบ ชวงความหนาของเน้ือเช่ือมที่รับรอง ตามตารางที่ 6

รอยตอกระบวนการเช่ือม

เดียว

รอยตอหลายกระบวนการ

เช่ือม

1 หมายถึง กระบวนการเช่ือมที่ 1 (ss nb) 2 หมายถึง กระบวนการเช่ือมที่ 2 (ss mb)

สําหรับกระบวนการเช่ือม

ที่ 1 : s = s1

สําหรับ

กระบวนการเช่ือมที่ 2 : s = s2

s = s1 + s2

1 หมายถึง กระบวนการเช่ือมที่ 1 2 หมายถึง กระบวนการเช่ือมที่ 2 3 หมายถึง การเช่ือมมีการรองหลัง (ss mb) 4 หมายถึง การเช่ือมไมมีการรองหลัง (ss nb)

สําหรับกระบวนการเช่ือม

ที่ 1 : s1

สําหรับกระบวนการเช่ือม

ที่ 2 : s2

สําหรับ s = s1 + s2

กระบวนการเช่ือมที่ 1

ใชเฉพาะการเช่ือมแนวราก

เทาน้ัน

หมายเหตุ ดูขอ 4.3.1 สําหรับบทนิยามของตัวแปร

Page 12: a2680 เล่ม 1-2558 - soc.go.th

มอก. 2680 เลม 1–2558

–11–

5.3 ชนิดของผลิตภัณฑ

การทดสอบเพื่อการรับรองคุณสมบัติ ตองทําการเชื่อมบนแผน ทอ หรือผลิตภัณฑอ่ืนท่ีเหมาะสม สามารถใชเกณฑดังตอไปนี้

ก. ช้ินงานทดสอบเช่ือมท่ีเปนทอ ขนาดเสนผานศูนยกลางภายนอก D > 25 mm ครอบคลุมการเช่ือมช้ินงานแผน

ข. ช้ินงานทดสอบเช่ือมท่ีเปนแผน ครอบคลุมการเช่ือมทอยึดแนน ขนาดเสนผานศูนยกลางภายนอก D ≥ 500 mm ข้ึนไป ตามตารางท่ี 9 และตารางท่ี 10

ค. ช้ินงานทดสอบเช่ือมท่ีเปนแผน ครอบคลุมการเช่ือมทอท่ีหมุนได ขนาดเสนผานศูนยกลางภายนอก D

≥ 75 mm ในตําแหนงแนวเช่ือม PA PB PC และ PD ตามตารางท่ี 9 และตารางท่ี 10

5.4 ชนิดของรอยเช่ือม

การทดสอบเพ่ือการรับรองคุณสมบัติตองทําการเช่ือมชนหรือเช่ือมฟลเล็ท ใชเกณฑดังตอไปนี้

ก. รอยเช่ือมชนครอบคลุมรอยเช่ือมชนทุกชนดิ ยกเวน รอยตอแขนง (ดูขอ 5.4 ค) ข. รอยเช่ือมชนไมครอบคลุมรอยเช่ือมฟลเล็ท หรือกลับกัน อยางไรก็ตาม อนุญาตใหทดสอบรับรองรอย

เช่ือมฟลเล็ทรวมกับรอยเช่ือมชนได เชน การเตรียมรอยบากดานเดียว โดยมีวัสดุรองหลังแบบถาวร (ตองใชความหนาตํ่าสุดของช้ินงานทดสอบ 10 mm) ดูภาคผนวก ค. สําหรับการทดสอบแบบรวมนี้ รายละเอียดการสอบท่ีกําหนดไวท้ังหมดภายใตมาตรฐานน้ีตองครบสมบูรณ และชวงของการรับรองคุณสมบัติข้ึนอยูกับเง่ือนไขการทดสอบ

ค. รอยเช่ือมชนในทอ รับรองถึงรอยตอแขนง ท่ีมีมุมต้ังแต 60O ข้ึนไป และในชวงของการรับรองคุณสมบัติเดียวกันท่ีแสดงไวในตารางท่ี 1 ถึงตารางท่ี 12 ชวงของการรับรองคุณสมบัติสําหรับรอยตอแขนง ข้ึนกับขนาดเสนผานศูนยกลางภายนอกของรอยตอแขนง

ง. สําหรับการใชงานชนิดของรอยเช่ือมท่ีกําหนดไมไดวาเปนรอยเช่ือมชนหรือรอยเช่ือมฟลเล็ท หรือรอยเชื่อมสําหรับรอยตอแขนง ท่ีมีมุมนอยกวา 60O ควรกําหนดช้ินงานทดสอบเฉพาะเพ่ือใชรับรองชางเช่ือม เม่ือมีการระบุไว (เชน ระบุโดยมาตรฐานผลิตภัณฑ)

จ. รอยเช่ือมชนอาจรับรองรอยเช่ือมฟลเล็ทได ถาช้ินงานทดสอบมีการผนวกรอยเช่ือมฟลเล็ท (ดูรูปท่ี 3) ท่ีถูกเช่ือมในแตละกระบวนการเช่ือม แตละกลุมวัสดุเติม (FM) และแตละชนิดของฟลักซหุมลวดเชื่อมไฟฟา/ไสในกลุมเดียวกัน ซ่ึงไดแสดงไวในตารางท่ี 3 ตารางท่ี 4 และตารางท่ี 5 ช้ินงานทดสอบรอยเช่ือมฟลเล็ทตองมีความหนาอยางนอย 10 มม. หรือ เทากับความหนาของช้ินงานทดสอบรอยเช่ือมชน ในกรณีท่ีความหนาของรอยเช่ือมชนนอยกวา ใหเช่ือมเสร็จดวยช้ันเช่ือมเดียวในตําแหนงแนวเช่ือม PB สําหรับการทดสอบเสริมรอยเช่ือมฟลเล็ทนี้ สามารถใหการรับรองคุณสมบัติชางเช่ือมสําหรับการเช่ือมฟลเล็ทท้ังหมด ตามเง่ือนไขการรับรองคุณสมบัติเช่ือมชนท่ีสอดคลองกับชวงการรับรองคุณสมบัติสําหรับรอยเชื่อมฟลเล็ท (ตามตัวอยางในตารางท่ี 8 ตารางท่ี 10 และตารางท่ี 12) ตําแหนงแนวเช่ือมฟลเล็ท PA และตําแหนงแนวเช่ือมฟลเล็ท PB รับรองตามการทดสอบนี้

Page 13: a2680 เล่ม 1-2558 - soc.go.th

มอก. 2680 เลม 1–2558

–12–

5.5 การแบงกลุมของวัสดุเติม

5.5.1 ท่ัวไป

การทดสอบเพ่ือการรับรองตองใชวัสดุเติมจากกลุมใดกลุมหนึ่งในตารางท่ี 3 ถาทําการสอบโดยใชวัสดุเติมนอกเหนือจากท่ีแบงกลุมในตารางท่ี 2 จําเปนตองทําการทดสอบแยกตางหาก

ช้ินงานเช่ือมท่ีใชในการทดสอบเพ่ือการรับรองควรเปนวัสดุท่ีเหมาะสมท่ีไดจากวัสดุกลุม 1 ถึงกลุม 11 ดังระบุใน ISO/TR 15608

5.5.2 ชวงของการรับรองคุณสมบัติ

กลุมของวัสดุเติมระบุไวในตารางท่ี 2

ตารางท่ี 2 การแบงกลุมของวัสดุเติม (ขอ 5.5.2)

กลุม วัสดุเติมสําหรับการเชื่อม ตัวอยางมาตรฐานที่ใช FM1 เหล็กกลาไมเจือและเหล็กกลาเกรนละเอียด มอก.49

ISO 2560, ISO 14341, ISO 636, ISO 14171, ISO 17632 FM2 เหล็กกลาความแข็งแรงสูง ISO 18275, ISO 16834, ISO 26304, ISO 18276 FM3 เหล็กกลาทนตอการคืบ Cr < 3.75 % ISO 3580, ISO 21952, ISO 24598, ISO 17634 FM4 เหล็กกลาทนตอการคืบ 3.75 ≤ Cr ≤ 12 % ISO 3580, ISO 21952, ISO 24598, ISO 17634 FM5 เหล็กกลาไรสนิมและเหล็กกลาทนความรอน ISO 3581, ISO 14343, ISO 17633 FM6 นิกเกิลและนิกเกิลผสม ISO 14172, ISO 18274

การเช่ือมดวยวัสดุเติมในกลุมใดกลุมหนึ่งสามารถรับรองชางเช่ือมในการเช่ือม ในกลุมเดียวกันและกลุมอ่ืน ๆ ไดตามตารางท่ี 3 และเช่ือมบนช้ินงานทดสอบจากกลุม 1 ถึง 11

Page 14: a2680 เล่ม 1-2558 - soc.go.th

มอก. 2680 เลม 1–2558

–13–

ตารางท่ี 3 ชวงของการรับรองคุณสมบตัิสําหรับวัสดุเติม (ขอ 5.5.2)

วัสดุเติมท่ีใชทดสอบ ชวงของการรับรองคุณสมบัติ

FM1 FM2 FM3 FM4 FM5 FM6 FM1 X X - - - - FM2 X X - - - - FM3 X X X - - - FM4 X X X X - - FM5 - - - - X - FM6 - - - - X X

X หมายถึง กลุมวัสดุเติมที่ชางเช่ือมไดรับการรับรองคุณสมบัติ – หมายถึง กลุมวัสดุเติมที่ชางเช่ือมไมไดรับการรับรองคุณสมบัติ

5.6 ชนิดวัสดุเติม

การเช่ือมโดยใชวัสดุเติมสามารถรับรองการเช่ือมโดยไมใชวัสดุเติมได แตการเช่ือมโดยไมใชวัสดุเติมไมสามารถรับรองการเช่ือมโดยใชวัสดุเติม

หมายเหตุ สําหรับกระบวนการเช่ือม 142 และ 311 (ไมใชวัสดุเติม) กลุมวัสดุช้ินงานท่ีใชสอบจะตองเปนกลุมวัสดุท่ีชางเช่ือมไดรับการรับรองคุณสมบัติ

ชวงของการรับรองคุณสมบัติสําหรับวัสดุเติม ใหไวในตารางท่ี 4 และตารางท่ี 5

Page 15: a2680 เล่ม 1-2558 - soc.go.th

มอก. 2680 เลม 1–2558

–14–

ตารางท่ี 4 ชวงของการรับรองคุณสมบตัิสําหรับลวดเชื่อมไฟฟามีสารพอกหุมก (ขอ 5.6)

กระบวนการเชื่อม

ชนิดของสารพอกหุมท่ีใชในการทดสอบ ข

ชวงการรับรองคุณสมบัติ

A, RA, RB, RC, RR, R 03, 13, 14, 19, 20, 24, 27

B 15, 16, 18, 28, 45, 48

C 10, 11

111

A, RA, RB, RC, RR, R 03, 13, 14, 19, 20, 24, 27

X – –

B 15, 16, 18, 28, 45, 48

X X –

C 10, 11

– – X

ก คํายอ ดูขอ 4.3.2. ข ชนิดของสารพอกหุมที่ใชในการทดสอบรับรองชางเช่ือมสําหรับการเช่ือมแนวรากโดยไมมีวัสดุรองดานหลัง (ss nb) คือ ชนิดของสารพอกหุมที่ไดรับการรับรองคุณสมบัติในการเช่ือมแนวรากในการผลิตโดยไมมีวัสดุรองหลัง

คําอธิบาย : X หมายถึง กลุมวัสดุเติมที่ชางเช่ือมไดรับการรับรองคุณสมบัติ – หมายถึง กลุมวัสดุเติมที่ชางเช่ือมไมไดรับการรับรองคุณสมบัติ

ตารางท่ี 5 ชวงของการรับรองคุณสมบตัิสําหรับชนิดของวัสดุเติมก ข

(ขอ 5.6)

วัสดุเชื่อมสิ้นเปลืองท่ีใชสําหรับชิ้นงานทดสอบ ชวงของการรับรองคุณสมบัติ

(S) (M) (B) (R, P, V, W, Y, Z)

ลวดเช่ือมตันแบบเสนมวน เสนตรง (S) X X – – ลวดเช่ือมไสโลหะ เสนตรง (M) X X – – ลวดเช่ือมไสฟลักซ เสนตรง (B) – – X X ลวดเช่ือมไสฟลักซ เสนตรง (R, P, V, W, Y, Z) – – – X คําอธิบาย : X หมายถึง กลุมวัสดุเช่ือมสิ้นเปลืองที่ชางเช่ือมไดรับการรับรองคุณสมบัติ – หมายถึง กลุมวัสดุเช่ือมสิ้นเปลืองที่ชางเช่ือมไมไดรับการรับรองคุณสมบัติ ก คํายอใหดูขอ 4.3.2 ข ชนิดของไสฟลักซแบบเสนมวนที่ใชในการทดสอบรับรองคุณสมบัติชางเช่ือมสําหรับการเช่ือมแนวรากโดยไมมีวัสดุรองหลัง (ss, nb) คือ ชนิดของไสฟลักซแบบเสนมวนที่ไดรับการรับรองคุณสมบัติในการเช่ือมแนวรากในการผลิตโดยไมมีวัสดุรอง (ss, nb)

Page 16: a2680 เล่ม 1-2558 - soc.go.th

มอก. 2680 เลม 1–2558

–15–

5.7 มิติ

การทดสอบรับรองชางเช่ือมของการเชื่อมตอชน ข้ึนกับความหนาของเน้ือโลหะเติมและขนาดเสนผานศูนยกลางภายนอกทอ ชวงของการับรองกําหนดไวในตารางท่ี 6 และตารางท่ี 7

มาตรฐานฉบับนี้ไมไดมีเจตนาวา ควรวัดความหนาของเน้ือโลหะเติมหรือขนาดเสนผานศูนยกลางภายนอกทออยางเท่ียงตรง แตควรมาประยุกตใชคาท่ีใหไวใน ตารางท่ี 6 และตารางที่ 7

การเช่ือมฟลเล็ท ชวงของการรับรองคุณสมบัติสําหรับความหนาวัสดุช้ินงานทดสอบไดกําหนดไวในตารางท่ี 8

ช้ินงานทดสอบท่ีมีเสนผานศูนยกลางภายนอกและความหนาของเนื้อโลหะเติมแตกตางกัน ชางเช่ือมจะไดรับการรับรองคุณสมบัติดังนี้

– ความบางท่ีสุดถึงความหนาท่ีสุดของเน้ือโลหะเช่ือมและ/หรือความหนาของช้ินงานหลัก (parent metal) ท่ีชางเช่ือมไดรับการรับรองคุณสมบัติ และ

– ขนาดเสนผานศูนยกลางเล็กสุดถึงเสนผานศูนยกลางใหญสุดท่ีชางเช่ือมไดรับการรับรองคุณสมบัติ (อางอิงไปท่ี ตารางท่ี 6 และตารางท่ี 7)

Page 17: a2680 เล่ม 1-2558 - soc.go.th

มอก. 2680 เลม 1–2558

–16–

ตารางท่ี 6 ชวงของการรับรองคุณสมบตัิของความหนาของเนื้อโลหะเติมสําหรับรอยเชื่อมชน (ขอ 5.7)

มิติเปนมิลลิเมตร ความหนาของเน้ือโลหะเติมของชิ้นงานทดสอบ

s

ชวงของการรับรองคุณสมบัติ ก ข

s < 3

s ถึง 3 ค หรือ

s ถึง 2s ค โดยใหเลือกคาที่มากกวา

3 ≤ s < 12 3 ถึง 2s ง

s 12 จ ฉ 3 ฉ ก กระบวนการเช่ือมเดียว และมีวัสดุเติมชนิดเดียวกัน s มีคาเทากับความหนาช้ินงานทดสอบ (t) ข ชวงของการรับรองคุณสมบัติสําหรับความหนาเน้ือโลหะเติมของรอยตอแขนงมีดังน้ี

– การประกอบทอแขนงบนผนังทอประธาน ดูตัวอยางรูปที่ 1 ก เปนความหนาของเน้ือโลหะเติมของทอแขนง

– การประกอบทอแขนง ทะลุผานทอประธาน ดูตัวอยางรูปที่ 1 ข และทอแขนงประกอบฝงเขาภายในผนังทอประธาน ดูตัวอยางรูปที่ 1 ค เปนความหนาเน้ือโลหะเติมเปนของทอประธานหรือผนังถังบรรจ ุ

ค สําหรับการเช่ือมแกส ออกซี-อะเซทีลีน (311) s ถึง 1.5s ง สําหรับการเช่ือมแกส ออกซี-อะเซทีลีน (311) 3 ถึง 1.5s จ ช้ินงานทดสอบตองเช่ือมอยางนอย 3 ช้ันเช่ือม ฉ สําหรับการเช่ือมหลายกระบวนการเช่ือม s คือความหนาเน้ือโลหะเติมของแตละกระบวนการเช่ือม

Page 18: a2680 เล่ม 1-2558 - soc.go.th

มอก. 2680 เลม 1–2558

–17–

ก) – ประกอบทอแขนงบนผนังทอประธาน

(ขอ 4.7)

ข) – ประกอบทอแขนงทะลุผานทอประธาน

(ขอ 4.7)

ค) – ประกอบทอแขนงฝงเขาภายในผนังทอประธาน

(ขอ 4.7) คําอธิบาย D เสนผานศูนยกลางภายนอก S ความหนาวัสดุเติมในรอยเช่ือมชน T ความหนาวัสดุของช้ินงานทดสอบ 1 แขนง 2 ทอประธานหรือผนังถังบรรจุ

รูปท่ี 1 ชนดิของทอแขนง (ขอ 5.7 )

Page 19: a2680 เล่ม 1-2558 - soc.go.th

มอก. 2680 เลม 1–2558

–18–

ตารางท่ี 7 ชวงของการรับรองคุณสมบตัิสําหรับขนาดเสนผานศูนยกลางภายนอกทอก

(ขอ 5.7) มิติเปนมิลลิเมตร

เสนผานศูนยกลางภายนอกทอชิ้นงานทดสอบก

D ชวงของการรับรองคุณสมบัติ

D ≤ 25 D ถึง 2 × D D > 25 ≥ 0.5 × D (ตํ่าสุด 25 มม.)

ก หนาตัดกลวงท่ีไมกลม D คือมิติดานที่เล็กกวา

Page 20: a2680 เล่ม 1-2558 - soc.go.th

มอก. 2680 เลม 1–2558

–19–

ตารางท่ี 8 ชวงของการรับรองคุณสมบตัิของความหนาชิน้งานสําหรับในรอยเชื่อมฟลเล็ท

(ขอ 5.7) มิติเปนมิลลิเมตร

ความหนาวัสดุชิ้นงานทดสอบ

t ชวงของการรับรองคุณสมบัติ

t < 3 t ถึง 2t หรือ 3 โดยใหเลือกคาที่มากกวา

t ≥ 3 ≥ 3

กรณีของรอยเชื่อมทอแขนง เกณฑสําหรับความหนารอยเช่ือมซ่ึงใชตามตารางท่ี 6 และเกณฑสําหรับเสนผานศูนยกลางภายนอกของทอ ซ่ึงใชตามตารางท่ี 7 ใหเปนดังตอไปนี้

– การประกอบทอแขนงบนผนังทอประธาน ความหนาของโลหะเติมและเสนผานศูนยกลางทอแขนง ดังรูปท่ี 1 ก – การประกอบทอแขนงทะลุผานทอประธาน หรือการประกอบทอแขนงฝงเขาภายในผนังทอประธาน : ความหนา

ของโลหะเติมบนทอประธาน หรือผนังถังบรรจุ และขนาดเสนผานศูนยกลางภายนอกทอแขนง ดังรูปท่ี 1ข และรูปท่ี 1ค

5.8 ตําแหนงการเช่ือม

ชวงการรับรองคุณสมบัติสําหรับตําแหนงการเช่ือม ใหไวในตารางท่ี 9 และตารางท่ี 10 ใหอางอิงตําแหนงแนวเช่ือมและสัญลักษณตาม มอก.2597

ตองเช่ือมช้ินงานทดสอบในตําแหนงแนวเช่ือมท่ีเปนไปตาม มอก.2597

การเช่ือมทอซ่ึงมีเสนผานศูนยกลางภายนอกทอ เทากัน 2 ช้ิน โดยช้ินแรกเช่ือมในตําแหนงการเช่ือม (PH) และช้ินท่ีสองเช่ือมในตําแหนงการเช่ือม (PC) สามารถรับรองการเช่ือมทอในตําแหนงการเช่ือม H-L045 ในทิศทางการเช่ือมข้ึนได

การเช่ือมช้ินงานทดสอบประเภททอซ่ึงมีขนาดเสนผานศูนยกลางภายนอกทอเทากัน 2 ชิ้น โดยช้ินแรกเช่ือมในตําแหนงแนวการเช่ือม (PJ) และช้ินท่ีสองเช่ือมในตําแหนงแนวการเช่ือม (PC) สามารถรับรองการเช่ือมทอในตําแหนงการเช่ือม J-L045 ในทิศทางการเช่ือมลงได

เสนผานศูนยกลางภายนอกของทอท่ีมีขนาด D ≥ 150 mm สามารถสอบเช่ือมในตําแหนงการเชื่อม 2 ตําแหนง PH หรือ PJ 2/3 ของเสนรอบวง และ PC 1/3 ของเสนรอบวง โดยใชช้ินงานทดสอบช้ินเดียวกัน การสอบนี้สามารถรับรองคุณสมบัติทุกตําแหนงการเช่ือมในทิศทางท่ีใชเช่ือมช้ินงานทดสอบได

Page 21: a2680 เล่ม 1-2558 - soc.go.th

มอก. 2680 เลม 1–2558

–20–

หมายเหตุ สัญลักษณตําแหนงการเช่ือม อางอิงตาม มอก.2597

รูปท่ี 2 ตําแหนงการเชื่อมสําหรับทอเสนผานศูนยกลางภายนอก D ≥ 150 mm (ขอ 5.8)

ตารางท่ี 9 ชวงการรับรองคณุสมบัติสําหรับตําแหนงแนวเชื่อมรอยเชื่อมชน (ขอ 5.8)

ตําแหนงการทดสอบ

ชวงของการรับรองคุณสมบัติ

ตําแหนงแนวราบ

PA

ตําแหนง แนวระดับ

PC

ตําแหนง แนวเหนือศีรษะ

PE

ตําแหนง แนวต้ังเชื่อมขึ้น

PF

ตําแหนง แนวต้ังเชื่อมลง

PG PA X – – – – PC X X – – –

PE (แผน) X X X – –

PF (แผน) X – – X –

PH (ทอ) X – X X –

PG (แผน) – – – – X

PJ (ทอ) X – X – X

PK X – X X X H-L045 X X X X – J-L045 X X X – X

หมายเหตุ ดูขอ 5.3 เพิ่มเติม X หมายถึง ตําแหนงแนวเช่ือมท่ีชางเช่ือมไดรับการรับรองคุณสมบัติ

– หมายถึง ตําแหนงแนวเช่ือมท่ีชางเช่ือมไมไดรับการรับรองคุณสมบัติ

Page 22: a2680 เล่ม 1-2558 - soc.go.th

มอก. 2680 เลม 1–2558

–21–

ตารางท่ี 10 ชวงการรับรองคุณสมบัติสําหรับตําแหนงแนวเชื่อมรอยเชื่อมฟลเล็ท (ขอ 5.8)

ตําแหนงการเชื่อมท่ีสอบ

ชวงของการรับรองคุณสมบัต ิ

ตําแหนงแนวราบ

PA

ตําแหนงแนวระดับ

PB

ตําแหนงแนวระดับ

PC

ตําแหนง แนวเหนือศีรษะ

PD

ตําแหนง แนวเหนือศีรษะ

PE

ตําแหนง แนวตั้งเชื่อมขึ้น

PF

ตําแหนง แนวตั้งเชื่อมลง

PG PA X – – – – – – PB X X – – – – – PC X X X – – – – PD X X X X X – –

PE (แผน) X X X X X – –

PF (แผน) X X – – – X –

PH (ทอ) X X – X X X –

PG (แผน) – – – – – – X

PJ (ทอ) X X - X X – X

หมายเหตุ ดูขอ 5.3 เพิ่มเติม คําอธิบาย

X หมายถึง ตําแหนงแนวเช่ือมท่ีชางเช่ือมไดรับการรับรองคุณสมบัติ

– หมายถึง ตําแหนงแนวเช่ือมท่ีชางเช่ือมไมไดรับการรับรองคุณสมบัติ

5.9 รายละเอียดการเช่ือม

ชวงของการรับรองคุณสมบัติข้ึนกับรายละเอียดของการเช่ือมตามท่ีแสดงในตารางท่ี 11 และตารางท่ี 12

เม่ือทําการสอบดวยกระบวนการเช่ือม 311 การเปล่ียนทิศทางการเช่ือมจากการเช่ือมไปทางขวา เปนการเช่ือมไปทางซาย และในทางกลับกัน จําเปนตองทําการทดสอบเพื่อการรับรองคุณสมบัติใหม

Page 23: a2680 เล่ม 1-2558 - soc.go.th

มอก. 2680 เลม 1–2558

–22–

ตารางท่ี 11 ชวงการรับรองคุณสมบัติสําหรับวัสดุรองหลังและวัสดุแทรกส้ินเปลือง (ขอ 5.9)

เงื่อนไขในการทดสอบ

ชวงการรับรองคณุสมบัติสําหรับวัสดุรองหลังและวัสดุแทรกสิ้นเปลือง

ไมมีวัสดุรองหลัง

(ss, nb)

มีวัสดุรองหลัง

(ss, mb)

เชื่อม 2 ดาน

(bs)

มีแกสรองหลัง

(ss, gb)

มีวัสดุแทรกสิ้นเปลือง

(ci)

มีฟลักซรองหลัง

(ss, fb)

ไมมีวัสดุรองหลัง

(ss, nb) X X X X – X

มีวัสดุรองหลัง

(ss, mb) – X X – – –

เชื่อม 2 ดาน

(bs) – X X – – –

มีแกสรองหลัง

(ss, gb) – X X X – –

มีวัสดุแทรกสิ้นเปลอืง

(ci) – X X – X –

มีฟลักซรองหลัง

(ss, fb) – X X – – X

คําอธิบาย

X หมายถึง เงื่อนไขในการเช่ือมท่ีชางเช่ือมไดรับการรับรองคุณสมบัติ

– หมายถึง เงื่อนไขในการเช่ือมท่ีชางเช่ือมไมไดรับการรับรองคุณสมบัติ

ตารางท่ี 12 ชวงการรับรองคุณสมบัตขิองรอยเชื่อมฟลเล็ทแบบ เทคนิคชั้นเชื่อม (layer technique) (ขอ 5.9)

ชิ้นงานทดสอบ ชวงการรับรองคณุสมบัติ

ชั้นเชื่อมเดียว (sl) หลายชั้นเชือ่ม (ml) ชั้นเชื่อมเดียว (sl) X –

หลายชั้นเชื่อม (ml) ก X X คําอธิบาย X หมายถึง เทคนิคช้ันเชื่อมท่ีชางเช่ือมไดรับการรับรองคุณสมบัติ – หมายถึง เทคนิคช้ันเชื่อมท่ีชางเช่ือมไมไดรับการรับรองคุณสมบัติ ก ระหวางทําการเช่ือมช้ินงานทดสอบ ผูควบคุมการทดสอบตองทําการตรวจสอบช้ันเชื่อมแรกดวยวิธีพินิจ ตามขอ 6 ในมาตรฐานน้ี ข เมื่อชางเช่ือมไดรับการรับรองคุณสมบัติ เปนการเช่ือมชนหลายช้ันเชื่อม และชางเช่ือมท่ีทําการทดสอบการเช่ือมฟลเล็ท อธิบายไวในขอ 5.4.จ ชางเช่ือมจะไดรับการรับรองคุณสมบัติทั้งการเชื่อมฟลเล็ทชั้นเชื่อมเด่ียวและหลายช้ันเชื่อม

Page 24: a2680 เล่ม 1-2558 - soc.go.th

มอก. 2680 เลม 1–2558

–23–

6. การสอบและทดสอบ

6.1 การสอบ

การเช่ือมช้ินงานทดสอบตองมีผูควบคุมการสอบหรือองคกรควบคุมการสอบ ตรวจสอบ ประเมิน และเปนประจักษพยาน การทดสอบตองดําเนินการสอบทานโดยผูควบคุมการสอบหรือองคกรควบคุมการสอบ

ช้ินงานทดสอบทั้งหมดตองทําเครื่องหมายแสดงหลักฐานของผูควบคุมการสอบและชางเช่ือม ตลอดจนเพิ่มเติมตําแหนงแนวเช่ือมบนช้ินงานทดสอบ และสําหรับช้ินงานทดสอบเช่ือมทอแบบยึดแนนอยูกับท่ี โดยตองทําเคร่ืองหมายท่ีตําแหนงการเช่ือม 12 นาฬิกาไวดวย

ผูควบคุมการสอบหรือองคกรควบคุมการสอบอาจใหหยุดการสอบ หากสภาวะการเช่ือมไมถูกตอง หรือเปนท่ีปรากฏวาชางเช่ือมไมมีทักษะเพียงพอตามขอกําหนด เชน เม่ือมีการซอมมากเกินและ/หรือซอมท้ังหมด

6.2 ช้ินงานทดสอบ

รูปรางและมิติของช้ินงานทดสอบท่ีตองการ มีระบุในรูปท่ี 3 ถึงรูปท่ี 6

ความยาวตํ่าสุดของแผนช้ินงานทดสอบ คือ 200 mm ชวงของการตรวจสอบ คือ 150 mm สําหรับช้ินงานทดสอบทอท่ีมีความยาวเสนรอบวงนอยกวา 150 mm อาจจําเปนตองเพ่ิมช้ินงานทดสอบ สูงสุดไมเกิน 3 ช้ินงานทดสอบ

Page 25: a2680 เล่ม 1-2558 - soc.go.th

มอก. 2680 เลม 1–2558

–24–

มิติเปนมิลลิเมตร

คําอธิบาย t หมายถึง ความหนาของช้ินงานทดสอบ

รูป 3 มิติของชิ้นงานทดสอบสําหรับรอยเชื่อมชนแผน (ขอ 5.2)

Page 26: a2680 เล่ม 1-2558 - soc.go.th

มอก. 2680 เลม 1–2558

–25–

มิติเปนมิลลิเมตร

คําอธิบาย t หมายถึง ความหนาของช้ินงานทดสอบ หมายเหตุ วัสดุที่นํามาประกอบเปนช้ินงานทดสอบอาจมีความหนาตางกันได

รูป 4 มิติของชิ้นงานทดสอบสําหรับรอยเชื่อมฟลเล็ทแผน (ขอ 6.2)

มิติมีหนวยเปนมิลลิเมตร

คําอธิบาย D หมายถึง เสนผานศูนยกลางภายนอกของทอ t หมายถึง ความหนาของช้ินงานทดสอบ (ความหนาผนังทอ)

รูป 5 มิติของชิ้นงานทดสอบสําหรับรอยเชื่อมชนทอ (ขอ 6.2)

Page 27: a2680 เล่ม 1-2558 - soc.go.th

มอก. 2680 เลม 1–2558

–26–

มิติเปนมิลลิเมตร

คําอธิบาย D หมายถึง เสนผานศูนยกลางภายนอกของทอ

l1 หมายถึง ความยาวของช้ินงานทดสอบ

t หมายถึง ความหนาของช้ินงานทดสอบ (ความหนาของแผนหรือผนังทอ) หมายเหตุ วัสดุที่นํามาประกอบเปนช้ินงานทดสอบอาจมีความหนาตางกันไดทั้งทอและแผน

รูป 6 มิติของชิ้นงานทดสอบสําหรับรอยเชื่อมฟลเล็ททอ (ขอ 6.2)

6.3 เง่ือนไขการเช่ือม

การสอบรับรองคุณสมบัติชางเช่ือม ตองเปนไปตาม pWPS หรือ WPS ท่ีเตรียมข้ึนตาม ISO 15609-1 หรือ ISO 15609-2 ขนาดความหนาคอรอยเช่ือมฟลเล็ท ตองระบุไวใน pWPS หรือ WPS ท่ีใชในการทดสอบ

ตองใชเง่ือนไขการเช่ือมดังตอไปนี้

– ช้ินงานทดสอบตองมีจุดหยุดและเร่ิมใหม อยางนอย 1 จุดในแนวราก และตองบงช้ีไวในชวงความยาวท่ีจะตรวจสอบ ถามีกระบวนการเช่ือมต้ังแต 2 กระบวนการขึ้นไปในการเช่ือมช้ินงานทดสอบเดียว ตองมีจุดหยุดและเร่ิมใหม อยางนอย 1 จุดในแนวปดบน

– ชางเช่ือมตองไดรับอนุญาตกําจัดส่ิงบกพรองเล็กนอยดวยการเจีย ยกเวนในแนวปดบน ซ่ึงอาจอนุญาตใหเจียไดเฉพาะจุดหยุดและเร่ิมใหม โดยตองไดรับอนุญาตจากผูคุมการสอบกอน

– กรรมวิธีทางความรอนภายหลังการเช่ือม ท่ีระบุใน pWPS หรือ WPS อาจไดรับการยกเวน ตามดุลยพินิจของผูทํา

Page 28: a2680 เล่ม 1-2558 - soc.go.th

มอก. 2680 เลม 1–2558

–27–

6.4 วิธีการทดสอบ

ภายหลังการเช่ือม ช้ินงานทดสอบตองไดรับการทดสอบตามระบุในตารางท่ี 13

ถารอยเช่ือมผานเกณฑการยอมรับในการตรวจพินิจ ในสวนท่ีเหลือตองดําเนินการทดสอบดานอ่ืน ๆ ตามตารางท่ี 13

เม่ือมีการใชวัสดุรองหลังในการรับรองคุณสมบัติการทดสอบ ตองเอาวัสดุรองหลังดังกลาวออกกอนทําการทดสอบแบบทําลาย (DT) และไมจําเปนตองเอาวัสดุรองหลังออกกอนสําหรับการทดสอบแบบไมทําลาย (NDT)

ตองจัดเตรียมช้ินทดสอบโครงสรางมหภาคและกัดกรดดานใดดานหน่ึงเพื่อจะไดมองเห็นรอยของเนื้อเช่ือมไดชัดเจนข้ึน โดยไมจําเปนตองขัดเงา

ตารางท่ี 13 วิธีการทดสอบ (ขอ 5.4)

วิธีทดสอบ รอยเชื่อมชน (แผนหรือทอ)

รอยเชื่อมฟลเล็ทและรอยตอแขนง

ตรวจพินิจตาม ISO 17637 บังคับ บังคับ ตรวจสอบดวยรังสีตาม ISO 17636 บังคับก ข ง ไมบังคับ ทดสอบดัดโคงตาม ISO 5173 บังคับก ข ฉ ไมใช ทดสอบการแตกหักตาม ISO 9017 บังคับก ข ฉ บังคับคจ

ก ตองเลือกทดสอบอยางใดอยางหน่ึงจาก การตรวจสอบดวยรังสี หรือ การทดสอบดัดโคง หรือการทดสอบแตกหัก ข เมื่อใชการตรวจสอบดวยรังสี ตองมีการทดสอบเพ่ิมเติมอยางใดอยางหน่ึงระหวางการทดสอบดัดโคง หรือการทดสอบแตกหัก เมื่อถูกบังคับใชดวยกระบวนการเช่ือม 131 135 138 และ 311

ค การทดสอบแตกหักอาจทดแทนกันไดดวยการตรวจสอบโครงสรางมหภาคตาม ISO 17639 อยางนอย 2 ช้ิน โดยอยางนอยช้ินใดช้ินหน่ึงตองไดมาจากตําแหนงจุดหยุดและเริ่มใหม

ง การตรวจสอบดวยรังสีอาจทดแทนไดดวยการตรวจสอบดวยอุลตราโซนิกตาม ISO 17640 สําหรับเหล็กกลาเฟอรไรตความหนา � 8 mm เทาน้ัน

จ การทดสอบแตกหักในช้ินงานทอ อาจทดแทนไดดวยการตรวจสอบดวยรังสี ฉ สําหรับทอขนาดเสนผานศูนยกลางนอก D ≤ 25 mm การทดสอบดัดโคง หรือการทดสอบแตกหักอาจทดแทนไดดวยการทดสอบแรงดึง โดยมีรองบากในช้ินงานทดสอบท่ียังสมบูรณอยู (ดูตัวอยางในรูปที่ 9)

Page 29: a2680 เล่ม 1-2558 - soc.go.th

มอก. 2680 เลม 1–2558

–28–

6.5 ช้ินงานทดสอบ และช้ินทดสอบ

6.5.1 ท่ัวไป

ขอ 5.5.2 ถึง 5.5.4 แสดงรายละเอียดของชนิด มิติ และการเตรียมช้ินงานทดสอบ และช้ินทดสอบไวใหแลว นอกจากนั้น ยังไดระบุขอกําหนดการทดสอบแบบทําลายไวดวย สําหรับการดัดโคงดานราก (root bend) การดัดโคงดานหนา (face bend) หรือ การดัดโคงดานขาง (side bend) หรือการทดสอบแตกหัก (fracture test) ช้ินทดสอบหนึ่งช้ิน ตองไดจากตําแหนงจุดหยุด จุดเร่ิมใหม (start-stop) ในชวงความยาวของรอยเช่ือมท่ีใชตรวจสอบ สําหรับรอยเช่ือมชนทอในตําแหนงแนวเช่ือม PH PJ H-L045 และ J-L045 ช้ินทดสอบตองไดมาจากตําแหนง PE และ PF/PG ดูรูปท่ี 8

6.5.2 รอยเช่ือมชนแผน และทอ

6.5.2.1 ท่ัวไป

เม่ือใชการทดสอบดวยรังสี ความยาวรอยเช่ือมท่ีใชตรวจสอบ (ดูรูปท่ี 7 และรูปท่ี 8) ภายในแผนงานสอบตองไดรับการตรวจสอบดวยรังสี

เม่ือใชการทดสอบการแตกหัก ใหตัดช้ินทดสอบตามความยาวช้ินงานสอบ ใหแตละช้ินมีความกวางเทากัน โดยความกวางของช้ินทดสอบตองไมนอยกวา 40 mm (รูปท่ี 5 ข)) รูปรางของรองบาก (notch) ใหเปนไปตาม ISO 9017

6.5.2.2 ช้ินทดสอบท้ังหมด ตองทดสอบการแตกหักช้ินทดสอบ และตองตรวจหลังการแตกตัก6.5.2.2 การทดสอบแตกหัก

สําหรับการเช่ือมชน สําหรับแผน ใหตัดช้ินทดสอบตามความยาวช้ินงานสอบ (รูปท่ี 7) 4 ช้ิน โดยมีความกวางเทาๆ กัน โดยใหเปนไปตามท่ีกําหนดไวในตารางท่ี 14

สําหรับการเช่ือมชน สําหรับทอ ใหตัดช้ินทดสอบตามความยาวช้ินงานสอบ (รูปท่ี 8) 4 ช้ิน โดยมีความกวางเทาๆ กัน โดยใหเปนไปตามท่ีกําหนดไวในตารางท่ี 14

Page 30: a2680 เล่ม 1-2558 - soc.go.th

มอก. 2680 เลม 1–2558

–29–

มิติเปนมิลลิเมตร

คําอธิบาย l1 เปนความยาวของช้ินงานทดสอบ l2 เปนก่ึงกลางความกวางของช้ินงานทดสอบ lf เปนความยาวท่ีใชตรวจสอบ

รูปท่ี 7 การเตรียมชิน้ทดสอบในการทดสอบแตกหักสําหรับรอยเชื่อมชนแผน (ขอ 6.5.2.2)

คําอธิบาย

lf เปนความยาวท่ีใชตรวจสอบ

1 เปนช้ินทดสอบแตกหักดานราก หรือช้ินทดสอบดัดโคงขวางดานราก หรือช้ินทดสอบดัดโคงดานขาง

2 เปนช้ินทดสอบแตกหักดานหนา หรือช้ินทดสอบดัดโคงขวางดานหนา หรือช้ินทดสอบดัดโคงดานขาง

3 เปนช้ินทดสอบแตกหักดานราก หรือช้ินทดสอบดัดโคงขวางดานราก หรือช้ินทดสอบดัดโคงดานขาง

4 เปนช้ินทดสอบแตกหักดานหนา หรือช้ินทดสอบดัดโคงขวางดานหนา หรือช้ินทดสอบดัดโคงดานขาง

รูปท่ี 8 การเตรียมและตําแหนงของชิน้ทดสอบสําหรับรอยเชื่อมชนทอ (ขอ 6.5.2.2)

Page 31: a2680 เล่ม 1-2558 - soc.go.th

มอก. 2680 เลม 1–2558

–30–

ตารางท่ี 14 ความกวางของชิ้นทดสอบแตกหัก (ขอ 5.5.2.1)

มิติเปนมิลลิเมตร

ชนิดของผลิตภัณฑ ความกวางของชิ้นทดสอบแตกหัก

แผน (P) ขนาดเสนผานศูนยกลางภายนอก (D) ของทอ (T)ก X 100 35 – 50 ≤ D < 100 20 – 25 < D < 50 10

ก สําหรับทอที่มีขนาดเสนผานศูนยกลางภายนอก D ≤ 25 แนะนําใหใชการทดสอบแรงดึงแบบมีรองบากตามรูปที่ 9

คําอธิบาย d เสนผานศูนยกลาง รูเจาะไมอนุญาตใหอยูในตําแหนงบริเวณจุดหยุดและจุดเริ่มใหม สําหรับ t 1.8 mm: d = 4.5 mm สําหรับ t < 1.8 mm: d = 3.5 mm หมายเหตุ รูปรางของรองบาก s และ q อนุญาตใหมีไดในทิศทางรอบวงตาม ISO9017

รูปท่ี 9 ตัวอยางชิน้ทดสอบแรงดึงแบบมีรองบากสําหรับชิ้นงานทดสอบทอ ขนาดเสนผานศูนยกลางภายนอก ≤ 25 mm

(ตารางท่ี 14)

Page 32: a2680 เล่ม 1-2558 - soc.go.th

มอก. 2680 เลม 1–2558

–31–

6.5.2.3 การทดสอบดัดโคง

การทดสอบดัดโคงตองปฏิบัติตาม ISO 5173

เม่ือใชการทดสอบดัดโคงเพียงอยางเดียว ตองทําตามเง่ือนไขตอไปนี้

ช้ินงานทดสอบท่ีมีความหนา t ≤ 12 mm ตองใชช้ินทดสอบดัดโคงดานราก (root bend) อยางนอย 2 ช้ิน และช้ินทดสอบดัดโคงดานหนา (face bend) อยางนอย 2 ช้ิน และตองทดสอบตลอดความยาวตรวจสอบ

ช้ินงานทดสอบท่ีมีความหนา t > 12 mm ตองใชช้ินทดสอบดัดโคงดานขาง (side bend) 4 ช้ิน โดยเวนระยะหางเทา ๆ กันตลอดความยาวตรวจสอบ

รอยเช่ือมชนทอ ตองใชช้ินทดสอบ 4 ช้ิน โดยเวนระยะหางเทา ๆ กันตามท่ีแสดงในรูปท่ี 8

ในทุกกรณี ช้ินทดสอบอยางนอย 1 ช้ิน ตองไดจากตําแหนงจุดหยุด/เร่ิมใหม ถาเปนไปใหใชช้ินทดสอบดัดโคงดานรากแทนดวยช้ินทดสอบดัดโคงดานขาง

เม่ือใชการทดสอบดัดโคงดานขวาง (transverse bend test) หรือ การทดสอบดัดโคงดานขาง (side bend test) สําหรับช้ินงานท่ีมีความยืด A ≥ 20% เสนผานศูนยกลางของชุดหัวกด หรือ ลูกกล้ิงตัวใน ตองเปน 4t และมุมดัดโคงตองเปน 180O สําหรับช้ินงานท่ีมีคาความยืด A < 20% ตองใชสมการตอไปนี้

เม่ือ

d คือ เสนผานศูนยกลางของชุดหัวกด หรือลูกกล้ิงตัวใน เปนมิลลิเมตร

ts คือ ความหนาของช้ินทดสอบดัดโคง เปนมิลลิเมตร

A คือ ความยืดตํ่าสุดท่ีกําหนดไวในมาตรฐานวัสดุ เปนรอยละ

6.5.2.4 การทดสอบดัดโคง หรือแตกหักเพิ่มเติม

เม่ือมีการกําหนดใหทดสอบดัดโคง หรือแตกหักเพิ่มเติม (ดูตารางท่ี 13 เชิงอรรถ ข) ในทุกกรณี ช้ินทดสอบอยางนอย 1 ช้ินตองไดจากตําแหนงจุดหยุดและจุดเร่ิมตน ถาเปนไปไดสามารถใชช้ินทดสอบดัดโคงดานรากแทนช้ินทดสอบดัดโคงดานขาง

– รอยเช่ือมชนแผนท้ังหมด ช้ินทดสอบตองทดสอบดัดโคงดานราก 1 ช้ิน และช้ินทดสอบดัดโคงดานหนา 1 ช้ิน หรือ ถาเปนไปได ตองทดสอบช้ินทดสอบดัดโคงดานขาง 2 ช้ิน

– รอยเช่ือมชนทอในตําแหนง PA หรือ PC ตองทดสอบช้ินทดสอบดัดโคงดานราก1 ช้ิน และช้ินทดสอบดัดโคงดานหนา 1 ช้ิน หรือ ถาเปนไปได ตองทดสอบช้ินทดสอบดัดโคงดานขาง 2 ช้ิน

Page 33: a2680 เล่ม 1-2558 - soc.go.th

มอก. 2680 เลม 1–2558

–32–

– รอยเช่ือมชนทอในตําแหนงการเชื่อมอ่ืน ๆ ท้ังหมดทุกตําแหนง ช้ินทดสอบดัดโคงดานราก 1 ช้ิน ตองไดจากตําแหนง PE (แนวเหนือศรีษะ) และช้ินทดสอบดัดโคงดานหนา 1 ช้ิน ตองไดจากตําแหนง PF (แนวต้ังเช่ือมข้ึน) หรือ PG (แนวต้ังเช่ือมลง) หรือ ถาเปนไปได ตองทดสอบช้ินทดสอบดัดโคงดานขาง 2 ช้ิน

6.5.3 รอยเช่ือมฟลเล็ทแผน

การเช่ือมฟลเล็ทแผน ความยาวท่ีใชสอบ (ดูรูปท่ี 10) ตองแตกหักท่ีช้ินทดสอบสมบูรณภายในช้ินเดียว ถาจําเปน ช้ินงานทดสอบสามารถตัดเปนช้ินทดสอบหลายช้ินท่ีความกวางเทากัน

สําหรับการเช่ือมฟลเล็ททอ ช้ินงานทดสอบตองตัดเปนช้ินทดสอบ 4 ช้ิน หรือมากกวา แลวทดสอบการแตกหัก

การทดสอบการแตกหักรอยเช่ือมฟลเล็ทแผนและทอ อาจแทนดวยการตรวจสอบมหภาค เม่ือใชการทดสอบมหภาค ตองใชช้ินทดสอบอยางนอย 2 ช้ิน ช้ินทดสอบหมภาคหนึ่งช้ิน ตองเปนช้ินท่ีจุดหยุด/จุดเร่ิม

ช้ินทดสอบรอยเช่ือมฟลเล็ท ตองวางตําแหนงตาม ISO 9017

มิติเปนมิลลิเมตร

 คําอธิบาย lf เปนความยาวท่ีใชตรวจสอบ

รูปท่ี 10 ความยาวท่ีใชตรวจสอบสําหรับการทดสอบแตกหัก ในรอยเชื่อมฟลเล็ทแผน (ขอ 6.5.3)

6.6 รายงานการทดสอบ

ตองเก็บผลของการทดสอบท้ังหมดเปนเอกสารตามมาตรฐานการทดสอบท่ีเกี่ยวเนื่อง

Page 34: a2680 เล่ม 1-2558 - soc.go.th

มอก. 2680 เลม 1–2558

–33–

7. ขอกําหนดการยอมรับชิ้นงานทดสอบ

ประเมินช้ินงานทดสอบตามขอกําหนดการยอมรับตามรายการท่ีไดระบุไวสําหรับชนิดของความไมสมบูรณท่ีเกี่ยวเนื่อง

ตองตรวจสอบส่ิงตอไปนี้กอนเร่ิมตนการทดสอบทุกประเภท

– ตองกําจัดสแลกและสะเก็ดโลหะเช่ือมออกท้ังหมด

– ตองไมมีการเจียแตงบริเวณรากและดานหนาของรอยเช่ือม (ตามขอ 5.3)

– มีการแสดงตําแหนงจุดหยุดและจุดเร่ิมตนท่ีแนวราก และแนวปดบน (ตามขอ 5.3)

– รูปรางและมิติ

ขอกําหนดการยอมรับสําหรับความไมสมบูรณท่ีพบโดยวิธีการทดสอบตามมาตรฐานน้ี ตองประเมินตาม ISO 5817 ยกเวนระบุเปนอยางอ่ืน ชางเช่ือมไดรับการรับรองคุณสมบัติ ถาความไมสมบูรณอยูในระดับคุณภาพ B ตาม ISO 5817 ยกเวนสําหรับความไมสมบูรณชนิดตอไปนี้ เนื้อโลหะเช่ือมมากเกินไป (502) รอยเช่ือมนูนเกินไป (503) ความหนาคอรอยเช่ือมมากเกินไป (5214) การหลอมลึกมากเกินไป (504) และรอยแหวงขอบแนว (501) ตองผานการยอมรับในระดับ C

ช้ินทดสอบดัดโคง ตองปราศจากความไมตอเนื่องภายในแนวใดแนวหนึ่งท่ี 3mm ในทุกทิศทาง ความไมตอเนื่องท่ีปรากฏที่ขอบของช้ินทดสอบระหวางการทดสอบตองไดรับการยกเวนในการประเมิน ยกเวนวามีหลักฐานท่ีบงบอกวาการแตกราวเกิดจากการหลอมลึกไมสมบูรณ สแลกฝง หรือความไมตอเนื่องอ่ืน ๆ ผลรวมของความไมตอเนื่องท่ีใหญท่ีสุดท่ีมีขนาดมากกวา 1 mm แตไมเกิน 3 mm ในช้ินทดสอบดัดโคงตองไมเกิน 10 mm

ถาความไมสมบูรณในช้ินงานทดสอบของชางเช่ือมเกินคาสูงสุดท่ีระบุไว ถือวาชางเช่ือมไมผานการทดสอบ

การทดสอบแบบไมทําลาย ควรจัดทําเอกสารอางอิงตามเกณฑท่ียอมรับท่ีสอดคลองกัน สําหรับการทดสอบแบบทําลายและไมทําลายท้ังหมด ตองใชข้ันตอนดําเนินการทดสอบตามท่ีระบุไว

8. การทดสอบซ้ํา

ถาการทดสอบใด ๆ ไมเปนไปตามขอกําหนดในมาตรฐานน้ี ชางเช่ือมอาจไดรับโอกาสในการสอบรับรองซํ้า 1 คร้ังไดโดยไมตองผานการฝกเพิ่มเติม

9. อายุการใชงาน

9.1 การรับรองคุณสมบัติเบ้ืองตน

การรับรองคุณสมบัติของชางเช่ือมเร่ิมต้ังแตวันท่ีประเมินช้ินงานทดสอบแลวเสร็จ ภายใตเง่ือนไขวา มีผลการทดสอบท่ียอมรับได ใบรับรองจําเปนตองไดรับการยืนยันทุก ๆ 6 เดือน มิฉะนั้นใบรับรองจะถูกยกเลิกทันที

Page 35: a2680 เล่ม 1-2558 - soc.go.th

มอก. 2680 เลม 1–2558

–34–

อายุใบรับรองอาจยืดออกไปตามท่ีระบุไวในขอ 9.3 โดยตองระบุวิธีตออายุการรับรองคุณสมบัติท่ีเลือกตามขอ 9.3 ก) ข) หรือ ค) ลงในใบรับรอง ณ เวลาท่ีออกใบรับรองเทานั้น

9.2 การยืนยันอายุการรับรองคุณสมบัติ

การรับรองคุณสมบัติชางเช่ือมสําหรับกระบวนการเชื่อม ตองไดรับการยืนยันทุก 6 เดือน โดยผูรับผิดชอบงานเช่ือม หรือผูตรวจสอบ หรือองคกรตรวจสอบ เพื่อเปนการยืนยันวาชางเช่ือมทํางานภายใตชวงการรับรองคุณสมบัติ และยืดระยะเวลาในการรับรองคุณสมบัติไปอีก 6 เดือน

หัวขอนี้ ใชไดกับทุกทางเลือกในการตออายุใบรับรอง ในหัวขอ 9.3

9.3 การตออายุใบรับรองของชางเช่ือม

การตออายุใบรับรองตองดําเนินการโดยผูตรวจสอบ/องคกรตรวจสอบ

ทักษะฝมือของชางเช่ือมตองผานการทวนสอบเปนระยะ ๆ ตามขอหนึ่งขอใดดังตอไปนี้

ก) ชางเช่ือมตองทําการสอบใหมทุก ๆ 3 ป

ข) ทุก ๆ 2 ป ในรอบ 6 เดือนสุดทาย ชางเช่ือมตองเช่ือมช้ินงานเช่ือม 2 ช้ินงาน ท่ีตรวจสอบโดยวิธีรังสี หรืออั ลตราโซนิก หรือการทดสอบแบบทําลายและตองบันทึกผลไวดวย ระดับการยอมรับความไมสมบูรณตองเปนไปตามท่ีกําหนดไวในขอ 7. ช้ินงานทดสอบเช่ือมตองทําข้ึนมาใหมใหเปนตามเง่ือนไขเดิม ยกเวนความหนาและเสนผานศูนยกลางภายนอก การทดสอบเหลานี้สามารถตออายุใบรับรองคุณสมบัติของชางเช่ือมเพ่ิมข้ึนไดอีก 2 ป

ค) การรับรองคุณสมบัติของชางเช่ือมสําหรับใบรับรองใด ๆ ตองมีผลตราบเทาท่ียืนยันตามขอ 9.2 และอยูภายใตเง่ือนไขท่ีภาวะตาง ๆ ตอไปนี้อยางครบถวน

– ชางเช่ือมท่ีทํางานกับผูทํารายเดิมท่ีไดทําการสอบรับรองคุณสมบัติไว และผูท่ีรับผิดชอบในการทําทําผลิตภัณฑ

– โปรแกรมคุณภาพของผูทําตาม ISO 3834-2 หรือ ISO 3834-3 จําเปนตองไดรับการทวนสอบตาม ISO 3834-2 หรือ ISO 3834-3

– ผูทํานั้นไดจัดทําเอกสารที่แสดงวาชางเช่ือมมีคุณภาพเปนท่ียอมรับตามมาตรฐานท่ีใชงาน รอยเช่ือมท่ีตรวจสอบตองยืนยันภาวะตอไปน้ี ตําแหนงการเช่ือม ชนิดรอยเช่ือม (FW, BW) มีวัสดุรองหลัง (mb) หรือไมมีวัสดุรองหลัง (nb)

9.4 การยกเลิกการรับรองคุณสมบัติ

เม่ือมีเหตุผลอันควรใหสงสัยในความสามารถของชางเช่ือมในการทํางานเช่ือมไมเปนไปตามขอกําหนดคุณภาพของผลิตภัณฑ การรับรองคุณสมบัติในงานเช่ือมท่ีชางเช่ือมกําลังปฏิบัติอยูตองยกเลิก สวนการรับรองคุณสมบัติอ่ืน ๆท่ีไมสงสัยยังคงไดรับการรับรองคุณสมบัติตอไป

Page 36: a2680 เล่ม 1-2558 - soc.go.th

มอก. 2680 เลม 1–2558

–35–

10. การรับรองการทดสอบเพื่อการรับรองคุณสมบติัของชางเชื่อม

ตองทวนสอบใหแนชัดวาชางเช่ือมผานการทดสอบเพื่อการรับรองคุณสมบัติอยางสมบูรณ ตองบันทึกตัวแปรสําคัญท้ังหมดไวในใบรับรอง ถาช้ินงานทดสอบไมผานในการทดสอบใด ๆ ตามท่ีกําหนดไว ตองไมมีการออกใบรับรองให

ตองออกใบรับรองภายใตความรับผิดชอบของผูตรวจสอบ หรือองคกรตรวจสอบ รูปแบบท่ีแนะนําไดแสดงไวในภาคผนวก ก. ถาใชใบรับรองการทดสอบเพ่ือการรับรองคุณสมบัติของชางเช่ือมรูปแบบอ่ืน ๆ ใบรับรองตองแสดงขอมูลตามท่ีกําหนดไวในภาคผนวก ก. ผูตรวจสอบ หรือองคกรตรวจสอบมีหนาท่ีรับผิดชอบในการทวนสอบวา ตัวแปรสําคัญท้ังหมดแสดงไวในใบรับรองอยางครบถวน

ตัวแปรท่ีไมสําคัญดังตอไปนี้ ตองบันทึกไวในการรับรองดวย

– ชนิดของกระแสไฟเช่ือม และการตอข้ัวเช่ือม

– กลุมวัสดุช้ินงานทดสอบ/กลุมยอย

– แกสปกคลุม

โดยท่ัวไป สําหรับช้ินงานทดสอบแตละช้ิน ตองออกการรับรองการทดสอบเพ่ือการรับรองคุณสมบัติของชางเช่ือมแยกกัน

ถาชางเช่ือมคนเดียวสอบมากกวา 1 ช้ินงานทดสอบ สามารถออกการรับรองท่ีรวมชิ้นงานทดสอบแตละช้ินเขาดวยกัน ชวงของการรับรองคุณสมบัติพรอมกับตัวแปรสําคัญท้ังหมดตองบันทึกไวในการรับรอง ในกรณีนี้ อนุญาตใหมีตัวแปรสําคัญท่ีแตกตางกันเพียงตัวแปรเดียว ยกเวนท่ีระบุไวใน 4.7

– ชนิดของรอยเช่ือม

– ตําแหนงการเช่ือม

– ความหนาของเน้ือโลหะเติม

ไมอนุญาตใหเปล่ียนแปลงตัวแปรท่ีสําคัญอ่ืน ๆ

ใบรับรองในการรับรองคุณสมบัติของชางเช่ือมใหเปนภาษาไทย และภาษาอังกฤษ

การสอบภาคความรูเฉพาะอาชีพ (ดูภาคผนวก ข) ตองระบุเปน “ผาน” หรือ “ไมไดทดสอบ”

การทดสอบรอยเช่ือมฟลเล็ทเพิ่มเติมตามขอ 5.4 จ) ตองบันทึกรวมอยูในใบรับรองท่ีรับรองคุณสมบัติสําหรับรอยเช่ือมชน

Page 37: a2680 เล่ม 1-2558 - soc.go.th

มอก. 2680 เลม 1–2558

–36–

11. การระบสุัญลักษณรหัสการรับรอง

การระบุสัญลักษณรหัสการรับรองในการรับรองคุณสมบัติของชางเช่ือมตองประกอบไปดวยส่ิงตอไปนี้ โดยเรียงตามลําดับท่ีใหไว (ใหจัดเรียงระบบใหใชไดในระบบคอมพิวเตอร)

ก) หมายเลขของมาตรฐานน้ี ข) ตัวแปรท่ีสําคัญ

1. กระบวนการเช่ือม อางอิงขอ 4.2 ขอ 5.2 และ ISO 4063 2. ชนิดของผลิตภัณฑ แผน (P) ทอ (T) อางอิงขอ 4.3.1 และขอ 5.3 3. ชนิดของรอยเช่ือม รอยเช่ือมชน (BW) รอยเช่ือมฟลเล็ท (FW) อางอิงขอ 5.4 4. กลุมวัสดุเติม อางอิงขอ 5.5 5. วัสดุเช่ือมส้ินเปลือง อางอิงขอ 4.6 6. มิติของช้ินงานทดสอบ ความหนาของเนื้อโลหะเติม “s” หรือ ความหนาของวัสดุช้ินงาน “t” และเสน

ผานศูนยกลางภายนอกทอ “D” อางอิงขอ 5.7 และ ISO 6947 7. ตําแหนงการเชื่อม อางอิงขอ 5.8 และ ISO 6947 8. รายละเอียดรอยเช่ือม อางอิงขอ 5.9

ชนิดของแกสปกคลุม และแกสรองหลังตองไมแสดงไวในรหัสรับรอง แตใหแสดงในใบรับรองการทดสอบเพื่อการรับรองคุณสมบัติของชางเช่ือม (ดูภาคผนวก ก.)

Page 38: a2680 เล่ม 1-2558 - soc.go.th

มอก. 2680 เลม 1–2558

–37–

ภาคผนวก ก. (ขอแนะนํา)

ใบรับรองการทดสอบคุณสมบัติของชางเชื่อม (ขอ 4.1 และขอ 10.)

สัญลักษณรหัสการรับรอง (Designation(s)) : ………………………………………………………………………………… WPS – อางอิง (Reference) : ........................................................................... หมายเลขอางอิงผูตรวจสอบ / องคกรตรวจสอบ ชื่อชางเช่ือม (Welder’s Name) : (Examiner or examining body – Reference No) : ………….…………… เลขประจําตัวชางเช่ือม (Identification no) : ……………………… วิธีการออกหมายเลขประจําตัว (Method of identification) : เลขประจําตัวประชาชน (Identification no).. วัน เดือน ปเกิด และสถานท่ีเกิด (Date and place of birth) : ……………………………………….. ผูวาจาง (Employer) : ………………………………………………………………………………... มาตรฐานการทดสอบ (Code/testing standard) : .................................................................................... การทดสอบภาคความรูเฉพาะอาชีพ : ยอมรับ / ไมไดทดสอบ (ลบออกไดตามความจําเปน) (Job knowledge: Acceptable/Not tested (Delete as necessary)

………………………………………………………………… ช้ินงานทดสอบ (Test piece) ชวงการรับรองคุณสมบัติ (Range of qualification)

กระบวนการเช่ือม (Welding process(es)) วิธีสงถายหยดโลหะ (Transfer mode) ชนิดของผลิตภัณฑ (แผนหรือทอ) (Product type (plate or pipe) ชนิดของรอยเช่ือม (Type of weld) กลุมวัสดุชิ้นงานหลัก/กลุมยอย (Parent material group(s)/subgroups) กลุมวัสดุเติม (Filler material group(s)) วัสดุเติม (รหัสรับรองวัสดุเติม) (Filler material (Designation)) แกสปกคลุม (Shielding gas) วัสดุชวยเสริม (เชน แกสปกคลุมรองหลัง) (Auxiliaries (e.g. backing gas) ชนิดกระแสไฟเช่ือมและการตอขั้วเชื่อม (Type of current and polarity) ความหนาช้ินงานทดสอบ (mm) (Material thickness (mm)) ความหนาของเน้ือโลหะเติม (mm) (Deposited thickness (mm)) เสนผานศูนยกลางภายนอกทอ (mm) (Outside pipe diameter (mm)) ตําแหนงการเช่ือม (Welding position) รายละเอียดการเช่ือม (Weld details) หลายชั้นเชื่อม/ชั้นเชื่อมเดียว (Multi/single layer)

การทดสอบรอยเช่ือมฟลเล็ทเพิ่มเติม (เสร็จสิ้นพรอมกับการสอบรับรองรอยเช่ือมชน: ผาน / ไมผาน) (Supplementary fillet weld test (completed in conjunction with a butt weld qualification: acceptable/ not acceptable))

ชนิดของการทดสอบ (Type of tests) ทดสอบ และยอมรับ (Performed and accepted)

ไมไดทดสอบ (Not tested)

ชื่อผูตรวจสอบหรือองคกรตรวจสอบ (Name of examor examining body):.....................................................สถานท่ี วันที่ และลายเซ็นตผูตรวจสอบหรือองคกรตรวจสอบ (Place, date and signature of examiner or examining body) : .................................... วันที่ออกใบรับรอง (Date of issue) : …………….

การตรวจสอบพินิจ (Visual testing) การตรวจสอบดวยรังสี (Radiographic testing) การทดสอบแตกหัก (Fracture test) การทดสอบดัดโคง (Bend test) การทดสอบแรงดึงแบบมีรองบาก (Notch tensile test) การตรวจสอบโครงสรางมหภาค (Macroscopic examination)

การตออายุใบรับรอง ขอ 9.3 ก)

(Revalidation 9.3a)) วันหมดอายุ

(Valid until) วว/ดด/ปป

การตออายุใบรับรอง ขอ 9.3 ข)

(Revalidation 9.3b)) วันหมดอายุ

(Valid until) วว/ดด/ปป

การตออายุใบรับรอง ขอ 9.3 ค)

(Revalidation 9.3c))

วันหมดอายุ (Valid until)

วว/ดด/ปป การตออายุใบรับรองโดยผูตรวจสอบหรือองคกรตรวจสอบ สําหรับการตออายุ 2 ป (อางอิง 9.3 ข) (Revalidation for qualification by examiner or examining body for the following 2 years (refer to 9.3 b))

วัน เดือน ป (Date) ลายเซ็นต (Signature) ตําแหนงหรือยศ (Position or title) การยืนยันอายุการรับรองโดยผูวาจาง/ผูประสานงานเช่ือม/ผูตรวจสอบหรือองคกรตรวจสอบสําหรับทุก 6 เดือน (อางอิง ขอ 9.2) (Confirmation of the validity by employer/welding coordinator/examiner or examining body for the following 6 month (refer to 9.2)

วัน เดือน ป (Date) ลายเซ็น (Signature) ตําแหนงหรือยศ (Position or title)

หมายเหต ุ ใหอยูในแผนเดียว คูมือการทดสอบใหหนวยงานที่ไดรับมอบหมายจัดทํา

ภาพถาย Photograph (if required) 

Page 39: a2680 เล่ม 1-2558 - soc.go.th

มอก. 2680 เลม 1–2558

–38–

ภาคผนวก ข. (ขอแนะนํา)

ภาคความรูเฉพาะอาชีพ (Job knowledge)

ข.1 ท่ัวไป

ตามมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนี้ การทดสอบภาคความรูเฉพาะอาชีพมีความจําเปน แตไมบังคับ

อยางไรก็ตาม ประเทศไทยมีการกําหนดใหชางเช่ือมตองผานการทดสอบภาคความรูเฉพาะอาชีพ ถาการทดสอบภาคความรูเฉพาะอาชีพไดบรรลุผลสําเร็จจะตองบันทึกขอมูลไวในใบรับรองการทดสอบเพื่อการรับรองคุณสมบัติของชางเช่ือม

ภาคผนวกนี้กําหนดโครงรางภาคความรูเฉพาะอาชีพไววา ชางเช่ือมตองกระทําใหม่ันใจวา การทํางานเปนไปตามวิธีดําเนินการและส่ิงท่ีควรปฏิบัติปกติ ภาคความรูเฉพาะดานอาชีพท่ีบงช้ีไวในภาคผนวกนี้ เพียงแตเปนระดับพื้นฐานข้ันตํ่าสุดเทานั้น

คําถามท่ีใชสอบจริงควรครอบคลุมเนื้อหาตามขอ ข.2 โดยคําถามอาจใชวธีิการขอหนึ่งขอใด หรือรวมกัน ดังตอไปนี ้

ก) การสอบขอเขียนแบบปรนัย

ข) สอบปากเปลาตามคําถามท่ีเปนขอเขียนท่ีจัดเตรียมไว

ค) การทดสอบโดยใชระบบคอมพิวเตอร

ง) การทดสอบแบบสาธิต/สังเกตุการณตามเกณฑกําหนดท่ีเขียนไวแลว

การทดสอบภาคความรูเฉพาะอาชีพถูกจํากัดเนื้อหาใหเกี่ยวของกับกระบวนการเช่ือมท่ีใชในการทดสอบ ข.2 ขอกําหนด

ข.2.1 อุปกรณการเช่ือม

ข.2.1.1 การเช่ือมออกซีอะเซทิลีน

ก) ลักษณะบงช้ีภาชนะบรรจุแกส

ข) ลักษณะบงช้ีและการประกอบอุปกรณท่ีจําเปน

ค) การเลือกหัวฉีดและดามเช่ือมแกสท่ีถูกตอง ข.2.1.2 การเช่ือมอารก

ก) โครงสรางและการบํารุงรักษาอุปกรณการเช่ือมและพารามิเตอรท่ัวไป

ข) ชนิดของกระแสไฟเช่ือม

ค) การตอสายเคเบิลสําหรับเช่ือมอยางถูกตอง

Page 40: a2680 เล่ม 1-2558 - soc.go.th

มอก. 2680 เลม 1–2558

–39–

ข.2.2 กระบวนการเช่ือม

ข.2.2.1 การเช่ือมออกซีอะเซทิลีน (311)

ก) ความดันแกส

ข) การเลือกชนิดของหัวฉีด

ค) ชนิดของเปลวแกส

ง) ผลกระทบจากความรอนท่ีสูงเกิน ข.2.2.2 การเช่ือมอารกโลหะดวยมือกับลวดเช่ือมมีสารพอกหุม (111)

ก) ประเภทของลวดเช่ือม ข.2.2.3 การเช่ือมอารกโลหะแกสคลุมและแกสคลุมไดเอง (114 13 14 15)

ก) ชนิดและขนาดของลวดเช่ือม ข) ลักษณะบงช้ีของแกสคลุมและอัตราการไหล (ยกเวน 114)

ค) ชนิด ขนาดและการบํารุงรักษาหัวฉีด/ทอนํากระแส

ง) การเลือกและขอจํากัดวิธีการถายโอนหยดโลหะ

จ) การปองกันการเช่ือมอารกจากลมโกรก

ข.2.2.4 การเช่ือมอารกใตฟลักซ (121 125)

ก) การอบแหง การปอน และการคืนสภาพของฟลักซอยางถูกตอง

ข) การปรับมุมและการเคล่ือนหัวเช่ือมอยางถูกตอง

ข.2.3 โลหะช้ินงานทดสอบหลัก

ก) ลักษณะบงช้ีของวัสดุ

ข) วิธีการและการควบคุมการอุนกอนเช่ือม

ค) การควบคุมอุณหภมิูระหวางเท่ียวเช่ือม

ข.2.4 วัสดุเช่ือมส้ินเปลือง

ก) ลักษณะบงช้ีของวัสดุเช่ือมส้ินเปลือง

ข) การเก็บรักษา การขนยายและเง่ือนไขของวัสดุเช่ือมส้ินเปลือง

ค) การเลือกขนาดท่ีถูกตอง

ง) ความสะอาดของลวดเช่ือมและลวดเติม

Page 41: a2680 เล่ม 1-2558 - soc.go.th

มอก. 2680 เลม 1–2558

–40–

จ) การควบคุมลอมวนลวด

ฉ) การควบคุมและการสังเกตอัตราการไหลของแกส

ข.2.5 ขอควรระวังดานความปลอดภัย

ข.2.5.1 ท่ัวไป

ก) ข้ันตอนดําเนินการประกอบ การปรับต้ังและการปดเคร่ืองท่ีปลอดภัย

ข) การควบคุมความปลอดภัยของควันและแกสเช่ือม

ค) การปองกันสวนบุคคล

ง) อันตรายจากไฟไหม

จ) การเช่ือมในสถานท่ีอับอากาศ

ฉ) ความตระหนักตอสภาพแวดลอมในการเช่ือม

ข.2.5.2 การเช่ือมออกซีอะเซทิลีน

ก) การเก็บรักษา การขนยายและการใชแกสอัดอยางปลอดภัย

ข) การตรวจสอบการร่ัวไหลของสายยางทอแกสและขอตอ

ค) ข้ันตอนดําเนินการปองกันเปลวไฟยอนกลับ

ข.2.5.3 กระบวนการเช่ือมอารกท้ังหมด

ก) สภาพแวดลอมท่ีเพิ่มอันตรายจากการช็อกไฟฟา

ข) รังสีจากการอารก

ค) ผลกระทบของการอารกผิดท่ี ข.2.5.4 การเช่ือมอารกโลหะแกสคลุม

ก) การเก็บรักษา การขนยายและการใชแกสอัดอยางปลอดภัย

ข) การตรวจสอบการร่ัวไหลของสายยางทอแกสและขอตอ

ข.2.6 ข้ันตอนการและลําดับการเช่ือม

การทําความเขาใจลึกซ้ึงเกี่ยวกับขอกําหนดข้ันตอนดําเนินการเช่ือมและอิทธิพลของตัวแปรการเช่ือม

ข.2.7 การเตรียมรอยตอและตัวอยางรอยเช่ือม

ก) ความถูกตองของการเตรียมรอยตอเปนไปตามขอกําหนดข้ันตอนดําเนินการเช่ือม (WPS)

ข) ความสะอาดของผิวหนารอยเช่ือมหลอม

Page 42: a2680 เล่ม 1-2558 - soc.go.th

มอก. 2680 เลม 1–2558

–41–

ข.2.8 ความไมสมบูรณของรอยเช่ือม

ก) ลักษณะบงช้ีของความไมสมบูรณ

ข) สาเหตุท่ีเกิด

ค) การปฏิบัติการปองกันและการแกไข

ข.2.9 การรับรองคุณสมบัติของชางเช่ือม

ชางเช่ือมตองตระหนักในขอบเขตของการรับรองคุณสมบัติ

Page 43: a2680 เล่ม 1-2558 - soc.go.th

มอก. 2680 เลม 1–2558

–42–

ภาคผนวก ค. (ขอแนะนํา)

ทางเลือกชุดประกอบการเชื่อมของรอยเชื่อมฟลเล็ท/รอยเชื่อมชน (ขอ 5.4)

ดูรูปท่ี ค.1

มิติเปนมิลลิเมตร

a ระยะหาง

รูปท่ี ค.1 ชิ้นงานทดสอบผสมรอยเชื่อมฟลเล็ท/รอยเชื่อมชน (ภาคผนวก ค.)

Page 44: a2680 เล่ม 1-2558 - soc.go.th

มอก. 2680 เลม 1–2558

–43–

บรรณานุกรม

[1] ISO 636, Welding consumables — Rods, wires and deposits for tungsten inert gas welding of non- alloy and fine-grain steels — Classification

[2] ISO 2560, Welding consumables — Covered electrodes for manual metal arc welding of non-alloy and fine grain steels — Classification

[3] ISO 3580, Welding consumables — Covered electrodes for manual metal arc welding of creep- resisting steels — Classification

[4] ISO 3581, Welding consumables — Covered electrodes for manual metal arc welding of stainless and heat-resisting steels — Classification

[5] ISO 9000:2005, Quality management systems — Fundamentals and vocabulary [6] ISO 14171, Welding consumables — Solid wire electrodes, tubular cored electrodes and electrode/flux

combinations for submerged arc welding of non alloy and fire grain steels — Classification [7] ISO 14172, Welding consumables — Covered electrodes for manual metal arc welding of nickel and

nickel alloys — Classification [8] ISO 14341, Welding consumables — Wire electrodes and weld deposits for gas shielded metal arc welding

of non alloy and fine grain steels — Classification [9] ISO 14343, Welding consumables — Wire electrodes, strip electrodes, wires and rods for arc welding of

stainless and heat resisting steels — Classification [10] ISO 14732, Welding personnel — Qualification testing of welding operators for fully mechanized welding

and weld setters for fully mechanized welding and automatic welding of metallic materials [11] ISO 15614-1, Specification and qualification of welding procedures for metallic materials — Welding

procedure test — Part 1: Arc and gas welding of steels and arc welding of nickel and nickel alloys [12] ISO 15607, Specification and qualification of welding procedures for metallic materials — General rules [13] ISO 16834, Welding consumables — Wire electrodes, wires, rods and deposits for gas-shielded arc

welding of high strength steels — Classification [14] ISO 17632, Welding consumables — Tubular cored electrodes for gas shielded and non-gas shielded metal

arc welding of non-alloy and fine grain steels — Classification [15] ISO 17633, Welding consumables — Tubular cored electrodes and rods for gas shielded and non-gas

shielded metal arc welding of stainless and heat-resisting steels — Classification [16] ISO 17634, Welding consumables — Tubular cored electrodes for gas shielded metal arc welding of

creep-resisting steels — Classification [17] ISO 17635, Non-destructive testing of welds — General rules for metallic materials

Page 45: a2680 เล่ม 1-2558 - soc.go.th

มอก. 2680 เลม 1–2558

–44–

[18] ISO 17639, Destructive tests on welds in metallic materials — Macroscopic and microscopic examination of welds

[19] ISO 17640, Non-destructive testing of welds — Ultrasonic testing — Techniques, testing levels, and assessment

[20] ISO 18274, Welding consumables — Solid wire electrodes, solid strip electrodes, solid wires and solid rods for fusion welding of nickel and nickel alloys — Classification

[21] ISO 18275, Welding consumables — Covered electrodes for manual metal arc welding of high- strength steels — Classification

[22] ISO 18276, Welding consumables — Tubular cored electrodes for gas-shielded and non-gas-shielded metal arc welding of high-strength steels — Classification

[23] ISO 21952, Welding consumables — Wire electrodes, wires, rods and deposits for gas shielded arc welding of creep-resisting steels — Classification

[24] ISO 24598, Welding consumables — Solid wire electrodes, tubular cored electrodes and electrode-flux combinations for submerged arc welding of creep-resisting steels — Classification

[25] ISO 26304, Welding consumables — Solid wire electrodes, tubular cored electrodes and electrode-flux combinations for submerged arc welding of high strength steels — Classification

_______________________________________