ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง...

66
ชื่อ .......................................................................... นามสกุล................................................................. เลขที......................... ห้อง ม.1/..........................

Upload: others

Post on 29-Aug-2019

7 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

ชื่อ .......................................................................... นามสกุล................................................................. เลขที่ ......................... ห้อง ม.1/..........................

Page 2: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

โครงการสอนและการวัดประเมินผล

สาระการเรียนรู้วิชา ภาษาไทยพื้นฐาน รหัสวิชา ท๒๑๑๐๒ ครูผู้สอน มิสณิชาภัทร ภู่ไหม มาสเตอร์พิษณุ จงเจริญ ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๕๙ จ านวน ๓ คาบ / สัปดาห์ ๖๐ คาบ / ภาคเรียน จ านวน ๑.๕ หน่วยการเรียน

สาระวิชาพ้ืนฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ.................................... ค าอธิบายรายวิชา ศึกษาวิเคราะห์ลักษณะพ้ืนฐานของการสร้างค าต่าง ๆ ในภาษาไทย การอ่านจับใจความส าคัญของเนื้อเรื่อง การอ่านคิดวิเคราะห์เนื้อหาในบทเรียน การแสดงความคิดเห็น การท่องจ าบทประพันธ์ที่มีคุณค่าเป็นบทอาขยาน ศึกษาวรรณคดีและวรรณกรรม สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน ทั้งด้านรูปแบบค าประพันธ์ เนื้อหาการด าเนินเรื่อง จุดมุ่งหมายในการแต่ง การใช้ภาษาท่ีปรากฏในเนื้อเรื่อง วิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน สรุปความรู้และข้อคิดจากการอ่านวรรณกรรมและวรรณคดี เพ่ือประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยและกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ โดยน าวรรณคดีและวรรณกรรมเป็นแกนกลาง เพ่ือผู้เรียนจะได้เรียนรู้วรรณคดีและวรรณกรรมสัมพันธ์กับหลักการใช้ภาษาและทักษะการสื่อสาร กลมกลืนเป็นเอกภาพ และเชื่อมโยงชีวิตจริง สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ข้อคิดคติสอนใจและน าไปปรับใช้ในการด าเนินชีวิตประจ าวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ( จ านวน ๑๘ ตัวช้ีวัด) สาระท่ี ๑ การอ่าน มาตรฐานที่ ท ๑.๑ ใช้กระบวนการ อ่านสร้ า งความรู้ และความคิด เพื่ อน า ไปใช้ตั ดสินใจ แก้ปัญหา ในการด าเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน ตัวช้ีวัดที ่ ข้อ ๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและร้อยกรองได้ถูกต้องเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน ข้อ ๒ การจับใจความส าคัญจากเรื่องที่อ่าน ข้อ ๘ วิเคราะห์คุณค่าที่ได้รับจากการอ่านงานเขียนอย่างหลากหลายเพ่ือน าไปใช้ในการแก้ปัญหาชีวิต ข้อ ๙ มีมารยาทในการอ่าน สาระท่ี ๒ การเขียน มาตรฐานที่ ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความย่อความ และเขียนเรื่องราวต่างๆ

เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ ตัวช้ีวัดที ่ ข้อ ๒ เขียนสื่อสารโดยใช้ถ้อยค าถูกต้องชัดเจน เหมาะสม และสละสลวย ข้อ ๖ เขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสาระจากสื่อที่ได้รับ

ข้อ ๘ เขียนรายงานการศึกษาคนควาและโครงงาน ข้อ ๙ มีมารยาทในการเขียน

Page 3: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

สาระท่ี ๓ การฟัง การดู และการพูด มาตรฐานที่ ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึกในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ ตัวช้ีวัดที ่ ข้อ ๑ พูดสรุปใจความส าคัญของเรื่องที่ฟังและดู ข้อ ๓ พูดแสดงความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์เก่ียวกับเรื่องที่ฟังและดู ข้อ ๕ พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟังการดูและการสนทนา ข้อ ๖ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด สาระท่ี ๔ หลักการใช้ภาษา มาตรฐานที่ ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา และพลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ ตัวช้ีวัดที ่

ข้อ ๒ การสร้างค าในภาษาไทย สาระท่ี ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐานที่ ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็นวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่า และน ามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ตัวช้ีวัดที ่ ข้อ ๑ สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอ่าน ข้อ ๒ วิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่านพร้อมยกเหตุผลประกอบ

ข้อ ๓ อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอ่าน ข้อ ๔ สรุปความรู้ และข้อคิดจากการอ่านเพื่อประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง

ข้อ ๕ ท่องจ าบทอาขยานตามที่ก าหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ (ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดที่ (ปลายภาค)

๑. การสื่อสาร ๑๐ คะแนน ท ๑.๑ ข้อ ๑,๒,๙ ท ๒.๑ ข้อ ๒,๖,๙ ท ๓.๑ ข้อ ๓,๕,๖

คะแนนเต็ม ๓๐

คะแนน

ท ๑.๑ ข้อ ๒,๘.๙ ท ๕.๑ ข้อ ๑,๒,๓,๔,๕

๒. สภาพจริง ๒๐ คะแนน ท ๒.๑ ข้อ ๒,๙ ท ๕.๑ ข้อ ๑,๒,๕

๓. กลางภาค/ปฏิบัติ ๓๐ คะแนน ท ๑.๑ ข้อ ๑,๙ ท ๔.๑ ข้อ ๒ ท ๕.๑ ข้อ ๑,๒,๓,๔

๕. แฟ้มสะสมงาน ๑๐ คะแนน ท ๒.๑ ข้อ ๒,๖,๙ ท ๕.๑ ข้อ ๔

รวมคะแนนทั้งหมด ๑๐๐ คะแนน

Page 4: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

รายละเอียดการวัดและประเมินผล

๑. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ

ข้อสอบแบบปรนัย ๔ ตัวเลือก จ านวน ๔๐ ข้อ และอัตนัย ๕ ข้อ มีเนื้อหาดังนี้ - พ้ืนฐานในการสร้างค า (พยางค์ ค า วลี ประโยค) - ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา

ข้อสอบแบบปรนัย ๔ ตัวเลือก จ านวน ๖๐ ข้อ มีเนื้อหาดังนี้

- กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน

- นิทานพื้นบ้าน

หนังสืออ้างอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม ๑. หนังสือเรียนวรรณคดี และ วรรณกรรม ระดับชั้น ม. ๑ บริษัทอักษรเจริญทัศน์ (อจท.) ๒. หนังสือเรียนหลักภาษาและการใช้ภาษา ระดับชั้น ม. ๑ บริษัทอักษรเจริญทัศน์ (อจท.)

๓. หนังสือหลักภาษาไทย หรือวรรณคดีไทย ส านักพิมพ์อ่ืนๆ ที่เก่ียวข้องกับวิชาภาษาไทยระดับชั้น ม. ๑

๒. สอบปลายภาค

Page 5: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล สาระการเรียนรู้วิชา คณิตศาสตร์พ้ืนฐาน รหัสวิชา ค21102 ครูผู้สอน ม.ปองพล, มิสอุษราภรณ์, ม.สมคิด, มิสวิภา ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 จ านวน 4 คาบ / สัปดาห์ 80 คาบ / ภาคเรียน จ านวน 2 หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วชิาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ................................ ค าอธิบายรายวิชา

ศึกษา / ฝึกทักษะการคิดค านวณและฝึกการแก้ปัญหาในสาระต่อไปนี้ ทศนิยมและเศษส่วน ค่าประจ าหลักของทศนิยม ต าแหน่งของเลขโดด การเปรียบเทียบทศนิยม การบวก ลบ คูณ

หารทศนิยม โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับทศนิยม การเปรียบเทียบเศษส่วน การบวก ลบ คูณ หารเศษส่วน โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเศษส่วน ความสัมพันธ์ระหว่างทศนิยมและเศษส่วน

การประมาณค่า ค่าประมาณ การปัดเศษ การน าการประมาณค่าไปใช้ คู่อันดับและกราฟ คู่อันดับ กราฟของคู่อันดับ อ่านและแปลความหมายกราฟบนระนาบในระบบพิกัดฉาก เขียน

กราฟของความสัมพันธ์ การน ากราฟไปใช้ สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว แบบรูปและความสัมพันธ์ ค าตอบของสมการ การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ภาพของรูปเรขาคณิตสามมิติ หน้าตัดของรูปเรขาคณิต

สามมิติ ภาพที่ได้จาการมองด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบนของรูปเรขาคณิตสามมิติ รูปเรขาคณิตที่ประกอบขึ้นจากลูกบาศก์ การจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ที่ใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าโดยปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน

เพ่ือพัฒนาทักษะ / กระบวนการในการคิดค านวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และน าประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่างๆ และใช้ในชีวิตประจ าวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถท างานอย่างมีระบบระเบียบ รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และเชื่อมั่นในตนเอง

การวัดผลและประเมินผล ใช้วิธีการหลากหลายตามสภาพความเป็นจริงของเนื้อหาและทักษะที่ต้องการวัด สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ( จ านวน 20 ตัวช้ีวัด) สาระท่ี 1 จ านวนและการด าเนินการ มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจถึงผลที่เกิดข้ึนจากการด าเนินการของจ านวนและความสัมพันธ์ระหว่างการด าเนินการต่าง ๆ และใช้ การด าเนินการในการแก้ปัญหา ตัวช้ีวัด 2. บวก ลบ คูณ หารเศษส่วนและทศนิยม และน าไปใช้แก้ปัญหา ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของ ค าตอบ อธิบายผลที่เกิดข้ึนจากการบวก การลบ การคูณ การหาร และบอกความสัมพันธ์ของการบวกกับการลบ การคูณกับการหารของเศษส่วนและทศนิยม

3. อธิบายผลที่เกิดข้ึนจากการยกก าลังของจ านวนเต็ม เศษส่วนและทศนิยม

Page 6: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

มาตรฐาน ค 1.3 ใช้การประมาณค่าในการค านวณและแก้ปัญหา ตัวช้ีวัด 1. ใช้การประมาณค่าในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม รวมถึงใช้ในการพิจารณาความสมเหตุสมผล ของค าตอบที่ได้จากการค านวณ สาระท่ี 3 เรขาคณิต มาตรฐาน ค 3.1 อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ตัวช้ีวัด 2. สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพ้ืนฐานทางเรขาคณิต และบอกข้ันตอนการสร้างโดยไม่เน้น การพิสูจน์ 3. สืบเสาะ สังเกต และคาดการณ์เก่ียวกับสมบัติทางเรขาคณิต 4. อธิบายลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติจากภาพที่ก าหนดให้ 5. ระบุภาพสองมิติที่ได้จากการมองด้านหน้า (front view) ด้านข้าง (side view) หรือ ด้านบน (top view) ของรูปเรขาคณิตสามมิติที่ก าหนดให้ 6. วาดหรือประดิษฐ์รูปเรขาคณิตสามมิติที่ประกอบขึ้นจากลูกบาศก์ เมื่อก าหนดภาพสองมิติท่ีได้จากการ มองด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบนให้ สาระท่ี 4 พีชคณิต

มาตรฐาน ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ (mathematical model) อ่ืน ๆ แทน สถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและน าไปใช้แก้ปัญหา ตัวช้ีวัด 1. แก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวอย่างง่าย

2. เขียนสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวจากสถานการณ์ หรือปัญหาอย่างง่าย 3. แก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวอย่างง่าย พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของ

ค าตอบ 4. เขียนกราฟบนระนาบในระบบพิกัดฉากแสดงความเกี่ยวข้องของปริมาณสองชุดที่ก าหนดให้ 5. อ่านและแปลความหมายของกราฟบนระนาบในระบบพิกัดฉากที่ก าหนดให้

สาระท่ี 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น

มาตรฐาน ค 5.2 ใช้วิธีการทางสถิติและความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็นในการคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุสมผล ตัวช้ีวัด1. อธิบายได้ว่าเหตุการณ์ที่ก าหนดให้ เหตุการณ์ใดจะมีโอกาสเกิดขึ้นได้มากกว่ากัน สาระท่ี 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการ น าเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค ์ ตัวช้ีวัด 1. ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา

2. ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆได้ อย่างเหมาะสม

3. ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจและสรุปผลได้อย่างเหมาะสม 4. ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร สื่อความหมาย และการน าเสนอได้อย่างถูกต้อง

และชัดเจน

Page 7: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

5.เชื่อมโยงความรู้ต่างๆในคณิตศาสตร์และน าความรู้ หลักการ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับ ศาสตร์อืน่ๆ

6. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ (ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดที่ (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน ค 1.2 ตัวชี้วัดที่ 2 , 3 ค 1.3 ตัวชี้วัดที่ 1 ค 4.2 ตัวชี้วัดที่ 4, 5 ค 5.2 ตัวชี้วัดที่ 1 ค 6.1 ตัวชี้วัดที่ 1, 2, 3, 4, 5, 6 ค 1.2 ตัวชี้วัดที่ 2 , 3

คะแนนเต็ม 30 คะแนน

ค 1.2 ตัวชี้วัดที่ 2, 3 ค 1.3 ตัวชี้วัดที่ 1 ค 3.1 ตัวชี้วัดที่ 2, 3, 4, 5, 6 ค 4.2 ตัวชี้วัดที่ 1, 2, 3, 4, 5 ค 5.2 ตัวชี้วัดที่ 1 ค 6.1 ตัวชี้วัดที่ 1, 2, 3, 4, 5, 6

2.สภาพจริง 20 คะแนน

3.กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน

4.แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน

การทดสอบ

1. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ ทศนิยมและเศษส่วน ค่าประจ าหลักของทศนิยม ต าแหน่งของเลขโดด การเปรียบเทียบทศนิยม การบวก ลบ คูณ หารทศนิยม โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับทศนิยม การเปรียบเทียบเศษส่วน การบวก ลบ คูณ หารเศษส่วน โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเศษส่วน ความสัมพันธ์ระหว่างทศนิยมและเศษส่วน การประมาณค่า ค่าประมาณ การปัดเศษ การน าการประมาณค่าไปใช้ คู่อันดับและกราฟ คู่อันดับ กราฟของคู่อันดับ อ่านและแปลความหมายกราฟบนระนาบในระบบพิกัดฉาก เขียน กราฟของความสัมพันธ์ การน ากราฟไปใช้ ทศนิยมและเศษส่วน การบวก ลบ คูณ หารทศนิยม การบวก ลบ คูณ หารเศษส่วน การประมาณค่า ค่าประมาณ การน าการประมาณค่าไปใช้ คู่อันดับและกราฟ คู่อันดับ กราฟของคู่อันดับ อ่านและแปลความหมายกราฟบนระนาบในระบบพิกัดฉาก เขียน กราฟของความสัมพันธ์ การน ากราฟไปใช้ สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว แบบรูปและความสัมพันธ์ ค าตอบของสมการ การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว โจทยป์ัญหา เกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ภาพของรูปเรขาคณิตสามมิติ หน้าตัดของรูปเรขาคณิตสามมิติ ภาพ ที่ได้จาการมองด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบนของรูปเรขาคณิตสามมิติ รูปเรขาคณิตท่ีประกอบขึ้นจากลูกบาศก์ หนังสืออ้างอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม ชุดสัมฤทธิ์มาตรฐาน หลักสูตรแกนกลางฯ คณิตศาสตร์ (อจท.) ม.1 เล่ม 1, 2 และใบความรู้

2. สอบปลายภาค

Page 8: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรู้วิชา วิทยาศาสตร์พ้ืนฐาน รหัส ว21102 ครูผู้สอน ม.อาคม ศาสตร์สุภาพ มิส โสภาภรณ์ ศิริโสภณ ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2/2559 จ านวน 3 คาบ / สัปดาห์ 60 คาบ/ภาคเรียน จ านวน 1.5 หน่วยการเรียน วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ................................ ค าอธิบายรายวิชา ศึกษา วิเคราะห์ อธิบายการใช้กล้องจุลทรรศน์ เซลล์ของสิ่งมีชีวิต การล าเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ การล าเลียงน้ าและธาตุอาหารของพืช การสังเคราะห์ด้วยแสง การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของพืช การตอบสนองของพืช ความก้าวหน้าและเทคโนโลยีชีวภาพเกี่ยวกับพืช อธิบายองค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ ปัจจัยและผลของการเกิดปรากฏการณ์ทางลมฟ้าอากาศ ปัจจัยและผลของการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก สืบค้นและแปลความหมายข้อมูลจากการพยากรณ์อากาศ โดยใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การทดลอง การสืบเสาะหาความรู้ การส ารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารและเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการน าความรู้ไปใช้ในชีวิตประจ าวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ( จ านวน 14 ตัวช้ีวัด) สาระท่ี 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการด ารงชีวิต มาตรฐานที่ ว 1.1 เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่างๆ

ของสิ่งมีชีวิตที่ท างานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และ น าความรู้ไปใช้ในการด ารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต

ตัวช้ีวัด 1. สังเกตและอธิบายรูปร่างลักษณะของเซลล์สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและเซลล์สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์

2. สังเกต เปรียบเทียบและอธิบายหน้าที่ส่วนประกอบส าคัญของเซลล์สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว และเซลล์สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์

3. ทดลองและอธิบายกระบวนการสารผ่านเซลล์ โดยการแพร่และออสโมซิส 4. ทดลองและอธิบายปัจจัยที่จ าเป็นต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช และอธิบายผลที่ได้จาก การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม 5. สังเกตและอธิบายกลุ่มเซลล์และโครงสร้างที่เกี่ยวข้องกับการล าเลียงน้ าและอาหารของพืช 6. ทดลองและอธิบายโครงสร้างของดอกท่ีเกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์ของพืช 7. อธิบายกระบวนการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอกและการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ

ของพืช โดยใช้ส่วนต่างๆ ของพืชเพ่ือช่วยในการขยายพันธุ์ 8. ทดลองและอธิบายการตอบสนองของพืชต่อแสง น้ า และการสัมผัส

Page 9: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

9. อธิบายหลักการและผลของการใช้เทคโนโลยี ชีวภาพในการขยายพันธุ์ ปรับปรุงพันธุ์ เพิ่ม ผลผลิตของพืชและน าความรู้ไปใช้ประโยชน์

สาระท่ี 6 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก มาตรฐานที่ ว 6.1 เข้าใจกระบวนการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธ์ของ กระบวนการต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐานของโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และน าความรู้ไป ใช้ประโยชน์ ตัวช้ีวัด 1. สืบค้นและอธิบายองค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศที่ปกคลุมผิวโลก

2. ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง อุณหภูมิ ความชื้นและความกดอากาศที่มีผลต่อ ปรากฏการณ์ทางลมฟ้าอากาศ 3. สืบค้น วิเคราะห์และอธิบายการเกิดปรากฏการณ์ทางลมฟ้าอากาศและผลของลมฟ้าอากาศต่อ การด ารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม 4. สืบค้น วิเคราะห์ และแปลความหมายข้อมูลจากการพยากรณ์อากาศ 5. สืบค้น วิเคราะห์ และอธิบายปัจจัยและผลของภาวะโลกร้อน และการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ของโลกท่ีมีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่

(ระหว่างภาค) คะแนน

ปลายภาค ตัวช้ีวัดที่ (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน ว 1.1 ข้อ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 ว 6.1 ข้อ 1, 2, 3, 4, 5

30 คะแนน

ว 6.1 ข้อ 1, 2, 3, 4, 5

2. สภาพจริง 20 คะแนน ว 1.1 ข้อ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 ว 6.1 ข้อ 1, 2, 3, 4, 5

3. กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน ว 1.1 ข้อ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9

4. แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน ว 1.1 ข้อ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 ว 6.1 ข้อ 1, 2, 3, 4, 5

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน

Page 10: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

การทดสอบ

1. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ

รายละเอียดการสอบ 1. ส่วนประกอบและหน้าที่ของกล้องจุลทรรศน์ การใช้กล้องจุลทรรศน์ 2. ส่วนประกอบส าคัญและหน้าที่ของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์

3. กระบวนการสารผ่านเซลล์ โดยการแพร่และออสโมซิส 4. การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช ความส าคัญของการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช 5. การคายน้ าของพืช 6. โครงสร้างที่เกี่ยวกับระบบล าเลียงน้ าและอาหารของพืช 7. โครงสร้างของดอกท่ีเกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์ของพืช 8. การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอกและการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช 9. การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช 10. เทคโนโลยีชีวภาพในการขยายพันธุ์ ปรับปรุงพันธุ์ เพ่ิมผลผลิตของพืช

รายละเอียดการสอบ 1. ส่วนประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ 2. อุณหภูมิ ความชื้นและความกดอากาศ 3. ปรากฏการณ์ทางลมฟ้าอากาศ พายุฟ้าคะนอง มรสุม พายุหมุนเขตร้อน 4. การพยากรณ์อากาศ 5. ผลของลมฟ้าอากาศต่อการด ารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม 6. การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก เอลนีโญ ลานีญา รูโหว่โอโซน และฝนกรด

หนังสืออ้างอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม

1. หนังสือแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ม.1 2. เอกสารประกอบการสอนวิทยาศาสตร์ ม.1

2. สอบปลายภาค

Page 11: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรู้วิชา สังคมศึกษาพ้ืนฐาน รหัส ส21103 ครูผู้สอน มิสสภุารัตน์ กอหะสุวรรณ ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 /2559 จ านวน 2 คาบ / สัปดาห์ 40 คาบ / ภาคเรียน จ านวน 1.0 หน่วยการเรียน วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ................................ ค าอธิบายรายวิชา

ศึกษาพุทธศาสนาที่ตนนับถือ เกี่ยวกับประวัติศาสดา หลักธรรม การปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อสาวกของศาสดา วันส าคัญทางศาสนา ยึดมั่นศรัทธา ในศาสนาที่ตนนับถือ มาปรับใช้และพัฒนา คุณภาพชีวิต ให้ด ารงอยู่อย่างสันติสุข

ศึกษาการเมืองการปกครองของไทยในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข เข้าใจถึงกฎหมาย รัฐธรรมนูญที่ควรรู้ ด้านสถานภาพ บทบาท หน้าที่ เสรีภาพ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว เพื่อให้เกิดความเข้าใจ และมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางการเมือง เคารพเทิดทูนพระมหากษัตริย์ ปฏิบัติตามกฎหมาย เป็นพลเมืองดีในสังคม โดยใช้กระบวนการ คิด วิเคราะห์ พัฒนาเพ่ือสร้างความเข้าใจในการมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ รู้จักใช้สิทธิ เสรีภาพอย่างถูกวิธี ไม่ไปก้าวก่ายให้ผู้อื่นเดือดร้อน จะท าให้ประเทศชาติอยู่อย่างสันติและสงบสุข สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ( จ านวน 14 ตัวช้ีวัด) สาระท่ี 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐานที่ ส 1.1 รู้และเข้าใจประวัติ ความส าคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือและ ศาสนาอื่นๆ มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่นและปฏิบัติตามหลักธรรมเพ่ืออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ตัวชี้วัด 1. อธิบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือสู่ประเทศไทย

2. วิเคราะห์ความส าคัญของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ที่มีต่อสภาพแวดล้อม ในสังคมไทยรวมทั้งการพัฒนาตนและครอบครัว

3.วิเคราะห์พุทธประวัติตั้งแต่ประสูติจนถึงบ าเพ็ญทุกรกิริยาหรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามก าหนด 5.อธิบายพุทธคุณ และข้อธรรมส าคัญในกรอบอริยสัจ 4 หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตามที่ ก าหนด เห็นคุณค่าและน าไปพัฒนาแก้ปัญหาของตนเองและครอบครัว 8. วิเคราะห์และปฏิบัติตามหลักธรรมทางศาสนาที่ตนนับถือในการด าเนินชีวิตแบบพอเพียงและดูแล รักษาสิ่งแวดล้อมเพ่ือการ อยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข

9.วิเคราะห์เหตุผลความจ าเป็นที่ทุกคนต้องศึกษาเรียนรู้ศาสนาอื่นๆ 10. ปฏิบัติตนต่อศาสนิกชนอื่นในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม มาตรฐานที่ ส. 1.2 เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดี และธ ารงรักษาพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ ตนนับถือ ตัวชี้วัด 2.อธิบายจริยวัตรของสาวกเพ่ือเป็นแบบอย่างในการประพฤติปฏิบัติ และปฏิบัติตนอย่างเหมาะสม ต่อสาวกของศาสนาที่ตนนับถือ

Page 12: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

5.อธิบายประวัติ ความส าคัญ และปฏิบัติตนในวันส าคัญทางศาสนา ที่ตนนับถือตามที่ก าหนด ได้ ถูกต้อง สาระท่ี 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการด าเนินชีวิตในสังคม มาตรฐานที่ ส.2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมท่ีดีงาม ด ารงรักษาประเพณีและ วัฒนธรรมไทย ด ารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทย และสังคมโลกอย่างสันติสุข ตัวชี้วัด 2.ระบุความสามารถของตนเองในการท าประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติแสดงออกถึงการเคารพ ในสิทธิของตนเองและผู้อ่ืน มาตรฐานที่ ส.2.2 เข้าใจระบบการเมือง การปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธ ารง รักษาไว้ซึ่งการปก ครอง ระบบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตัวชี้วัด 1.อธิบายหลักการเจตนารมณ์ โครงสร้าง และสาระส าคัญของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับปัจจุบัน 2.วิเคราะห์บทบาทการถ่วงดุลอ านาจอธิปไตยในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 3.ปฏิบัติตนตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับปัจจุบันที่เก่ียวข้องกับตนเอง

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ (ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดที่ (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร …10… คะแนน ส.1.1 ข้อ 1,2,3,5,8,9,10 ส.1.2 ข้อ 2, 5

คะแนนปลายภาค

30 คะแนน

ส.2.1 ข้อ 2, 4 ส.2.2 ข้อ 1, 2, 3

2.สภาพจริง …20… คะแนน

3.กลางภาค/ปฏิบัติ …30… คะแนน ส.1.1 ข้อ 1,2,3,5,8,9,10

4.แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน ส.1.1 ข้อ 1,2,3,5,8,9,10 ส.1.2 ข้อ 2, 5

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน

การทดสอบ

1. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ รายละเอียดการสอบ

การเผยแผ่พุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศไทย ความส าคัญของศาสนาสู่สังคมไทย แหล่งก าเนิด พุทธประวัติ หลักธรรมทางพุทธศาสนา ศาสนพิธี วันส าคัญทางพุทธศาสนา หลักคัมภีร์ การปฏิบัติตน และศาสนาอ่ืนๆ เช่น ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลามและศาสนาพราหมณ์-ฮินดู

รายละเอียดการสอบ - พลเมืองดี บทบาท สิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ที่มีต่อสังคมและประเทศชาติ กฎหมายในชีวิตประจ าวัน เช่น การเกิด การ

ตาย การย้ายถิ่น ผู้เยาว์ การแต่งงาน ฯลฯ อ านาจอธิปไตย แบ่งเป็น 3 ฝ่าย นิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการการปฏิบัติตนตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

หนังสืออ้างอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม หนังสือสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.1 ส านักพิมพ์ วัฒนาพานิชย์ (วพ )

2. สอบปลายภาค

Page 13: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล สาระการเรียนรู้วิชา ประวัติศาสตร์ รหัส ส 21104 ครูผู้สอน มาสเตอร์นพชัย โยธินะเวคิน ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2/2559 จ านวน 1 คาบ / สัปดาห์ 20 คาบ / ภาคเรียน จ านวน 0.5 หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพ่ิมเติม อ่ืนๆ................................ ค าอธิบายรายวิชา ศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตร์สมัยก่อนสุโขทัยในดินแดนไทยโดยสังเขป ตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ และสมัยประวัติศาสตร์ เกี่ยวกับรัฐโบราณในดินแดนไทย รัฐไทยในดินแดนไทยในช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 18 และพัฒนาการของรัฐไทยในสมัยสุโขทัยในด้านต่างๆเกี่ยวกับการสถาปนาอาณาจักร ปัจจัยที่ส่งเสริมความเจริญรุ่งเรืองทั้งปัจจัยภายในและภายนอก พัฒนาการด้านการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ สังคม ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ รวมทั้งความเสื่อมของอาณาจักรสุโขทัย ศึกษาวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัย ประวัติและผลงานของบุคคลส าคัญ อิทธิพลของวัฒนธรรมและภูมิปัญญาสมัยสุโขทัยที่มีต่อสังคมไทยในปัจจุบัน โดยใช้ทักษะการรวบรวมหลักฐาน การตรวจสอบข้อเท็จจริง การวิเคราะห์ การวิพากษ์ข้อมูล การตีความ การให้เหตุผล การสังเคราะห์ การน าเสนอด้วยวิธีการต่างๆ ทั้งนี้เพ่ือให้เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย เห็นแบบอย่างการกระท าความดีของบรรพบุรุษไทยที่ได้ปกป้องชาติด้วยความเสียสละ เกิดความรัก ความภูมิใจในชาติไทย วัฒนธรรมไทยและภูมิปัญญาไทย สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ( จ านวน 3 ตัวช้ีวัด) สาระท่ี 4 ประวัติศาสาตร์ มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจและธ ารงความเป็นไทย ตัวช้ีวัด 1.อธิบายเรื่องราวทางประวัติศาสตร์สมัยก่อนสุโขทัยในดินแดนไทยโดยสังเขป 2.วิเคราะห์พัฒนาการของอาณาจักรสุโขทัยในด้านต่างๆ 3.วิเคราะห์อิทธิพลของวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัยและสังคมไทยในปัจจุบัน

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ (ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค

ตัวช้ีวัดที่ (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน มาตรฐาน ส 4.3 ข้อที่ 1,2,3

30 คะแนน

มาตรฐาน ส 4.3 ข้อที่ 2,3

2. สภาพจริง 20 คะแนน มาตรฐาน ส 4.3 ข้อที่ 1,2,3 มาตรฐาน ส 4.3 ข้อที่ 1,2,3

3. กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน มาตรฐาน ส 4.3 ข้อที่ 1

4. แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน มาตรฐาน ส 4.3 ข้อที่ 1,2,3

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน

Page 14: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

การทดสอบ 1. สอบกลางภาค / สอบปฏิบัติ รายละเอียดการสอบ

- ความเป็นมาและการตั้งหลักแหล่งในดินแดนประเทศไทย

- การตั้งถ่ินฐานสมัยก่อนประวัติศาสตร์ในดินแดนไทยและการตั้งถิ่นฐานสมัยประวัติศาสตร์ในดินแดนไทย

- รัฐโบราณก่อนรัฐไทย

- รัฐไทยในดินแดนไทย

- อิทธิพลของอารยธรรมโบราณในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่มีผลต่อพัฒนาการของไทย 2. สอบปลายภาค รายละเอียดการสอบ

- การสถาปนาอาณาจักรสุโขทัย และปัจจัยที่เก่ียวข้อง

- พัฒนาการของอาณาจักรสุโขทัยในด้านการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

- ความเสื่อมของอาณาจักรสุโขทัย

- วัฒนธรรม และภูมิปัญญาไทยในสมัยสุโขทัย

- อิทธิพลของวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัยและสังคมไทยในปัจจุบัน หนังสืออ้างอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม

-หนังสือเรียนประวัติศาสตร์พ้ืนฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ส านักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์ (อจท.)

* หมายเหตุ ใช้สมุดเล่มเล็กสีขาวที่ทางโรงเรียนจัดให้ เพ่ือจดบันทึกเนื้อหาในการเรียนรู้

Page 15: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรู้วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา รหัส พ 21102 ครูผู้สอน ม. วิรุณ ทองพิลา ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 / 2559 จ านวน 1 คาบ / สัปดาห์ 20 คาบ / ภาคเรียน จ านวน 1 หนว่ยการเรียน วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ.................................... ค าอธิบายรายวิชา อธิบายความส าคัญของระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อที่มีผลต่อสุขภาพ การเจริญเติบโตและการพัฒนาการของวัยรุ่นรวมทั้งวิธีการดูแลรักษาระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อให้ท างานตามปกติ วิเคราะห์ภาวการณ์เจริญเติบโตทางร่างกายของตนเองกับเกณฑ์มาตรฐาน แสวงหาแนวทางในการพัฒนาตนเองให้เจริญเติบโตสมวัย อธิบายวิธีการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์และพัฒนาการทางเพศได้อย่างเหมาะสม เลือกกินอาหารให้เหมาะสมกับวัย วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดจากภาวะโภชนาการที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ ควบคุมน้ าหนักตนเองให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน สร้างเสริมและปรับปรุงสมรรถภาพทางกายตามผลการทดสอบ อธิบายลักษณะอาหารของผู้ติดสารเสพติด การป้องกันการติดสารเสพติด ความสัมพันธ์ของการใช้สารเสพติดกับการเกิดโรคและอุบัติเหตุและแสดงวิธีการชักชวนผู้อ่ืนให้ลด ละ เลิกสารเสพติด โดยการใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบกระบวนการกลุ่ม กระบวนการสืบค้นข้อมูล การคิดวิเคราะห์และอภิปรายเพ่ือให้เกิดการเรียนรู้ ความเข้าใจ ส านึกในคุณค่าและศากยภาพของตนเอง สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และน าประสบการณ์ไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการด าเนินชีวิต สาระท่ี 4 การเสริมสร้าง สมรรถภาพและการป้องกันโรค มาตรฐาน พ 4.1 เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การด ารงสุขภาพ การป้องกันโรคและการสร้างเสริมสมรรถภาพเพ่ือสุขภาพ ตัวช้ีวัด 1. เลือกกินอาหารให้เหมาะสมกับวัย 2. วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดจากภาวะโภชนาการที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ 3. ควบคุมน้ าหนักตนเองให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน สาระท่ี 5 ความปลอดภัยในชีวิต มาตรฐาน พ 5.1 ป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ การใช้ยา สารเสพติด ตัวช้ีวัด 1. อธิบายลักษณะอาการของผู้ติดสารเสพติดและการป้องกันการติดสารเสพติด 2. อธิบายความสัมพันธ์ของการใช้สารเสพติดกับการเกิดโรคและอุบัติเหตุ 3. แสดงวิธีการชักชวนผู้อ่ืนให้ ลด ละ เลิกสารเสพติดโดยใช้ทักษะต่างๆ

Page 16: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

การวัดและประเมินผล ( สุขศึกษา )

คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ (ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดที่ (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน พ 4.1 ตัวชี้วัดที่ 1,2,4 พ 5.1 ตัวชี้วัดที่ 1,4

คะแนนเต็ม 20 คะแนน

พ 4.1 ตัวชี้วัดที่ 1,2,4 พ 5.1 ตัวชี้วัดที่ 1,4

2. สภาพจริง 30 คะแนน

3. ปฏิบัติ 30 คะแนน 4. แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน

รายละเอียดการวัดและประเมินผล ( 80/20)

1. การประเมินจากการสื่อสารรายบุคคล ( Communication = 10 คะแนน )

เกณฑ์การให้คะแนน 1. ความสนใจในชั้นเรียนน าเอกสารเรียนมาครบ 10 คะแนน

2. การประเมินจากสภาพจริง (Authentic Assessment = 30 คะแนน)

เกณฑ์การให้คะแนน 1. ให้นักเรียนประเมินตนเองด้วยแบบทดสอบก่อนเรียน

ให้นักเรียนประเมินตนเองหลังการเรียนแต่ละบทเรียนแล้วด้วยแบบทดสอบ 3. การท างานซ่อมเสริมเม่ือท างานไม่ผ่าน

3. สอบปฎิบัติ ( Performance Assessment = 30 คะแนน )

รายละเอียดการสอบ นักเรียนจับกลุ่มตามเลขที่ 3 คน ท างานสุขศึกษาที่เก่ียวกับสุขภาพมาน าเสนอหน้าชั้นเรียน

4. การประเมินจากแฟ้มสะสมผลงาน ( Portfolio = 10 คะแนน )

เกณฑ์การให้คะแนน นักเรียนส่งเอกสารประกอบการเรียนและมีการท างานครบตามก าหนด 5. สอบปลายภาค ( Final Examination = 20 คะแนน ) รายละเอียดการสอบ

1. วัยรุ่นกับโภชนาการเพ่ือสร้างเสริมสุขภาพ 2. มหันตภัยสิ่งเสพติดท่ีมีผลต่อสุขภาพวัยรุ่น

หนังสืออ้างอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม หนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน สุขศึกษา 3 ส านักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์ จ ากัด

Page 17: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล สาระการเรียนรู้วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา วิชา เทเบิลเทนนิส รหัส พ 21102 ครูผู้สอน ม. วิรุณ ทองพิลา ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 / 2559 จ านวน 1 คาบ / สัปดาห์ 20 คาบ / ภาคเรียน จ านวน 1 หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วชิาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ................................ ค าอธิบายรายวิชา ศึกษาเพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจและอธิบายความส าคัญของการออกก าลังกายและเล่นกีฬาจนเป็นวิถีชีวิตเพ่ือการมี สุขภาพดี มีส่วนร่วมในการปฏิบัติจริงในเรื่องกิจกรรมกายบริหาร การออกก าลังกายด้วยกีฬาเทเบิลเทนนิสในเรื่องของการการเตรียมพร้อม การเคลื่อนไหวร่างกายในลักษณะต่าง ๆ การจับไม้ การตีลูกหน้ามือ การตีลูกหลังมือ การตีด้วยลูกตัด การเสิร์ฟลูก การรับลูกหน้ามือ การรับลูกหลังมือ การรับลูกตัด การรับลูกเสิร์ฟ การส่งลูก การตีโต้คู่และการเล่นเกมแข่งขันประเภทเดี่ยวได้อย่างปลอดภัยและสนุกสนาน การเรียนรู้กฎ กติกาของกีฬาเทเบิลเทนนิส วางแผนกลวิธีการรุกและการเล่นเกมรับ มีน้ าใจนักกีฬา มีความรับผิดชอบตามหน้าที่และการทดสอบสมรรถภาพทางกาย หลักความปลอดภัย การสร้างเสริมความปลอดภัยในการเล่น เห็นคุณค่าและน าไปใช้เสริมสร้างสุขภาพในชีวิตประจ าวัน สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระท่ี 3 การเคลื่อนไหว การออกก าลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทยและกีฬาสากล มาตราฐาน. พ 3.1 เข้าใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกมและกีฬา มาตราฐาน. พ 3.2 รักการออกก าลังกาย การเล่นเกมและการเล่นกีฬา ปฏิบัติเป็นประจ าอย่างสม่ าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้ าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแข่งขันและชื่นชมในสุนทรียภาพของการกีฬา ตัวช้ีวัด 1. เคลื่อนไหวร่างกายขณะอยู่กับท่ี เคลื่อนที่และใช้อุปกรณ์ประกอบ

2. เล่นเกมเบ็ดเตล็ดและเข้าร่วมกิจกรรมทางกายท่ีใช้การเคลื่อนไหวตามธรรมชาติ การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ (ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดที่ (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน พ 3.1 ตัวชี้วัดที่ 1-2 พ 3.2 ตัวชี้วัดที่ 1-2

คะแนนเต็ม

20 คะแนน

พ 3.1 ตัวชี้วัดที่ 1-2 พ 3.2 ตัวชี้วัดที่ 1-2

2. สภาพจริง 30 คะแนน

3.ปฏิบัติ 30 คะแนน 4. แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน

Page 18: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

รายละเอียดการวัดและประเมินผล อัตราส่วนคะแนนระหว่างภาคกับคะแนน 80 : 20 1.การสื่อสารรายบุคคล (10 คะแนน) เกณฑ์การให้คะแนน - เวลาเรียนครบ 2. สภาพจริง (30 คะแนน) เกณฑ์การให้คะแนน

1. ทดสอบการจับลูกกระดอนพื้น 1 ครั้ง จ านวน 5 ครั้ง (5 คะแนน) 2. ทดสอบการจับลูกลอยในอากาศ จ านวน 5 ครั้ง (5 คะแนน) 3. ทดสอบการเดาะลูกบอลหน้ามือ 30 ครั้ง (10 คะแนน) 4. ทดสอบการเดาะลูกหลังมือ 30 ครั้ง (10 คะแนน)

3. สอบปฎิบัติ (30 คะแนน) รายละเอียดการสอบ 1. นักเรียนท าอุปกรณ์การเล่น 1 ชิ้นงาน (ท่ีกั้นลูก) 2. ทดสอบการตบลูกหน้ามือ-หลังมือ 4. การประเมินจากแฟ้มสะสมผลงาน (10 คะแนน) เกณฑ์การให้คะแนน

1. ส่งสมุดเรียน 2. ท างานครบ

5. สอบปลายภาค (20 คะแนน) รายละเอียดการสอบ 1. การตีโต้บนโต๊ะกับเพ่ือน 10 ครั้ง 2. การแข่งขันประเภทเดี่ยวภายในโต๊ะ (10 คะแนน) หนังสืออ้างอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม

1. เอกสารเรียน 2. Internet website

Page 19: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล สาระการเรียนรู้วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา วิชา พลศึกษา (ว่ายน้ า) รหัส พ21102 ครูผู้สอน มาสเตอร์พิษณุ ชาติกุล ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 /2559 จ านวน 1 คาบ / สัปดาห์ 20 คาบ / ภาคเรียน จ านวน 1 หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ ค าอธิบายรายวิชา

ศึกษาและฝึกปฏิบัติการทดสอบสมรรถภาพทางกาย การใช้สถานบริการสุขภาพทางการแพทย์และการสาธารณสุข โดยการฝึกการเคลื่อนไหวและออกก าลังกายเป็นสิ่งจ าเป็นและก่อให้เกิดประโยชน์ต่อร่างกายอย่างมาก การเคลื่อนไหวร่างกายจ าเป็นต้องมีการควบคุมตนเองที่ดี เพ่ือประสิทธิภาพในการท างาน และป้องกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้น การเคลื่อนไหวร่างกายในการเล่นกีฬาซึ่งมีการเคลื่อนไหวร่างกายในหลากหลายรูปแบบกิจกรรมต่างๆ การออกก าลังกายควรจะต้องมีความเหมาะสมกับผู้ออกก าลังกาย เพ่ือเป็นประโยชน์ต่อการใช้ทักษะชีวิต มีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวชุมชนและรักในการออกก าลังกาย สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ( จ านวน …19…. ตัวช้ีวัด) สาระท่ี 3 การเคลื่อนไหว การออกก าลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล มาตรฐาน พ 3.1 เข้าใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา 1. น าผลการปฏิบัติตนเกี่ยวกับทักษะกลไกและทักษะการเคลื่อนไหวในการเล่นกีฬาจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายมา สรุปเป็นวิธีที่เหมาะสมในบริบทของตนเอง 2. เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากล ทั้งประเภทบุคคลและทีมได้อย่างละ ๑ ชนิด 3. เปรียบเทียบประสิทธิภาพของรูปแบบการเคลื่อนไหวที่ส่งผลต่อการเล่นกีฬาและกิจกรรมในชีวิตประจ าวัน 4. ร่วมกิจกรรมนันทนาการอย่างน้อย ๑ กิจกรรม และน าความรู้และหลักการที่ได้ไปปรับใช้ในชีวิตประจ าวันอย่าง เป็นระบบ มาตรฐาน พ 3.2 รักการออกก าลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบัติเป็นประจ าสม่ าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้ าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแข่งขันและชื่นชมในสุนทรียภาพของการกีฬา 1. ออกก าลังกาย และเล่นกีฬาที่เหมาะสมกับตนเองอย่างสม่ าเสมอ และใช้ความสามารถของตนเองเพ่ิมศักยภาพ ของทีม ลดความเป็นตัวตน ค านึงถึงผลที่เกิดต่อสังคม 2. อธิบายและปฎิบัติเกี่ยวกับสิทธิ กฎกติกา กลวิธีต่างๆในระหว่างการเล่น การแข่งขันกีฬากับผู้อ่ืนและน าไปสรุป เป็นแนวปฎิบัติ และใช้ในชีวิตอย่างต่อเนื่อง

Page 20: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ (ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดที่ (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน มฐ.3.1 ตัวชี้วัดที่ 1-4 มฐ.3.2 ตัวชี้วัดที่ 1-2

คะแนนเต็ม 20 คะแนน

มฐ.3.1 ตัวชี้วัดที่ 1-4 มฐ.3.2 ตัวชี้วัดที่ 1-2

2.สภาพจริง 25+5 คะแนน

3.กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน

4.แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน

รวมคะแนนทั้งหมด …100... คะแนน

การทดสอบ 1.การประเมินจากการสื่อสารรายบุคคล (...10... คะแนน) เกณฑ์การให้คะแนน

เรื่อง/ชิ้นงาน คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน

1. ความตั้งใจเรียน, การเข้าร่วมท ากิจกรรม

5 1.ตั้งใจเรียน เข้าร่วมกิจกรรมสม่ าเสมอ = 5 คะแนน 2.ตั้งใจเรียน เข้าร่วมกิจกรรมบางครั้ง = 4 คะแนน 3.ตั้งใจเรียน เข้าร่วมกิจกรรมน้อย = 3 คะแนน

2. การตอบค าถาม 5 1.แสดงออกความคิดเห็นเชิงสร้างสรรค์สม่ าเสมอ = 5 คะแนน 2.แสดงออกความคิดเห็นเชิงสร้างสรรค์บางครั้ง = 4 คะแนน 3.แสดงออกความคิดเห็นเชิงสร้างสรรค์น้อย = 3 คะแนน

คะแนนรวม 10

2.การประเมินจากสภาพจริง (Authentic Assessment) ( …25… คะแนน) เกณฑ์การให้คะแนน

เรื่อง/ชิ้นงาน คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน

1. เวลาเรียน 5 1.มาเรียนทุกครั้ง = 5 คะแนน 2.ขาดเรียน 1 ครั้ง = 4 คะแนน 3.ขาดเรียน 2 ครั้ง = 3 คะแนนm 4.ขาดเรียนเกิน2ครั้ง = 2 คะแนน

2. เครื่องแต่งกาย 5 1.แต่งกายถูกระเบียบทุกครั้ง = 5 คะแนน 2.แต่งกายไม่ถูกระเบียบ 1 ครั้ง = 4 คะแนน 3.แต่งกายไม่ถูกระเบียบ 2 ครั้ง = 3 คะแนน 4.แต่งกายไม่ถูกระเบียบเกิน 2 ครั้ง = 2 คะแนน

3. ระเบียบวินัย 10 1.มีระเบียบวินัยดีมากในการเรียนและ การเข้าแถว,เดินแถว = 10 คะแนน 2.มีระเบียบวินัยดีในการเรียนและ การเข้าแถว,เดินแถว = 9 คะแนน 3.มีระเบียบวินัยพอใช้ในการเรียนและ การเข้าแถว,เดินแถว = 8 คะแนน 4.ระเบียบวินัยต้องปรับปรุงในการเรียนและ การเข้าแถว,เดินแถว = 7 คะแนน

4. เจตนคติ และ การพัฒนาตนเอง

5 1.สนใจและมีการพัฒนาทักษะทางกีฬาดีมาก = 5 คะแนน 2.สนใจและมีการพัฒนาทักษะทางกีฬาดี = 4 คะแนน 3.ไม่ค่อยสนใจและมีการพัฒนาทักษะทางกีฬาน้อย = 3 คะแนน

คะแนนรวม 25

Page 21: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

3. สอบปฎิบัติ (Mid-term Test /Performance Assessment) ( 30 คะแนน) หัวข้อเรื่อง การกระโดดออกตัวในการแข่งขันว่ายน้ า 10 คะแนน

พฤติกรรมที่ต้องการวัด คะแนน

กระโดดได้ถูกต้อง 100%, 90%, 80%, 70%, 60%, 10, 9, 8, 7, 6,

หัวข้อเรื่อง ทักษะการว่ายน้ าท่าฟรีสไตล์ 10 คะแนน พฤติกรรมที่ต้องการวัด คะแนน

ว่ายน้ าท่าฟรีสไตล์ได้ถูกต้อง 100%, 90%, 80%, 70%, 60%, 10, 9, 8, 7, 6,

หัวข้อเรื่อง ทักษะการว่ายน้ าท่ากรรเชียง 10 คะแนน พฤติกรรมที่ต้องการวัด

ว่ายน้ าท่ากรรเชียงได้ถูกต้อง 100%, 90%, 80%, 70%, 60%, 10, 9, 8, 7, 6, 4. การประเมินจากแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) (10 คะแนน) หัวข้อเรื่อง การแข่งขันว่ายน้ าประเภททีมผลัดฟรีสไตส์ 10 คะแนน

พฤติกรรมที่ต้องการวัด คะแนน

ทีมชนะเลิศการแข่งขันล าดับที่ 1 – 2 – 3 10, 9, 8, ล าดับที่ 4 - สุดท้าย 7

5. สอบปลายภาค ( 20 คะแนน ) หัวข้อเรื่อง การว่ายฟรีสไตล์ 25 เมตร 20 คะแนน

พฤติกรรมที่ต้องการวัด คะแนน

ท่าทางในการว่ายถูกต้อง 10 มีความเร็วในการว่ายต่อเนื่อง 10

หนังสืออ้างอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม ดร.นพ. บุญสม มาร์ติน , สุขศึกษา , อักษรเจริญทัศท์ , ๒๕๓๓......................................................................................

Page 22: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล สาระการเรียนรู้วิชา ศิลปะ รหัส ศ 21102 ครูผู้สอน มาสเตอร์คงศักดิ์ คุ้มอ่ิม ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2/2559 จ านวน 1 คาบ / สัปดาห์ 20 คาบ / ภาคเรียน จ านวน 0.5 หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วชิาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ ค าอธิบายรายวิชา

ศึกษาและฝึกปฏิบัติ ความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์ และสิ่งแวดล้อมโดยใช้ความรู้เรื่องทัศนธาตุ หลักการออกแบบงานทัศนศิลป์ โดยเน้นความเป็นเอกภาพ ความกลมกลืน และความสมดุล การวาดภาพทัศนียภาพเป็น 3 มิติ งานปั้นหรืองานสื่อผสม การออกแบบรูปภาพสัญลักษณ์ หรือกราฟิกอ่ืน ๆ วิธีการปรับปรุงงานของตนเองและผู้อื่นโดยใช้เกณฑ์ที่ก าหนดให้ การศึกษาเกี่ยวกับลักษณะรูปแบบงานทัศนศิลป์ของชาติและท้องถิ่นตนเอง งานทัศนศิลป์ของภาคต่าง ๆ ในประเทศไทย ความแตกต่างในการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ของวัฒนธรรมไทยและสากล การอ่าน เขียน ร้อง โน๊ตไทยและสากล การเปรียบเทียบเสียงร้องและเสียงเครื่องดนตรีจากวัฒนธรรมต่างๆ การขับร้องและบรรเลงเครื่องดนตรี บทบาทและอิทธิพลของดนตรี การบ ารุงรักษาเครื่องดนตรี ประเภทของวงดนตรีไทย วงดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมต่าง ๆ การวิเคราะห์วิจารณ์อารมณ์เพลงที่แตกต่างกัน การละครในรูปแบบต่างๆ วิธีการวิเคราะห์ วิจารณ์ผลงาน การประยุกต์ใช้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ โดยใช้กระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจ สร้างค่านิยม ปฏิบัติทางทัศนศิลป์ วิเคราะห์ สร้างทักษะการปฏิบัติทางดนตรี สร้างความคิดวิจารณญาณ เพ่ือให้ผู้เรียนมีลักษณะนิสัยด้านศิลปะชื่นชม ร่วมกิจกรรม ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการท างาน รักความเป็นไทย มีชีวิตเพียงพอ และมีจิตอาสา สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระที่ 1 ทัศนศิลป์ มฐ. ศ 1.1 ตัวชี้วัดที่ 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 มฐ. ศ 1.2 ตัวชี้วัดที่ 1 , 2 , 3 รวม 9 ตัวชี้วัด ตัวช้ีวัด มาตราฐาน. ศ 1.1 สรางสรรคงานทัศนศิลปตามจินตนาการและความคิดสรางสรรค วิเคราะห วิพากษ วิจารณคุณคางาน ทัศนศิลป ถายทอดความรูสึกความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ ชื่นชมและประยุกตใชในชีวิตประจ าวัน

1. บรรยายความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์ และสิ่งแวดล้อมโดยใช้ความรู้เรื่องทัศนธาตุ 2. ระบุและบรรยายหลักการออกแบบงานทัศนศิลป์ โดยเน้นความเป็นเอกภาพ ความกลมกลืน และความสมดุล 3. วาดภาพทัศนียภาพแสดงให้เห็นระยะใกล้ ไกล เป็น 3 มิติ 4. รวบรวมงานปั้นหรือสื่อผสมมาสร้างเป็นเรื่องราว 3 มิติ โดยเน้นความเป็นเอกภาพ ความกลมกลืน และความสมดุล

และการสื่อถึงเรื่องราวของงาน 5. ออกแบบรูปภาพสัญลักษณ์ หรือกราฟิกอ่ืน ๆ ในการน าเสนอความคิดและข้อมูล 6. ประเมินงานทัศนศิลป์และบรรยายถึงวิธีการปรับปรุงงานของตนเองและผู้อ่ืน โดยใช้เกณฑ์ท่ีก าหนดให้

มาตราฐาน. ศ 1.2 เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศลิป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางาน ทัศนศิลปที่เปน มรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทย และสากล

Page 23: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

1. ระบุและบรรยายเกี่ยวกับลักษณะรูปแบบงานทัศนศิลป์ของชาติและของท้องถิ่นตนเองจากอดีตจนถึงปัจจุบัน 2. ระบุและเปรียบเทียบงานทัศนศิลป์ของภาคต่าง ๆ ในประเทศไทย 3. เปรียบเทียบความแตกต่างของจุดประสงค์ในการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ของวัฒนธรรมไทยและสากล

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ (ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดที่ (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน ศ 1.1 ตัวชี้วัดที่ 1 ศ 1.2 ตัวชี้วัดที่ 1 , 2 , 3

คะแนนเต็ม 20

คะแนน

ศ 1.1 ตัวชี้วัดที่ 3 , 4

2.สภาพจริง 30 คะแนน ศ 1.1 ตัวชี้วัดที่ 2 , 3 3.กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน ศ 1.1 ตัวชี้วัดที่ 3 , 4 , 5

ศ 1.2 ตัวชี้วัดที่ 1, 2 , 3 4.แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน ศ 1.1 ตัวชี้วัดที่ 6

รวมคะแนนทั้งหมด …100.. คะแนน

1. การประเมินด้วยการสื่อสารส่วนบุคคล (10 คะแนน)

เรื่อง / ชิ้นงาน คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน

1.การวาดภาพลายเส้นอิสระ 10 1.การใช้เส้นและรูปทรงต่าง ๆ มาประกอบกัน

2.การจัดองค์ประกอบศิลปะ

3.ความมั่นใจในการร่างภาพ

คะแนนรวม 10

2. การประเมินสภาพจริง (……30…… คะแนน)

เรื่อง / บทที่ รายละเอียด คะแนน

1.การเขียนภาพประกอบตามเหตุการณ์ส าคัญต่างๆ 1.ภาพประกอบตามเหตุการณ์ส าคัญต่างๆ 10

2.การเขียนแบบรูปธรรม , นามธรรมและก่ึงนามธรรม

2.การเขียนแบบรูปธรรม , นามธรรมและก่ึงนามธรรม

10

3. อ่านคิดวิเคราะห์ และ จริยะ 3.ข้อสอบอ่านคิดวิเคราะห์ และ จริยะทางศิลปะ

5

4.ทฤษฎีทัศนศิลป์ 4.แบบฝึกหัดภาคทฤษฎี 5

รวม 30

Page 24: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

3. การประเมินปฏิบัติ (………30……… คะแนน)

4. การประเมินแฟ้มสะสมงาน (10 คะแนน)

เรื่อง / ชิ้นงาน คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน

1.ประวัติศิลปินทั้งไทยและต่างประเทศ 5 1.ความสมบูรณ์ของเนื้อหา

2.น าเสนอผลงานที่ตนเองประทับใจ 5 2.หลักและคุณสมบัติของการน าเสนอและการวิจารณ์ผลงานศิลปะ

คะแนนรวม 10

5. การสอบปลายภาค (...........20............คะแนน)

เรื่อง / บทที่ รายละเอียด คะแนน

1. .การจัดนิทรรศการผลงานของนักเรียน 1.หลักการจัดนิทรรศการ 10

2.หลักการและคุณสมบัติของผู้วิจารณ์และการน าเสนอผลงาน

2.ศิลปะวิจารณ์ 7

3.ประวัติศิลปินทั้งไทยและต่างประเทศ 3.ประวัติศิลปินทั้งไทยและต่างประเทศ 3

รวม 10

หนังสืออ้างอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม - ทัศนศิลป์ ม.1 อ.วิทูรย์ โสแก้ว ส านักวัฒนาพานิช - ทัศนศิลป์แนวใหม่ ม.1 รศ.ผดุง ศิริรัตน์ รศ.เลิศ อานันทนะ องค์การค้าคุรุสภา - เรื่องน่ารู้สู่การใช้หลักสูตรแกนกลาง อ.เอกรินทร์สี่มหาศาล และคณะ บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จ ากัด

เรื่อง / ชิ้นงาน คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน

1.การวาดภาพแสงเงาและภาพหุ่นนิ่ง 10 1.หลักการจัดองค์ประกอบ

2.หลักการเขียนแบบรูปธรรม , นามธรรมและกึ่งนามธรรม

10 2.ความสมบูรณ์แบบของความคิดรวบยอด , เนื้อหา ,

3.การใช้สีในการเพ่ิมคุณค่าของผลงานการ์ตูนล้อ 10 3.ความสะอาดเรียบร้อยของผลงาน

คะแนนรวม 30

Page 25: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล สาระการเรียนรู้วิชา ศิลปะ วิชา (ดนตรีไทย) รหัส ศ21102 ครูผู้สอน มาสเตอร์สิปปวิชญ์ วงคส์กุลศิลป์ ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 / 2559 จ านวน 1 คาบ / สัปดาห์ 20 คาบ / ภาคเรียน จ านวน 0.5 หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ........................... ค าอธิบายรายวิชา

ศึกษา วิเคราะห์ อภิปรายเพลงโดยอาศัยองค์ประกอบดนตรี ศัพท์สังคีตประเภทและบทบาทหน้าที่เครื่องดนตรีไทยและเครื่องดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมต่างๆ ดนตรีในประวัติศาสตร์ อ่านเขียนโน้ตไทยและโน้ ตสากล บรรเลงเครื่องดนตรีประกอบ ร้องเพลง ด้นสด บรรยายความรู้สึก แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับท านองจังหวะการประสานเสียงและคุณภาพของเสียงเพลง

ศึกษา วิเคราะห์ รูปแบบการแสดง การละคร ประเภทของการแสดง ลักษณะของภาษาท่า นาฏยศัพท์เทคนิคการเคลื่อนไหว แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับงานแสดงของตนเองและผู้อ่ืน บทบาทการแสดงที่มีผลต่อชีวิตประจ าวัน เชื่อมโยงทักษะกับกลุ่มสาระอ่ืน ๆ

โดยใช้กระบวนการคิด วิเคราะห์ สื่อความ สร้างสรรค์ จ าแนกเครื่องดนตรี การขับร้อง การเล่นเครื่องดนตรีประกอบเพลง และการอ่าน-เขียนโน้ต สื่ออารมณ์ของบทเพลงอย่างอิสระ แสดงออกตามจินตนาการ อธิบายความหมายของเนื้อหาในบทเพลง ชื่นชม รักในความเป็นไทย มีวินัยและใฝ่เรียนรู้ เล็งเห็นคุณค่า บูรณาการสภาพปัญหา ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล สาระ / มาตรฐาน / ตัวชี้วัด

สาระดนตรี มฐ. ศ 2.1 ตัวชี้วัดที่ 1, 2, 3, 4, 5, 6, มฐ. ศ 2.2 ตัวชี้วัดที่ 1, 2, 3

ตัวช้ีวัด (ให้เขียนรายละเอียดเป็นข้อๆ) มาตรฐานที่ ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน

1. เปรียบเทียบรูปแบบของบทเพลงและ วงดนตรีแต่ละประเภท 2. จ าแนกประเภทและรูปแบบของ วงดนตรีทั้งไทยและสากล 3. อธิบายเหตุผลที่คนต่างวัฒนธรรม สร้างสรรค์งานดนตรีแตกต่างกัน 4. อ่าน เขียน โน้ตดนตรีไทยและสากล ในอัตราจังหวะต่างๆ 5. ร้องเพลง หรือเล่นดนตรีเดี่ยวและ รวมวงโดยเน้นเทคนิคการแสดงออก และคุณภาพของการแสดง 6. สร้างเกณฑ์ส าหรับประเมินคุณภาพ การประพันธ์และการเล่นดนตรี ของตนเองและผู้อื่นได้อย่างเหมาะสม

Page 26: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

มาตรฐานที่ ศ 2.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของดนตรีที่ เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล วิเคราะห์รูปแบบของดนตรีไทยและ ดนตรีสากลในยุคสมัยต่าง ๆ

1. วิเคราะห์สถานะทางสังคมของ นักดนตรีในวัฒนธรรมต่าง ๆ 2. เปรียบเทียบลักษณะเด่นของดนตรี ในวัฒนธรรมต่างๆ

การวัดและประเมินผล คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ (ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดที่ (ปลายภาค)

การสื่อสาร 10 คะแนน ศ 2.1.3 / 2.1.7 / 2.2.4 คะแนนเต็ม 20 คะแนน

ศ 2.1.6 / 2.2.5 สภาพจริง 30 คะแนน ศ 2.1.8 / 2.2.1 / 2.2.2 / 2.2.3

ปฏิบัติ 30 คะแนน ศ 2.1.4 / 2.1.5 แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน ศ 2.1.1 / 2.2.2

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน

การทดสอบ รายละเอียดการวัดและประเมินผล

ระหว่างเรียน 80 คะแนน

1. การประเมินจากการสื่อสารส่วนบุคคล (10 คะแนน)

ครูสังเกตและบันทึกพฤติกรรมของนักเรียนตามรูปแบบการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน

มีอุปกรณ์และเอกสารประกอบการเรียน........................................ 5 คะแนน มีความรับผิดชอบในการเรียน....................................................... 3 คะแนน

มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาดนตรี............................................................ 2 คะแนน

2. การประเมินจากการปฏิบัติ (30 คะแนน) บรรเลงบทเพลง 1 บทเพลง นักเรียนบรรเลง(เดี่ยว)บทเพลงตามท่ีก าหนดให้

เกณฑ์การให้คะแนน บทเพลงตรงตามท านอง ถูกต้องแม่นย า.......................................... 10 คะแนน บรรเลงบทเพลงตามจังหวะของท านองเพลง................................. 10 คะแนน บรรเลงบทเพลงได้ไพเราะน่าฟังตามอารมณ์เพลง......................... 10 คะแนน

3. การประเมินจากการวัดสภาพจริง (30 คะแนน)

การสอบร้องเพลง (20 คะแนน) นักเรียนร้องเพลง(เดี่ยว)ที่ครูก าหนดบทเพลง โดยร้อง 1 บทเพลง

เกณฑ์การให้คะแนน ความถูกต้องของเนื้อร้องในบทเพลง .................................................. 10 คะแนน ความไพเราะของบทเพลงและถ่วงท านองที่ร้อง.................................. 5 คะแนน ความต่อเนื่องและจังหวะของบทเพลง................................................. 5 คะแนน

การทดสอบอ่าน คิดวิเคราะห์ เขียนสื่อความ (5 คะแนน) ประเมินจากการสอบอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนสื่อความ จากบทความที่ครูก าหนด พร้อมเขียนความคิดเห็นโดย

สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม

Page 27: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

เกณฑ์การให้คะแนน การแสดงความคิดเห็นในเชิงคุณธรรม........................................... 3 คะแนน พ้ืนฐานการเรียน (ตามกลุ่มดนตรี)................................................ 2 คะแนน

การสอบทฤษฎี (5 คะแนน) 1) ประเภทของเครื่องดนตรีสากล 2) ประเภทของวงดนตรีสากล 3) ประเภทของเครื่องดนตรีไทย 4) ประเภทของวงดนตรีไทย 5) ร าวงมาตรฐาน 6) ศัพท์สังคีต

เกณฑ์การให้คะแนน การทดสอบตัวเลือก................................................................... 5 คะแนน

4. การประเมินจากการแฟ้มสะสมงาน (10 คะแนน) นักเรียนน าเสนอรูปแบบของการวาดภาพเหมือนเครื่องดนตรีที่เลือกพร้อมทั้งบอกชื่อของส่วนประกอบเครื่องดนตรี

ตามหัวข้อที่ครูก าหนดให้ เกณฑ์การให้คะแนน

ความถูกต้องของชิ้นงานที่ครูก าหนด............................................. 5 คะแนน ความสวยงามความคิดสร้างสรรค์.................................................. 3 คะแนน ความสะอาด ................................................................................. 2 คะแนน

5. สอบปลายภาค 20 คะแนน

แสดงดนตรี โดยบรรเลงบทเพลงตามที่ครูก าหนดลักษณะรวมวง (20 คะแนน) เกณฑ์การให้คะแนน

- บรรเลงตามจังหวะ / ตัวโน้ต ถูกต้องและแม่นย า........................ 10 คะแนน - บุคลิกภาพของผู้สอบ.............................................................. 5 คะแนน - มารยาทในการฟัง และการรับชมการแสดง................................ 5 คะแนน

หัวข้อเนื้อหาวิชา 1. ทฤษฏีดนตรีไทย 2. ปฏิบัติเครื่องดนตรีไทย 3. นาฏกรรมสยาม

หนังสืออ้างอิง / เอกสารประกอบการสอนและหนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม 1. ดุริยางคศาสตร์ไทย (กรมศิลปากร) 2. นาฏกรรมชาวสยาม (เอนก นาวิกมูล) 3. สารานุกรมศัพท์ดนตรีไทย (ฉบับราชบัณฑิต) 4. การละเล่นของไทย (มนตรี ตราโมท) 5. เว็บไซด์ต่างๆ เช่น www.dontrithai.com

Page 28: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล สาระการเรียนรู้วิชา ศิลปะ วิชา (ดนตรีสากล – กีต้าร์1) รหัส ศ21102 ครูผู้สอน มาสเตอรป์ฐมวัส ธรรมชาติ ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 / 2559 จ านวน 1 คาบ / สัปดาห์ 20 คาบ / ภาคเรียน จ านวน 0.5 หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ........................... ค าอธิบายรายวิชา

การอ่าน เขียน ร้อง โน้ตไทยและสากล การเปรียบเทียบเสียงร้องและเสียงเครื่องดนตรีจากวัฒนธรรมต่างๆ การขับร้องและบรรเลงเครื่องดนตรี บทบาทและอิทธิพลของดนตรี การบ ารุงรักษาเครื่องดนตรี ประเภทของวงดนตรีไทย วงดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมต่าง ๆ การวิเคราะห์วิจารณ์อารมณ์เพลงที่แตกต่างกัน การละครในรูปแบบต่างๆ วิธีการวิเคราะห์ วิจารณ์ผลงาน การประยุกต์ใช้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืนๆ โดยใช้กระบวนการสร้า งความรู้ความเข้าใจ สร้างค่านิยม ปฏิบัติทางทัศนศิลป์ วิเคราะห์ สร้างทักษะการปฏิบัติทางดนตรี สร้างความคิดวิจารณญาณ

เพ่ือให้ผู้เรียนมีลักษณะนิสัยด้านศิลปะชื่นชม ร่วมกิจกรรม ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการท างาน รักความเป็นไทย มีชีวิตเพียงพอ และจิตอาสา สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระท่ี 2 ดนตรี มาตรฐานที่ ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรีถ่ายทอด ความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน

1. อ่าน เขียน ร้อง โน้ตไทย และโน้ตสากล 2. เปรียบเทียบเสียงร้องและเสียงของเครื่องดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมที่ต่างกัน 3. ร้องเพลงและใช้เครื่องดนตรีบรรเลงประกอบ การร้องเพลงด้วยบทเพลงที่หลาก หลายรูปแบบ 4. จัดประเภทของวงดนตรีไทยและวงดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมต่าง ๆ 5. แสดงความคิดเห็นที่มีต่ออารมณ์ของบทเพลงที่มีความเร็วของจังหวะ และความดัง-เบา แตกต่างกัน 6. เปรียบเทียบอารมณ์ ความรู้สึก ในการฟังดนตรีแตล่ะประเภท 7. น าเสนอตวัอย่างเพลงที่ตนเองชืน่ชอบ และอภิปรายลักษณะเดน่ที่ท าให้งานนั้นน่าชืน่ชม 8. ใช้เกณฑ์ส าหรับประเมินคุณภาพงานดนตรหีรือเพลงที่ฟัง 9. ใช้และบ ารุงรักษาเครื่องดนตรีอย่างระมัดระวังและรบัผิดชอบ

มาตรฐานที่ ศ 2.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของดนตรีที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล

1. อธิบายบทบาทความสัมพันธ์และอิทธิพลของดนตรีที่มีต่อสังคมไทย 2. ระบุความหลากหลายขององค์ประกอบดนตรีในวัฒนธรรมต่างกัน

Page 29: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ (ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดที่ (ปลายภาค)

การสื่อสาร 10 คะแนน ศ 2.1.4 / 2.1.5 / 2.1.7 คะแนนเต็ม 20 คะแนน

ศ 2.1.1 / 2.1.3 / 2.1.3 สภาพจริง 30 คะแนน ศ 2.1.8 / 2.2.1 / 2.2.2

ปฏิบัติ 30 คะแนน ศ 2.1.1 / 2.1.4 / 2.1.5 / 2.1.9

แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน ศ 2.1.6 / 2.1.7 / 2.2.1 / 2.2.2

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน

การทดสอบ รายละเอียดการวัดและประเมินผล

ระหว่างเรียน 80 คะแนน

1. การประเมินจากการสื่อสารส่วนบุคคล (10 คะแนน) ครูสังเกตและบันทึกพฤติกรรมของนักเรียนตามรูปแบบการประเมิน

เกณฑ์การให้คะแนน มีอุปกรณ์และเอกสารประกอบการเรียน........................................ 5 คะแนน มีความรับผิดชอบในการเรียน....................................................... 3 คะแนน

มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาดนตรี.......................................................... .. 2 คะแนน

2. การประเมินจากการปฏิบัติ (30 คะแนน)

บรรเลงบทเพลง 3 บทเพลง นักเรียนบรรเลงบทเพลงตามที่ก าหนดให้ เกณฑ์การให้คะแนน

บทเพลงตรงตามจังหวะ-ท านอง ถูกต้องแม่นย า............................. 20 คะแนน บรรเลงบทเพลงตามเครื่องหมายและอารมณ์เพลง......................... 10 คะแนน

3. การประเมินจากการวัดสภาพจริง (30 คะแนน)

การสอบบรรเลงเพลง (20 คะแนน) นักเรียนเลือกบทเพลง หรือครูก าหนดบทเพลง โดยบรรเลง 1 บทเพลง

เกณฑ์การให้คะแนน ความถูกต้องในโน้ตและจังหวะ ....................................................... 10 คะแนน เทคนิคการบรรเลงตามรูปแบบของบทเพลงที่บรรเลง......................... 5 คะแนน ความต่อเนื่องในการบรรเลงและทักษะการอ่านโน้ต.. ......................... 5 คะแนน

การทดสอบอ่าน คิดวิเคราะห์ เขียนสื่อความ (5 คะแนน) ประเมินจากการสอบอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนสื่อความ จากบทความที่ครูก าหนด พร้อมเขียนความคิดเห็นโดย

สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม เกณฑ์การให้คะแนน

การแสดงความคิดเห็นในเชิงคุณธรรม........................................... 3 คะแนน พ้ืนฐานการเรียน (ตามกลุ่มดนตรี)................................................ 2 คะแนน

Page 30: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

การสอบทฤษฎี (5 คะแนน) 7) ประเภทของเครื่องดนตรีสากล 8) ประเภทของวงดนตรีสากล 9) ประเภทของเครื่องดนตรีไทย 10) ประเภทของวงดนตรีไทย 11) ร าวงมาตรฐาน 12) ศัพท์สังคีต

เกณฑ์การให้คะแนน การทดสอบตัวเลือก................................................................... 5 คะแนน

4. การประเมินจากการแฟ้มสะสมงาน (10 คะแนน)

นักเรียนน าเสนอรูปแบบโปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ ตามหัวข้อที่ครูก าหนดให้ เกณฑ์การให้คะแนน

เนื้อหาข้อมูล / องค์ประกอบหลัก............................................. 5 คะแนน ความรับผิดชอบ / รูปแบบ....................................................... 3 คะแนน ตรงเวลา ................................................................................ 2 คะแนน 5. สอบปลายภาค 20 คะแนน

แสดงดนตรี โดยบรรเลงบทเพลงตามที่ครูก าหนด (20 คะแนน) เกณฑ์การให้คะแนน

บรรเลงตามจังหวะ / ตัวโน้ต ถูกต้องและแม่นย า........................ 10 คะแนน บุคลิกภาพของผู้สอบ.............................................................. 5 คะแนน มารยาทในการฟัง และการรับชมการแสดง................................ 5 คะแนน

หนังสืออ้างอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม 1. เอกสารประกอบการเรียนวิชาดนตรีสากล(กีต้าร์)ชั้น ม.1 2. หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม เช่น นิตยสาร Guitar Magazine, Music time, Overdrive, Note and

chord หรือหนังสือดนตรีอื่น ๆ ตามความเหมาะสม 3. Web site ต่างๆ

Page 31: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล สาระการเรียนรู้ ศิลปะ วิชา ดนตรีสากล (เปียโน 3) รหัส ศ21102 ครูผู้สอน มาสเตอร์เลิศศักดิ์ รักสุจริต ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 / 2559 จ านวน 1 คาบ / สัปดาห์ 20 คาบ / ภาคเรียน จ านวน 0.5 หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ....................................... ค าอธิบายรายวิชา

การอาน เขียน รอง โนตไทยและสากล การเปรียบเทียบเสียงรองและเสียงเครื่องดนตรีจากวัฒนธรรมตางๆ การขับรองและบรรเลงเครื่องดนตรี บทบาทและอิทธิพลของดนตรี การบ ารุงรักษาเครื่องดนตรี ประเภทของวงดนตรีไทย วงดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมตาง ๆ การวิเคราะห์วิจารณ์อารมณเพลงที่แตกตางกัน การละครในรูปแบบต่างๆ วิธีการวิเคราะห์ วิจารณ์ผลงาน การประยุกต์ใช้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืนๆ โดยใช้กระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจ สร้างค่านิยม ปฏิบัติทางทัศนศิลป์ วิเคราะห์ สร้างทักษะการปฏิบัติทางดนตรี สร้างความคิดวิจารณญาณ เพ่ือให้ผู้เรียนมีลักษณะนิสัยด้านศิลปะชื่นชม ร่วมกิจกรรม ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการท างาน รักความเป็นไทย มีชีวิตเพียงพอ และจิตอาสา สาระ / มาตรฐาน / ตัวชี้วัด สาระดนตรี มาตรฐานที่ ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรีถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน ตัวช้ีวัดที่

1. อ่าน เขียน ร้องโน้ตไทยและสากล 2. เปรียบเทียบเสียงร้องและเสียงของเครื่องดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมที่ต่างกัน 3. ร้องเพลงและใช้เครื่องดนตรีบรรเลงประกอบการร้องเพลงด้วยบทเพลงที่หลากหลายรูปแบบ 4. จัดประเภทของวงดนตรีไทยและวงดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมต่าง ๆ 5. แสดงความคิดเห็นที่มีต่ออารมณ์ของบทเพลงที่มีความเร็วของจังหวะและความดัง-เบา แตกต่างกัน 6. เปรียบเทียบอารมณ์ ความรู้สึกในการฟังดนตรีแต่ละประเภท 7. น าเสนอตัวอย่างเพลงที่ตนแงชื่นชอบและอภิปรายลักษณะเด่นที่ท าให้งานนั้นน่าชื่นชม 8. ใช้เกณฑ์ส าหรับประเมินคุณภาพงานดนตรีหรือเพลงที่ฟัง 9. ใช้และบ ารุงรักษาเครื่องดนตรีอย่างระมัดระวังและรับผิดชอบ

มาตรฐานที่ ศ 2.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของดนตรีที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล ตัวช้ีวัดที่

1. อธิบายบทบาทความสัมพันธ์และอิทธิพลของดนตรีที่มีต่อสังคมไทย 2. ระบุความหลากหลายขององค์ประกอบดนตรีในวัฒนธรรมต่างกัน

Page 32: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ (ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค ตัวช้ีวัดที่ (ปลายภาค)

การสื่อสาร 10 คะแนน ศ 2.1.1 ศ 2.1.2 ศ 2.1.4 คะแนนเต็ม 20 คะแนน

ศ 2.1.3 ศ 2.1.5 ศ 2.1.6 ศ 2.1.8

สภาพจริง 30 คะแนน ศ 2.1.2 ศ 2.1.3 ศ 2.1.5 ศ 2.1.6 ศ 2.1.7

ปฏิบัติ 30 คะแนน ศ 2.1.1 ศ 2.1.3 ศ 2.1.5 ศ 2.1.6 ศ 2.1.8 ศ 2.1.9

แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน ศ 2.2.1 ศ 2.2.2

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน

หัวข้อเนื้อหาวิชา - F Major Scale / Chromatic Scale - Chord Progression / Five Finger Exercises - Sight reading - บทเพลงเลือกบรรเลง และบทเพลงในยุคบาโรค (Minuet in G) - ทฤษฎีดนตรี รายละเอียดการวัดและประเมินผล (พร้อมเกณฑ์การให้คะแนน) ระหว่างเรียน 80 คะแนน

1. การประเมินจากการสื่อสารส่วนบุคคล (10 คะแนน)

ครูสังเกตและบันทึกพฤติกรรมของนักเรียนตามรูปแบบการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน

o การสอบปากเปล่า (ถาม/ตอบ) 5 คะแนน o ความสนใจระหว่างเรียน 3 คะแนน o มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาดนตรี 2 คะแนน

2. การประเมินจากการปฏิบัติ (30 คะแนน)

การบรรเลงเดี่ยว ตามบทเพลงที่ก าหนดให้ )โดยแบ่งการเก็บคะแนนออกเป็น 3 ครั้งๆ ละ 10 คะแนน( เกณฑ์การให้คะแนน

o บรรเลงตามจังหวะ / ท านอง ถูกต้องและแม่นย า 5 คะแนน o มารยาทในการฟัง และการรับชมการแสดง 3 คะแนน o ความไพเราะของบทเพลง 2 คะแนน 3. การประเมินจากการวัดสภาพจริง (30 คะแนน)

3.1 ความส าเร็จจากการปฎิบัติ (20 คะแนน) การบรรเลงเดี่ยว ตามบทเพลงที่ก าหนดให้ (โดยแบ่งการเก็บคะแนนออกเป็น 2 ครั้งๆ ละ 10 คะแนน)

เกณฑ์การให้คะแนน o บรรเลงตามจังหวะ / ท านอง ถูกต้องและแม่นย า 5 คะแนน o มารยาทในการฟัง และการรับชมการแสดง 3 คะแนน o ความไพเราะของบทเพลง 2 คะแนน

Page 33: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

3.2 การทดสอบอ่าน คิดวิเคราะห์ เขียนสื่อความ (5 คะแนน) ประเมินจากการสอบข้อเขียน โดยสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม

เกณฑ์การให้คะแนน o การแสดงความคิดเห็นในเชิงคุณธรรม 3 คะแนน o พ้ืนฐานการเรียน (ตามกลุ่มดนตรี) 2 คะแนน 3.3 การสอบภาคทฤษฎี (5 คะแนน) ประเมินการสอบเนื้อหาทฤษฎีดนตรี (ไทย-สากล) – นาฏศิลป์ ตามแนวหลักสูตรแกนกลางฯ เป็นข้อสอบปรนัย

4 ตัวเลือกจ านวน 15 ข้อ เกณฑ์การให้คะแนน o การทดสอบตัวเลือก 5 คะแนน

4. การประเมินจากการแฟ้มสะสมงาน (10 คะแนน)

งานเขียนบทความ เรื่อง “ดนตรีกับข้าพเจ้า” เกณฑ์การให้คะแนน o เนื้อหาข้อมูล / องค์ประกอบหลัก 5 คะแนน o ความรับผิดชอบ / รูปแบบ 3 คะแนน o ตรงเวลา 2 คะแนน

5. การสอบปลายภาค (20 คะแนน)

การบรรเลงเดี่ยวเปียโน ตามบทเพลงที่ก าหนดไว้ในหลักสูตร (20 คะแนน) เกณฑ์การให้คะแนน

o บรรเลงตามจังหวะ / ท านอง ถูกต้องและแม่นย า 10 คะแนน o มารยาทในการฟัง และการรับชมการแสดง 5 คะแนน o ความไพเราะของบทเพลง 5 คะแนน

หนังสืออ้างอิง / เอกสารประกอบการสอนและหนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม 1. เอกสารประกอบการเรียนวิชาดนตรีสากล (เปียโน 3) 2. หนังสือแก่นทฤษฎีดนตรีสากล )ศ.ดร.ณัชชา พันธุ์เจริญ( 3. ดนตรีดีๆไม่มีกระได )บัณฑิต อ้ึงรังษี( 4. เว็บไซด์เกี่ยวกับเปียโน เช่น www.pianothailand.com, www.sompongwongdee.com,

www.notepiano.net

Page 34: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

Course Outline and Evaluation and Assessment

Subject: Computer Code. ง21102 Instructors: Master Noppadon Sangthong Class Level: Secondary 1 Semester 2 Academic year 2016 2 periods / week 40 periods / semester 1 units of learning

Basic Subject Intensive Subject Others...............

Course Description: This course introduces students to learn the world of computers and its usage. They will develop

a good knowledge base of computer history, vocabulary, computer basic and IT that make up being computer literate. They will also be given time to work on the computer thus getting practical hands with Word Processor to design projects and spreadsheets with Excel used for storing data and calculations. They can use Internet Technology comfortably and gain knowledge on computer ethics and can understand the working methods to help themselves. They are taught skills in characteristics and habit of work that show enthusiasm, punctuality, economy, care for safety, cleanliness and carefulness. Studying and using the information technology process in searching the data of interest and sources of data around them. They know and understand about occupations as well as have knowledge, capacity and morality related to occupations. Students can work on individual projects plus assignments. Much emphasis will also be laid on team work and group interaction. A lot of emphasis will be given to application of the lesson learnt, student innovativeness and creativity. The lessons will be taught to help students develop new and unique ways of presenting their ideas, skills and creativity. A positive student attitude towards learning and interaction with peers will be inculcated so as to make the learners be better citizens of the school and the nation. The Learning Standard:

Strand Standard Strand 1: Living and Family Understanding of concept of work; endowment with

creativity and skills for various aspects and work processes, management, teamwork, investigation for seeking knowledge, morality, diligence, and awareness of the need to economise on the use of energy and the environment for one’s life and for family

Strand 3: Information and Communication Technology

Understanding, appreciation, and efficient, effective and ethical use of information technology processes in searching for data, communicating, problem–solving, working and livelihood

Page 35: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

Indicators: (Write the details in items) O1.1.1 Analyse stages of work as required by the work process. O1.1.2 Apply group processes in working with sacrifice.

O1.1.3 Make decisions with proper reasons in solving work problems. O3.1.1 Explain principles of function, roles and benefits of a computer.

O3.1.2 Discuss main characteristics and effects of information technologies. O3.1.3 Process data so as to serve as information.

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final examination Indicators

Communication...10....marks O.1.1 (2,3) O.3.1 (1,2)

20 Marks

O.3.1 (1,2,3) Authentic....30.......marks O.1.1 (1,2,3)

O.3.1 (1,2,3) Performance test.......30....marks O.1.1 (1,2,3) O.3.1 (1,2,3)

Portfolio ...10.........marks O.1.1 (3) O.3.1 (1,2,3)

Total …100…….. marks

Assessment 1. Performance Test

Topic / subject matter:

Word Processing - Get start with Word Processing

- Document Formatting - Microsoft Word Tables - Equations

- Word Options Spreadsheets with Excel

- Worksheets Management 2. Final Examination Topic / subject matter:

1. Computing Basics - Computer Components - Basic Computer Principles -Computers in the future 2. Information Technology - History of IT - Effect and Ethical of IT

Page 36: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

3. Basic Data Processing - Definitions of Data and Information - Data Processing - Information Management - Information Technology Management 4. Word Processing - Get start with Word Processing

- Document Formatting - Microsoft Word Tables

- Equations - Word Options

5. Spreadsheets with Excel - Formulas References: Topic / subject matter:

- My world of Computers Secondary1; Orient BlackSwan -www.homeandlearn.co.uk -www.comptechdoc.org

Page 37: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

Course Outline and Evaluation and Assessment Subject : Technology Code. ง21102 Instructor : Master Chansinp Ninsai Class Level Secondary 1 Semester : 2 Academic year : 2016 2 periods /week 40 periods/semester 1 units of learning Basic Subject Intensive Subject Others................... Course Description:

Students will study about the introduction to technology such as: The mechanisms and fundamentals of electricity. They will be required to produce energy safe and environment friendly projects that would be suitable for our comfortable living nowadays. They will develop several models to demonstrate their understanding of the principles of electrical and mechanical system by using a simple model combining electrical circuits and a mechanical system. They will find causes for problems, analyze, plan, and find solution to problems and improve the procedure of occupation, positive attitude and important of occupation nowadays and understand methods to help themselves. They know and understand about occupations as well as have knowledge, capacity and morality related to occupations. The students are taught about having skills in characteristics and habits of work that show, enthusiasm, punctuality, care for safety and carefulness.

Moreover, they will work and solve the problems both individually and in groups. They will learn to share and perform one’s duty successfully. They will be taught to be responsible regarding classroom rules all the time. The Learning Standard: 1.1, 1.4

Strand Standard

Strand1: Living and Family Life

Understanding of concept of work; endowment with creativity and skills for various aspects and work processes, management, teamwork, investigation for seeking knowledge, morality, diligence, and awareness of the need to economise on the use of energy and the environment for one’s life and for family

Strand4: Occupation Understanding and acquisition of necessary skills and experiences; proper perception of future career; technological application for occupational development; endowment with morality and favourable attitude towards occupations

Page 38: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

Indicator O1.1.1 Analyse stages of work as required by the work process. O1.1.2 Apply group processes in working with sacrifice. O1.1.3 Make decisions with proper reasons in solving work problems. O4.1.1 Explain the guidelines for choosing occupations. O4.1.2 Have favourable attitude towards livelihood. O4.1.3 Recognise the importance of generating occupations.

Evaluation and Assessment

Assessment 1. Performance Assessment Topic / subject matter:

Function of mechanism, ratio of gear, speed and torque, electric circuits, applied circuits, and projects. 2. Final Examination Topic / subject matter:

Function of mechanism, ratio of gear, speed and torque, fundamental of electricity, electric circuits, electrical appliances and energy, circuit symbols and applied circuits, general knowledge.

References: Chapman,Stephen J., Electric Machinery Fundamentals , Mc Graw-Hill,Inc.,1985. Ned Mohan,Tore M. Undel And William P. Robbins, Power Electronics, EIectrical Engineering. John Wiley & Sons,Inc.,2003.http://www.eia.doe.gov/kids/index.cfm http://www.sciencemadesimple.com/static.html

During the course Indicators Final

examination Indicators

Communication 10 marks

O1.1.1, O1.1.2, O1.1.3 O4.1.1, O4.1.2, O4.1.3

20 marks

O1.1.3 Authentic 25 marks

Subject Knowledge 5 marks O1.1.1, O1.1.2, O1.1.3

Performance test 30 marks O1.1.1, O1.1.2, O1.1.3

Portfolio 10 marks O1.1.1, O1.1.2, O1.1.3 O4.1.1, O4.1.2, O4.1.3

Total : 100 marks

Page 39: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

Course Outline and Evaluation and Assessment

Subject : English IE.1:( Grammar ) Code. อ21102 Instructors : Ms Tipawan Dumruk Class Level : Secondary 1 Semester 2 Academic year 2016 3 periods /week 60 periods/semester 2 units of learning Basic Subject Intensive Subject Others................... Course Description: The course emphasizes usage of formal English grammar in written work and in speaking. Topics covered in the course will include: simple sentences, verb tenses and sentence structures, paragraph writing, main linking and main helping verbs, giving students effective communication with other people in the English language. Students will learn examples of Past, Present and Future tenses, the common mistakes made when using these tenses, and their correct usage. Students will also learn the word order of a sentence structure and how to turn a sentence into a negative or a question. Know and understand how to use tenses and develop their abilities in using Basic English grammar. Also, they can interpret the foreign language into the simple language in order to communicate in various situations and use the basic sentences to give the information in their daily lives. By using the language process to seek and gather learning cultures and language of native speakers and applying student-centered learning, such as self-study, pair-work, group discussion, brainstorming, and questioning techniques in teaching and learning activities by focusing on communicative writing, critical thinking and problem solution, appropriately to persons’ interest, traditions, beliefs and situations. Motivate the students’ honest, responsibility, discipline, attempt, and inquisitive in learning. Have precise work, self-confidence, creativity, loyalty to the school as well as having positive attitude learning English. The Learning Standard:

Strand Standard Strand 1 : Language for communication F1.3: Ability to present data, information, concepts

and views about various matters through speaking and writing.

Strand 2 : Language and Culture F2.2: Appreciation of similarities and differences between language and culture of native and Thai speakers, and capacity for accurate and appropriate use of language.

Page 40: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

Strand 3 : Language and Relationship with Other Learning Areas

F3.1: Usage of foreign languages to link knowledge with other learning areas, as foundation for further development and to seek knowledge and widen one's world view.

Strand 4 : Language and Relationship with Community and the World

F4.1: Ability to use foreign languages in various situations in school, classroom, community and society.

Indicators : (Write the details in items) Standard 1.3 Indicator 1 Speak and write to describe themselves, their daily routines, experiences

and the environment around them. Standard 2.2 Indicator 1 Tell differences and similarities between pronunciation of various kinds of

sentences, use of punctuation marks and word order in accordance with the structures of sentences in foreign language and Thai language.

Standard 3.1 Indicator 1 Search for, collect and summarise the data/ facts related to other learning areas from learning sources,and present them through writing.

Standard 4.1 Indicator 1 Use language for communication in real situations/ simulated situations in the classroom and in school.

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final

examination Indicators

Communication 10 marks Standard 1.3 Indicator 1 Standard 4.1 Indicator 1

Final test 30 marks

Standard 1.3 Indicator 1 Standard 2.2 Indicator 1 Standard 4.1 Indicator 1

Authentic 20 marks Standard 1.3 Indicator 1

Standard 2.2 Indicator 1 Standard 3.1 Indicator 1 Standard 4.1 Indicator 1

Performance test 30 marks

Standard 1.3 Indicator 1 Standard 4.1 Indicator 1

Portfolio 10 marks Standard 3.1 Indicator 1

Total 100 marks

Page 41: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

Remarks : The course outline of English writing is based on that of the Grammar course

Assessment 1. Performance Assessment Topic / Tenses

No. Behaviour to be measured

1 Present Simple, Present Continuous, Future Simple 2. Final Examination Topic / Tenses

No. Behaviour to be measured 1 Present Simple, Present Continuous, Past Simple, Present Perfect

References : My World of English The Good Grammar Book Intermediate English Grammar Understand and Using English Grammar Fundamentals of English Grammar English Grammar in Use How English Works The Teacher’s Grammar of English Grammar & Punctuation

The Only Grammar Book You’ll Ever Need Sherlock Holmes and the Duke's Son Grammar Workbook Oxford Practice Grammar Grammar Traps Internet resources English for Communication Newspaper/ Audio-visual/ Visual aids The Write Right Guide

Page 42: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

Course Outline and Evaluation and Assessment Subject : Mathematics IE. Code ค21202 Instructors : Ms.Wipa Pinnarat Mr.Pisit Krittayanawat Class Level: Secondary 1 Semester 2/Academic year 2016 2 periods/week 40 periods/Semester 1 units of learning Basic Subject Intensive Subject Others..................... Course Description :

This course covers to the topics “Basic Algebra”, “Algebraic Equation”, “Properties of Triangles” and “Properties of quadrilateral”. Basically, this course deals with 4 basic operations on algebraic expressions, solving for the unknown in an equation, finding the measure of the unknown angle using the different properties of triangles and quadrilaterals and the last but not the least, applying the concept to each topic in word problems. In this course, it also introduces how these topics are significant in our daily living and how the knowledge of Mathematics is involved.

Students will be provided an opportunity to learn the topics in different approaches and strategies where their skills in mathematics, critical thinking ability and creativity will be developed too.

Most importantly, this course provides information on how to keep life balance, how to become a good and wise individual by applying the concept of Mathematics, encourage students to explore the world, live a life in positive impact toward others and make a contribution in as much as possible to our society just like what many Mathematicians did.

Contents: 1. Basic Algebra 2. Algebraic Equations 3. Properties of Triangles 4. Properties of Quadrilaterals

Learning Standards and Indicators:

Strand Standard

Strand 4 : Basic Algebra Sub-Strand : 1. Algebraic Expression 2. Evaluating 3. Adding, Subtracting and Multiplying in algebraic expressions

Standard M4.1: Understanding and ability to analyse patterns, relations and functions Standard M4.2: Ability to apply algebraic expressions, equations, inequality, graphs and other mathematical models to represent various situations as well as interpretation and application

Page 43: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

for problem-solving Standard M6.1: Capacity for problem-solving, reasoning; communication and presentation of mathematical concept; linking various bodies of mathematical knowledge and linking mathematics with other disciplines; and attaining ability for creative thinking

Strand 4 : Algebraic Equations Sub-Strand : 1. Solve simple algebraic equations 2. Word problems

Standard M4.2: Ability to apply algebraic expressions, equations, inequality, graphs and other mathematical models to represent various situations as well as interpretation and application for problem-solving Standard M6.1: Capacity for problem-solving, reasoning; communication and presentation of mathematical concept; linking various bodies of mathematical knowledge and linking mathematics with other disciplines; and attaining ability for creative thinking

Strand 3 : Properties of Triangles Sub-Strand : 1. Interior and exterior of a Triangle 2. Types of Triangles 3. Properties of a Triangle

Standard M3.1: Ability to explain and analyse two- dimensional and three- dimensional geometric figures Standard M3.2: Capacity for visualisation, spatial reasoning and application of geometric models for problem-solving

Strand 3 : Properties of Quadrilaterals Sub-Strand : 1. Quadrilaterals 2. Interior and exterior of a Quadrilaterals 3. Types and properties of quadrilaterals

Standard M3.1: Ability to explain and analyse two- dimensional and three- dimensional geometric figures Standard M3.2: Capacity for visualisation, spatial reasoning and application of geometric models for problem-solving

Page 44: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

Indicators (Learning Outcomes): 1. Use the letter to represent numbers 2. Express basic arithmetical processes algebraically. 3. Substitute numbers for letters in formulae and expression 4. Manipulate linear algebraic expression with fractional coefficients 5. Solve simple algebraic equations 6. Construct simple linear equations from given situations and solve these equation. 7. Identify equilateral, isosceles and scalene triangles. 8. Identify acute-angled, right-angled and obtuse-angled triangles. 9. Tell the set of three given angles can form a triangle 10. Find the measure of the unknown angles in a triangle using the property of sum of angles. 11. Find the length of unknown sides in a triangle using the property of length of sides. 12. Identify convex and concave quadrilaterals. 13. Find the unknown angles of a quadrilateral using the properties of angles. 14. Identify trapezium, kite, parallelogram, rectangle, rhombus and square.

Assessment and Evaluation

During the Course Indicators Final Examination

Indicators (Final Examination)

1.Communication 10 marks Indicators 1 – 14 30 Marks Indicators 1 - 14 2.Authentic 20 marks Indicators 1 – 14

3. Mid-Term Examination 30 marks Indicators 1 – 6

4. Portfolio 10 marks Indicators 1 – 14

Total 100 marks

Details of Evaluation and Assessment

1. Mid-term Examination /Performance Assessment

Details: (Indicators 1 – 6) 1. Basic Algebra 1. Use the letter to represent numbers 2. Express basic arithmetical processes algebraically. 3. Substitute numbers for letters in formulae and expression 4. Manipulate linear algebraic expression with fractional coefficients 2. Algebraic Equations 1. Solve simple algebraic equations 2. Construct simple linear equations from given situations and solve these equation

Page 45: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

2. Final Examination Details: (Indicators 1 – 14)

1. Basic Algebra 2. Algebraic Equations

3. Properties of Triangles 4. Properties of Quadrilaterals

References: My Word of Math Secondary 1 Bhardwai, Y.P. “A Glossary of Mathematical Terms” Goyal Brother Prakashan. Yee, L.P. (2006). “New Syllabus”. Shinlee publishers’ pte ltd. http://www.sharpe-math.co.uk/index.php?=main=page&code=quadratics&op=2 Remarks : This course outline may be changed in any suitable case.

Page 46: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

Course Outline and Evaluation and Assessment

Subject: Science Intensive English Code ว21202 Instructors: Ms. Sutraros Loythavorn Class Level : Secondary 1 Semester 2 Academic year 2016 2 periods /week 40 periods/semester 1 units of learning Basic Subject Intensive Subject Others............... Course Description: Understanding about the cell, cell is the basic unit of living things, from cell to organisms: life’s building blocks, inside cells, from cell to tissue, from tissue to organ, from organ to system and organisms. Explain the transport in living things that happen in daily life especially diffusion and osmosis and identify the effect of osmosis take place in living things. Explain the differentiation between photosynthesis and respiration, the process of plants make food, the healthy growth of plants, respiration. As well as the types of reproduction in plants, the structure of flowers, the process of pollination and germination of seeds and asexual reproduction in plants Organize in the class by using base on science processes and inquiry method. So that to the students have got knowledge, understanding, communicate and apply for suitable their daily lives and scientific mind, communicating knowledge that could be applied for useful purposes. Contents: 1. The Cell-A Unit of Life 2. Organisation in Living Things 3. Transport in Living Things 4. Photosynthesis and Respiration 5. Reproduction in Plants

Page 47: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

The Learning Standard and Indicators:

Strand Standard

Strand 1: Living and Family Sub-Strand: 1. The Cell-A Unit of Life 2. Organisation in Living Thing 3. Transport in Living Things 4. Photosynthesis and Respiration

Standard Sc1.1: Understanding basic units of living things; relationship between structures an functions of living things, which are interlinked; investigative process for seeking knowledge; ability to communicate acquired knowledge that could be applied to one’s life and care for living things.

Strand 1: Living and Family Sub-Strand: 5. Reproduction in Plants

Standard Sc1.2 : Understanding of process and importance of genetic transmission; evolution of living things; biodiversity; application of biotechnology affecting humans and the environment; investigative process for seeking knowledge and scientific mind;

Indicators (Learning Outcomes): Standard Sc1.1 1. Observe, compare and explain forms and characteristics of cells of unicellular and multicellular organisms, position and functions of essential components of plant and animal cells. 2. Explain and identify the organs work in particular job to form in organ system and the special function of each system in body of human and from organ system work together and organisms. 3. Experiment and explain groups of cells involved in transportation of water in plants. 4. Experiment and explain processes of passing substances through cells by diffusion and osmosis. 5. Experiment to find some factors essential for photosynthesis of plants, and explain that light, chlorophyll carbon dioxide and water are essential for photosynthesis. 6. Experiment and explain results obtained concerning photosynthesis by plants and importance of the photosynthesis process of plants on living things and the environment. 7. Observe, compare and explain structures of the systems for transportation of water and nutrients in plants, process of respiration both plants and animals, photosynthesis and respiration, and between breathing and cellular respiration. Standard Sc1.2 8. Explain the types of reproduction in plants, the structure of flowers, the process of pollination, parts of a seed and germination of seeds, and the asexual reproduction in plants and apply this knowledge to their daily life.

Page 48: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

Class Level Assessment and Evaluation

During the course Indicators Final examination Indicators

Communication 10 marks Standard 1.1/1-7 Standard 1.2/8

Contents: 30 marks 4. Photosynthesis and Respiration 5. Reproduction in Plants

Standard 1.1/5-7 Standard 1.2/8

Dictation 5 marks Standard 1.1/1-7 Standard 1.2/8

Authentic 15 marks Standard 1.1/1-7 Standard 1.2/8

Performance test 30 marks Contents: 1. The Cell-A Unit of Life 2. Organisation in Living Thing 3. Transport in Living Things

Standard 1.1/1-4

Portfolio 10 marks 1. The Cell-A Unit of Life 5 marks 2. Photosynthesis and Respiration 5 marks

Standard 1.1/1-7 Standard 1.2/8

Total 100 marks

1. Mid-term Test /Performance Assessment

Details 1. The Cell-AUnit of Life (weighting 50%) 1.1 The Microscope 1.2 Unicellular and Multicellular Organisms 1.3 Shape, Size and Function of Cells 1.4 Animal Cells 1.5 Plant Cells 2. Organisation in Living Things (weighting 50%) 2.1 From Cells to Tissue 2.2 Animal Tissues 2.3 Plant Tissues 2.4 From Tissues to Organs

Page 49: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

2.5 From Organs to Organ Systems 2.6 From Organ Systems to Organisms 3. Transport in Living Things (weighting 50%) Diffusion Osmosis Osmosis in Plant and Animal Cells Transport in Unicellular Organisms Transport of Water, Minerals and Food in Plants

2. Final Examination Details 1. Photosynthesis and Respiration (weighting 50%) Photosynthesis Healthy Growth of Plants Respiration Breathing in other Animals Breathing in Plants 2. Reproduction in Plants Reproductive parts of a plant Pollination Fertilization Parts of seed Germination Asexual reproduction in flowering plants References : 1. My world of Science Secondary 1 of St Gabriel’s Foundation 2. Worksheet of Science Secondary 1 3. Visual Aids such as VCD, PowerPoint program

Page 50: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

Course Outline and Evaluation and Assessment

Subject : Social Studies IE. Code ส21202 Instructors : Ms.Rattana Amornratchai Ms.Gauri Joy Class Level : Secondary 1 Semester 2 Academic year 2015

2 Periods /week 40 periods/semester 1 unit of learning Basic Subject Intensive Subject Others............... Course Description: Students will be able to : know, understand and analyze the definition of economic, demand and supply, basic concepts of economic, economic resources, markets, income and wealth, consumer behavior, economic features of Thailand, Next, know and understand the meaning, importance and periods of history and be able to apply to our everyday lives. Moreover, collect the data of the characteristic of the ways of living of the people in Thailand and neighboring countries in Southeast Asia. Understand the factors in influencing the settlements of the population in Southeast Asia. Finally, know the origin of Thailand that the students are proud of Thai history as Thai people. The Learning Standard:

Strand Standard

Strand 3 : Economics

So.3.1 : Understanding and capability of managing resources for production and consumption; efficiency and cost – effective utilization of limited resources available; and understanding principle of Sufficiency Economy for leading a life of equilibrium Standard So.3.2 : Understand of various economics systems and institutions, economic relations and necessity for economic cooperation in the world community

Strand 4 : History

So. 4.1 : Understanding of the meaning and significance of historical times and periods; and ability to avail of historical methodology for systematic analysis of various events So. 4.2 : Understanding of development of mankind from the past to the present; realizing the importance of events, and ability to analyze their effects

Page 51: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

Strand Standard

So. 4.3 : Knowledge of historical development of Thailand as a nation and culture; Thai wisdom; cherishing, pride in and preservation of Thai-ness

Indicators: (Write the details in items) So.3.1/1: Explain the meaning and importance of economics. So.3.1/2: Analyze the values and consuming behavior of people in society affecting the economies of communities and the country. So.3.2 /1: Analyze the roles, functions of economics So.3.2/2: Cite examples of economic dependence and competition in the country. So.3.2/3: Specify the factors influencing determination of demand and supply. So.4.1/1: Analyze the importance of time in studying history. So.4.1/2: Compare the eras used in the various systems for studying history. So.4.1/3: Apply historical methodology for studying historical events. So.4.2/1: .Explain the social, economic and political development of various countries in the Southeast Asian region. So.4.2/2: Specify the importance of importance of origins of civilization in the Southeast Asian region. So.4.3/1: Explain in brief historical development of the Thai territory during the pre-Sukhothai period

Evaluation and Assessment

During the course Indicator Final

examination Indicators

Communication 10 marks So.3.1/1,2 So.3.2/1,2,3 So.4.1/1,2,3 So.4.2/1,2 So.4.3/1

30 marks So.4.1/1,2,3 So.4.2/1,2 So.4.3/1 Authentic 20 marks So.3.1/1,2 So.3.2/1,2,3

So.4.1/1,2,3 So.4.2/1,2 So.4.3/1 Midterm test 30 marks So.3.1/1,2 So.3.2/1,2,3

Portfolio 10 marks So.3.1/1,2 So.3.2/1,2,3

Total …100…….. marks

Page 52: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

Assessment 1. Midterm Test Topic / subject matter: Economics - Unit 1: Introduction to Economics - Unit 2: Basic Concepts of Economics - Unit 3: Consumer behavior - Unit 4: Economic Features of Thailand Listening test 5 marks - Unit 4: Economic Features of Thailand 2. Final Examination Topic / subject matter: History -Unit 1: Historical Period Part 1: Importance and Periods of History Part 2: Comparison of Eras Part 3: Historical Methods -Unit 2: The Ways of Living of the People in Thailand and Southeast Asia Part 1: The History of Humanity in Southeast Asia Part 2: Geographical Factors in Southeast Asia -Unit 3 : The origin of Thailand Reference: -St.Gabriel’s Foundation.2014. Social Studies Textbook: Secondary 1 .India: Orient Black Swan -Worksheet

Page 53: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

Course Outline and Evaluation and Assessment

Subject: English I.E. 2 Reading Code: อ 21202 Instructors: Master Wisit Supamornpan Master Chatwit Iampin Foreign Teacher Class Level: Secondary 1 Semester 2 Academic yearr 2016 4... periods / hour/week … 80..periods / semester......... 3 Units of learning Basic Subject Intensive Subject Others..................................... Course Description: This course is aimed to practice the students’ English in all skills: listening, reading, writing and speaking to communicate effectively and confidently among their classmates, teachers, family and friends. This course is focused on Reading Skills. It will also give the students some ideas to develop the skill of using dictionary and the ability to learn more facts about people’s daily living through different stories. Students are also able to read, write, speak and share their ideas and opinions among their classmates. The students will also use the language skills to tell the meaning of words, sentences, phrases, paragraphs, stories, dialogues, notices, advertisements, personal information, and follow directions. Understand topic sentences and determine the main idea and supporting details of each story. It also develops students’ knowledge, skills, abilities, pronunciation, vocabulary, and grammar. It encourages students to read and pronounce the words or the sentences clearly and correctly. Moreover, they should make their own summary, draw conclusions and answer the questions or give what is being asked after each lesson/unit by writing and speaking the words, phrases, sentences and statements. Additionally, the students participate in foreign language activities including the festivals and cultures.Choose and apply different technologies; skills in application of technological processes for development of oneself and society in regard to learning, communication, working, and problem-solving through constructive, proper, appropriate and ethical means. The students should have good attitude in English language. They will fully realise their commitment and responsibilities as Thai citizens as well as members of the world community.

Page 54: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

The Learning Standard:

Strand(s): Standard(s) :

Strand: 1 Language for Communication

Standard F1.1: Understanding of and capacity to interpret what has been heard and read from various types of media, and ability to express opinions with proper reasoning

Standard F1.2: Endowment with language communication skills for exchange of data and information; efficient expression of feelings and opinions

Standard F1.3: Ability to present data, information, concepts and views about various matters through speaking and writing

Strand: 2 Language and Culture

Standard F2.1: Appreciation of the relationship between language and culture of native speakers and capacity for use of language appropriate to occasions and places.

Standard F2.2: Appreciation of similarities and differences between language and culture of native and Thai speakers, and capacity for accurate and appropriate use of language

Strand: 3 Language and Relationship with Other Learning Areas

Standard F3.1: Usage of foreign to link knowledge with other learning areas, as foundation for further development and to seek knowledge and widen one’s world view

Strand: 4 Language and Relationship with – Community and the World

Standard F4.1: Ability to use foreign languages in various situations in school, community and society

Standard F4.2: Usage of foreign languages as basic tools for further education, livelihood and exchange of learning with the world community

Page 55: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

Indicators : (Write the details in items) 1.1.1 Act in compliance with orders requests, instructions and simple explanations heard

and read. 1.1.2 Accurately read aloud texts, tales and short poems by observing the principles of

reading. 1.1.3 Choose/specify the words, phrases, sentences and texts related to non-text

information read. 1.1.4 Specify the topic and main idea and answer questions from listening to and reading

dialogues, tales and short stories. 1.2.4 Speak and write appropriately to ask for and give data and express opinions about

what has been heard or read. 1.2.5 Speak and write to express their own feelings and opinions about various matters

around them, various activities, as well as provide brief justifications appropriately. 1.3.1 Speak and write to describe themselves, their daily routines, experiences and the

environment around them. 1.3.2 Speak / write to summarise the main idea / theme identified from analysis of matters

/ incidents of interest to society. 2.1.1 Use language, tone of voice, gestures and manners politely and appropriately by

observing social manners and culture of native speakers. 2.1.2 Describe the festivals, important days, lifestyles and traditions of native speakers. 2.1.3 Participate in language and cultural activities in accordance with their interests. 2.2.1 Tell differences and similarities between pronunciation of various kinds of sentences,

use of punctuation marks and word order in accordance with the structures of sentences in foreign language and Thai language.

2.2.2 Compare similarities and differences between the festivals, celebrations, important days and lifestyles of native speakers and those of Thais.

3.1.1 Search for, collect and summarise the data/facts related to other learning areas from learning sources, and present them through speaking / writing.

4.1.1 Use language for communication in real situations/simulated situations in the classroom and in school.

4.2.1 Use foreign language in conducting research for knowledge/various data from the media and different learning sources for further education and livelihood.

Page 56: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

Evaluation and Assessment

During the course Indicators Final examination

Indicators (Final examination)

1. Communication 10 marks 1.1.1 , 1.1.2 , 2.1.1 30

Marks

1.1.3 , 1.1.4 2. Mid - Term Test 30 marks 1.1.3 , 1.1.4

3. Authentic 20 marks 1.1.3 , 1.1.4

4. Portfolio 10 marks 1.1.3 , 1.1.4 , 4.2.1

Total 100 marks

Details of Evaluation and Assessment 1. Mid-term Test/Performance Assessment 1) Writing through Reading 2) Reading

Details: 1) Writing through Reading (10 marks) (Master Wisit Supamornpan)

Read the paragraph / passage and complete each blank with the appropriate words from the list and / or write the appropriate answers.

Details: 2.2 Reading: Seen or Unseen passage(s) (20 marks) (M. Wisit & M. Chatwit) A. Seen Passage(s) with 'Technical Reading Skills' from 1.1 'My World of English Book I (Secondary 1) and Various Unseen Reading passages from 'Reading Aloud Book' and other English Language Resources 30 Questions (Master Wisit Supamornpan) 1.2 'Value Education Book I (Secondary 1) & Various Unseen Reading from other English Language Resources 30 Questions (Master Chatwit Iampin) B. Unseen passages with ‘Technical Reading Skills’ from 'Various Resources & Textbooks''

Various Technical reading skills: (2 Ps) --- M. Wisit & (1 P) --- M. Chatwit 1) Predicting Outcomes 2) Visual Stimulus Comprehension 3) Reading Comprehension and 4) Other technical Reading skills Additional Reading & External Reading: (1 P) ---M. Chatwit 1) Reading: Leaflet and Announcement 2) News Report & Weather forecast (1) 3) Value Education (Chapter 9 - 11) Remarks: **The content(s) and the topic(s) can be flexible based on the time and various school activities.**

Page 57: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

2. Authentic Assessment

Details & Criteria Part A: Reading Task(s) or Reading Test (M. Wisit) Type of ‘Reading & Writing Task(s) or Reading Test: Multiple choices / Gap – fillings / Answering the questions and / or Creative Language Artwork (Cards / Brochures / ..... ) Remarks: Check ‘Language Rules’ ~ 'Capitalization', 'Punctuations', 'Word spellings', and 'Grammar Usage' carefully.

Part B: Writing through Reading (Additional Reading) (M. Chatwit) 1) Assignments 2) External Reading: Sherlock Holmes and the Duke's Son Students have to read the information provided and complete each blank with the -appropriate words. 3. Final Examination

Details: Seen & Unseen Reading passages (Master Wisit Supamornpan & Master Chatwit Iampin) ('My World of English Book 1 , Unseen Reading passages and Value Education)

Various Technical reading skills: (2 Ps) --- M. Wisit & (1 P) --- M. Chatwit 30 Questions 1) Predicting Outcomes 2) Visual Stimulus Comprehension 3) Reading Comprehension and 4) Other technical Reading skills Additional Reading & External Reading: (1 P) ---M. Chatwit 30 Questions 1) Printed ads. 2) News Report & Weather forecast (2) 3) Value Education (Chapter 12 - 15) Remarks: **The content(s) and the topic(s) can be flexible based on the time and School activities.**

References : 1. My World of English: Secondary 1 2. Value Education Book I 3. External Reading: ‘Sherlock Holmes and the Duke's Son) 4. Reading Practice: Lower & Upper Secondary Levels 5. Various Reading and Writing resources

Page 58: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล สาระการเรียนรู้วิชา ภาษาไทยเพิ่มเติม รหัส ท๒๑๒๐๒ ครูผู้สอน มาสเตอร์วชิรพงษ์ ศิริพงษ์มงคล ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ / ๒๕๕๙ จ านวน ๒ คาบ / สัปดาห์ ๔๐ คาบ/ภาค จ านวน ๑ หน่วยการเรียน วิชาสาระ พื้นฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ................................ ค าอธิบายรายวิชา

ศึกษาและฝึกปฏิบัติกระบวนการทางภาษา พัฒนาการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูดเรื่องราว การสืบค้นข้อมูลจากสื่อสารสนเทศในรูปแบบต่างๆ เพ่ือสร้างองค์ความรู้ วิเคราะห์ สังเกต ตีความ สรุปความ และประเมินค่าอย่างมีเหตุผล การคิดและแสดงความคิดเห็น อภิปราย โน้มน้าว น าเสนอความรู้ และพูดในโอกาสต่าง ๆ ท่องจ าค าประพันธ์ที่ชอบ การเขียนสะกดค า คัดลายมือ เขียนสื่อสารในรูปแบบต่างๆ เขียนย่อความจากนิทานพ้ืนบ้านและวรรณกรรมท้องถิ่น ส านวนไทย รวมทั้งภูมิปัญญาท้องถิ่น

ใช้กระบวนการทางภาษา สืบเสาะแสวงหาความรู้ พัฒนาการอ่าน การเขียน การฟัง การดู การพูด และการคิด วิเคราะห์ วิจารณ์ สังเคราะห์ ตีความ ประเมินค่า เข้าถึงคุณค่าและความงามทางภาษา เพ่ือให้เกิดทักษะการเรียนรู้ สามาถน าไปประยุกต์ใช้ในการด าเนินชีวิตประจ าวันอย่างภาคภูมิใจ สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ( จ านวน ๑๐ ตัวชี้วัด) สาระท่ี ๑ การอ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ ตัวชี้วัดที่ ๑, ๒ สาระท่ี ๒ การเขียน มาตรฐาน ท ๒.๑ ตัวชี้วัดที่ ๑, ๕, ๘ สาระท่ี ๓ การฟัง การดู และการพูด มาตรฐาน ท ๓.๑ ตัวชี้วัดที่ ๑, ๒ สาระท่ี ๔ หลักการใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ ตัวชี้วัดที่ ๕, ๖ สาระท่ี ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ ตัวช้ีวัดที่ ๑ มาตรฐานที่ ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้ ความคิด เพ่ือน าไปใช้ตัดสินใจ การแก้ไขปัญหาในการด าเนินชีวิต

และมีนิสัยรักการอ่าน ตัวช้ีวัด ๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้องเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน

๒ จับใจความส าคัญจากเรื่องที่อ่าน มาตรฐานที่ ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่างๆ

เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ ตัวช้ีวัด ๑ คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ๕ เขียนย่อความจากเรื่องที่อ่าน ๘ เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าและโครงงาน

Page 59: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

มาตรฐานที่ ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึกในโอกาสต่างๆอย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์

ตัวช้ีวัด ๑ พูดสรุปใจความส าคัญของเรื่องที่ฟังและดู ๒ เล่าเรื่องย่อจากเรื่องที่ฟังและดู

มาตรฐานที่ ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังงานของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษาและรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ ตัวช้ีวัดที่ ๕ แต่งบทร้อยกรอง ๖ จ าแนกและใช้ส านวนที่เป็นค าพังเพยและสุภาษิต มาตรฐานที่ ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและน ามา ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ตัวช้ีวัดที่ ๑ สรุปเนือ้หาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหว่างภาค

ตัวชี้วัดที่

(ระหว่างภาค)

คะแนนปลายภาค

ตัวชี้วัดที่ (ปลายภาค)

๑. การสื่อสาร ๑๐ คะแนน ท ๑.๑ ตัวชี้วัดที่ ๑, ๒

คะแนนเต็ม ๓๐ คะแนน

ท ๑.๑ ตัวชี้วัดที่ ๑, ๒ ท ๒.๑ ตัวชี้วัดที่ ๑, ๕, ๘ ท ๔.๑ ตัวชีว้ัดที่ ๖

๒. สภาพจริง ๒๐ คะแนน ท ๓.๑ ตัวชี้วัดที่ ๑, ๒ ๓. การทดสอบระหว่างเรียน ๑๐ คะแนน

ท ๑.๑ ตัวชี้วัดที่ ๑, ๒

๔. กลางภาค/ปฏิบัติ ๒๐ คะแนน ท ๑.๑ ตัวชี้วัดที่ ๑ ท ๓.๑ ตัวชี้วัดที่ ๑, ๒

๕. แฟ้มสะสมงาน ๑๐ คะแนน ท ๑.๑ ตัวชี้วัดที่ ๑, ๒, ท ๒.๑ ตัวชี้วัดที่ ๑, ๕, ๘ ท ๓.๑ ตัวชี้วัดที่ ๑, ๒ ท ๔.๑ ตัวชี้วัดที่ ๕

รวมคะแนนทั้งหมด ๑๐๐ คะแนน

Page 60: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

การสดสอบ

๑. สอบกลางภาค/สอบปฏิบัติ

ปรนัย จ านวน ๔๐ ข้อ และอัตนัย ๒ ข้อ รายละเอียดการสอบ ดังนี้ ปรนัย ๔๐ ข้อ - การอ่านค าในภาษาไทย - การอ่านคิดวิเคราะห์ / จับใจความ - ลักษณะค าประพันธ์ประเภทกาพย์

- หลักการเขียนย่อความ - การเขียนสะกดค า

รายละเอียดการสอบ ข้อสอบแบบปรนัย ๔ ตัวเลือก จ านวน ๖๐ ข้อ มีเนื้อหาดังนี้

- การอ่านจับใจความ / อ่านคิดวิเคราะห์ - นิทานพื้นบ้าน - หลักการเขียนรายงานการศึกษาค้นคว้า - หลักการพูดรายงานการศึกษาค้นคว้า - ส านวนไทย - การเขียนสะกดค า

หนังสืออ้างอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม

- หนังสือเรียนวิวิธภาษา ม.๑ - หนังสือเรียนภาษาไทย ๐๑๑ เสริมทักษะภาษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น บรรเทา กิตติศักดิ์ - คู่มือแสริมทักษะภาษา ท ๒๑๑ กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ - หนังสือหลักภาษาไทย การใช้ภาษาไทย และวรรณคดีไทย ส านักพิมพ์ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับวิชาภาษาไทย ม.๑

๒. สอบปลายภาค

Page 61: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล

สาระการเรียนรู้วิชา หน้าที่พลเมือง รหัส ส 21212 ครูผู้สอน มาสเตอร์นพชัย โยธินะเวคิน ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2/2559 จ านวน 1 คาบ / สัปดาห์ 20 คาบ / ภาคเรียน จ านวน 0.5 หน่วยการเรียน วิชาสาระ พ้ืนฐาน วิชาสาระ เพิ่มเติม อ่ืนๆ................................ ค าอธิบายรายวิชา ศึกษา ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ในการมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ของสังคม การตัดสินใจโดยใช้เหตุผล มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินในกิจกรรมของห้องเรียนและโรงเรียน ตรวจสอบข้อมูลเพ่ือใช้ประกอบการตัดสินใจในกิจกรรมต่าง ๆ ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร อดทน ใฝ่หาความรู้ ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ และยอมรับผลที่เกิดจากการกระท าของตนเอง ยอมรับความหลากหลายทางสังคมวัฒนธรรมในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในเรื่องวิถีชีวิต วัฒนธรรม ศาสนา สิ่งแวดล้อม อยู่ร่วมกันอย่างสันติและพ่ึงพากันและกันในสังคมพหุวัฒนธรรม ด้วยการเคารพซึ่งกันและกัน ไม่แสดงกิริยาและวาจาดูหมิ่นผู้อ่ืน ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน แบ่งปัน มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาความขัดแย้งโดยสันติวิถี ในเรื่องการทะเลาะวิวาท ความคิดเห็นไม่ตรงกัน ด้วยการเจรจาไกล่เกลี่ย การเจรจาต่อรอง การระงับความขัดแย้ง ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร อดทน ใฝ่หาความรู้ ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่และยอมรับผลที่เกิดจากการกระท าของตนเอง โดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการเผชิญสถานการณ์ และกระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ กระบวนการสร้างความตะหนัก กระบวนการสร้างค่านิยมและกระบวนนการสร้างเจตคติ เพ่ือให้ผู้เรียนมีลักษณะที่ดีของคนไทยภาคภูมิใจในความเป็นไทย แสดงออกถึงความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา เทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ เป็นพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครอง อยู่ร่วมกับผู้อ่ืนอย่างสันติ ขจัดความขัดแย้งด้วยสันติวิธีและมีวินัยในตนเอง สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ( จ านวน 3 ตัวช้ีวัด) จุดเน้นที่ 3 ความเป็นพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ตัวช้ีวัด 1.การด าเนินชีวิตตามวิถีประชาธิปไตย 2 การมีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครองในระบอบประชาะปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข จุดเน้นที่ 4 ความปรองดอง สมานฉันท์ ตัวช้ีวัด 1.การอยู่ร่วมกันในสังคมแห่งความหลากหลาย

2.การจัดการความขัดแย้งและสันติวิธี

Page 62: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

จุดเน้นที่ 5 ความมีวินัยในตนเอง ตัวช้ีวัด 1 ความซื่อสัตย์สุจริต ความขยันหมั่นเพียร ความอดทน การใฝ่หาความรู้ การตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ และ

การยอมรับผลที่เกิดจากการกระท าของตนเอง การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ (ระหว่างภาค) คะแนนปลายภาค

ตัวช้ีวัดที่ (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน จุดเน้นที่ 3 -5 20 คะแนน

จุดเน้นที่ 3 -5 2. สภาพจริง 30 คะแนน จุดเน้นที่ 3 -5

3. กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน จุดเน้นที่ 3 -5 4. แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน จุดเน้นที่ 3 -5

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน

การทดสอบ รายละเอียดการสอบ

- พลเมิองดีตามวิถีประธิปไตย - การมีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครอง - การอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรมและการพึ่งพาซึ่งกันและกัน - ความขัดแย้งและการแก้ปัญหาความขัดแย้งโดยสันติวิธี

- ความมีวินัยในตนเองเพ่ือความปองดอง สมานฉันท์ หนังสืออ้างอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม

หนังสือเรียนหน้าที่พลเมือง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

1. สอบปลายภาค

Page 63: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

โครงการสอนและการวัดและประเมินผล สาระการเรียนรู้วิชา ภาษาจีน ครูผู้สอน 1. มิสศิวพร แซ่บ๊ 2. Mrs. Wei Wei ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 / 2559 จ านวน 1 คาบ / สัปดาห์ 11 คาบ / ภาคเรียน ค าอธิบายรายวิชา รู้จักประโยคค าสั่ง ค าขอร้องและค าแนะน าง่ายๆ ที่ฟังหรืออ่าน อ่านออกเสียงค า กลุ่มค า ประโยค ข้อความง่ายๆ เลือกระบุภาพ หรือสัญลักษณ์ตรงตามความหมายของประโยคและข้อความสั้นๆ ตอบค าถามจากการฟังและการอ่านประโยค บทสนทนาง่ายๆ ได้ ปฏิบัติตามค าสั่งง่าย ๆ ตามท่ีได้ฟัง อ่านออกเสียงตัวอักษรได้ตามหลักการออกเสียง ระบุตัวอักษรออกเสียงสระและเสียงพยัญชนะ เลือกโยงภาพ วาดภาพตรงตามความหมายของค า และกลุ่มค าที่ฟัง ฝึกนับและจับคู่ตัวเลขจีนกลางได้ ตอบค าถามเกี่ยวกับค าศัพท์ใกล้ตัวในห้องเรียนจากการฟัง ทักทาย แนะน าตนเอง กล่าวลา ขอบคุณ และขอโทษโดยใช้ค าศัพท์ ส านวนง่าย ๆ พูดออกค าสั่งง่าย ๆ และเขียนค าศัพท์ง่าย ๆ ในห้องเรียนและนอกห้องเรียนได้ถูกต้องตามหลักการอ่านออกเสียง การเขียน และเข้าใจวัฒนธรรมประเพณีของเจ้าของภาษาและนาไปใช้ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมตามกาลเทศะ

มีเจตคติที่ดีต่อวิชาภาษาจีน ใฝ่เรียนใฝ่รู้ มีคุณธรรม เมตตากรุณา รู้จักช่วยเหลือเพ่ือนในชั้นเรียน และเรียนรู้การอยู่ร่วมกันในสังคมได้ สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ( จ านวน 4 ตัวชี้วัด) สาระท่ี 1: ภาษาเพื่อการสื่อสาร มาตรฐานที่ ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆ และแสดงความคิดเห็นอย่างเหตุผล มาตรฐานที่ ต 1.3 น าเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ โดยการพูดและการ เขียน สาระท่ี 2: ภาษาและวัฒนธรรม มาตรฐานที่ ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และน าไปใช้ได้อย่าง เหมาะสมกับกาลเทศะ มาตรฐานที่ ต 2.2 เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับ ภาษาและวัฒนธรรมไทยและน ามาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม

Page 64: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

สาระท่ี 3: ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น มาตรฐานที่ ต 3.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืน และเป็นพ้ืนฐานใน การพัฒนาแสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศน์ของตน สาระท่ี 4: ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก มาตรฐานที่ ต 4.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชน และสังคม ตัวช้ีวัด 1. ด้านการฟัง

- ฟังและโต้ตอบบทสนทนาและข้อความที่ซับซ้อนมากข้ึน

- ฟังเข้าใจความหมายของประโยคสนทนาและข้อความท่ีซับซ้อนมากข้ึน

- ฟังเข้าใจรายละเอียดของบทสนทนาและข้อความท่ีซับซ้อนมากขึ้น 2. ด้านการพูด

- พูดออกเสียง ค าและวลี ที่เรียนมาแล้วด้วยความมั่นใจและถูกต้อง

- พูดและตอบบทสนทนาโดยใช้ค าและวลีที่เรียนมาแล้ว - พูดน าเสนอรายละเอียดโดยใช้ภาษาง่ายๆ 3. ด้านการอ่าน

- อ่านจับใจความบทสนทนาและข้อความที่ซับซ้อนมากข้ึน

- อ่านเข้าใจรายละเอียดของบทสนทนาและข้อความที่ซับซ้อนมากขึ้น

- จ าอักษรจีนได้มากกว่า 400 ตัว 4. ด้านการเขียน

- เขียนข้อความสั้นๆโดยใช้ประโยคง่ายๆ

- ใช้ค าศัพท์และโครงสร้างเพื่อสร้างประโยคง่าย ๆ

- เขียนอักษรจีนตามล าดับการเขียนได้มากกว่า 200 ตัว

Page 65: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

การวัดและประเมินผล

คะแนนเก็บระหว่างภาค ตัวช้ีวัดที่ (ระหว่างภาค)

คะแนนปลายภาค

ตัวช้ีวัดที่ (ปลายภาค)

1. การสื่อสาร 10 คะแนน 1,2 คะแนนเต็ม 30

คะแนน

3,4

2.สภาพจริง 20 คะแนน 1,2,3,4

3.กลางภาค/ปฏิบัติ 30 คะแนน 1,2,3,4 4.แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน 4

รวมคะแนนทั้งหมด 100 คะแนน

การทดสอบ

รายละเอียดการสอบ

เกณฑ์การให้คะแนน

- ความตั้งใจและการมีส่วนร่วมในห้องเรียน 5 คะแนน

- เวลาเรียน 3 คะแนน

- ตรงต่อเวลา 2 คะแนน

2. สภาพจริง (Authentic Assessment) 20 คะแนน

ใบงาน/รายละเอียดการสอบ

เกณฑ์การให้คะแนน

- ชิ้นงานเกี่ยวกับภาษาและวัฒนธรรมจีน 10 คะแนน

- แบบทดสอบ 10 คะแนน

3. การประเมินจากแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) 10 คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน

- แฟ้มแบบฝึกหัด 10 คะแนน

1. การประเมินจากสื่อสารรายบุคคล (Communication) 10 คะแนน -2-

Page 66: ชื่อ นามสกุล เลขที่ ห้อง ม.edu.sg.ac.th/download/2016/courseoutline/semester2/M1S2-59.pdf · ห้อง ม. 1/ ... สร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต

4. สอบกลางภาค/สอบปฎิบัติ (Mid-term test/Performance Assessment) 30 คะแนน

รายละเอียดการสอบ

บทที่ 5 – 6 เรื่องการแปลจีนเป็นไทย การกล่าวโต้ตอบบทสนทนา

เช่น คุณท าอะไร 30 คะแนน

5. สอบปลายภาค (Final-term test/Performance Assessment) 30 คะแนน รายละเอียดการสอบ

บทที่ 5 – 8 เรื่องการใช้ค าศัพท์ในชีวิตประจ าวัน การอ่านและเขียนเรื่องวัน เวลา

เป็นภาษาจีนงานอดิเรกและคุณท าอะไร 30 คะแนน

**หมายเหตุใช้เป็นเกณฑ์การประเมินผล

การเรียนว่า“ผ่าน”หรือ“ไม่ผ่าน”

หนังสืออ้างอิง/เอกสารประกอบการสอน และ หนังสือที่นักเรียนต้องอ่านค้นคว้าเพิ่มเติม

- หนังสือเรียนภาษาจีน เล่ม 4 (汉语新天地第四册 )

- บัตรค าอ่านสัทอักษร

- สื่ออิเล็กทรอนิกส์อ่ืนๆ เช่น วิทยุ เพาเวอร์พอยท์