“คาบสมุทรอินโดจีนบทบริบทใหม่ .........

27
www.tanitsorat.com “คาบสมุทรอินโดจีนบทบริบทใหม่เอเซีย” 1 โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย วันที7 กันยายน 2555 ณ โรงแรม เซ็นทารา แอนด์ คอนเวนชั่นเซ็นร์เตอร์ จังหวัดขอนแก่น

Upload: others

Post on 06-Mar-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: “คาบสมุทรอินโดจีนบทบริบทใหม่ ...... “คาบสม ทรอ นโดจ นบทบร บทใหม เอเซ ย”

www.tanitsorat.com

“คาบสมุทรอินโดจีนบทบริบทใหม่เอเซีย”

1

โดย

ดร.ธนิต โสรัตน์

รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย วันที่ 7 กันยายน 2555

ณ โรงแรม เซ็นทารา แอนด์ คอนเวนชั่นเซ็นร์เตอร์ จังหวัดขอนแก่น

Page 2: “คาบสมุทรอินโดจีนบทบริบทใหม่ ...... “คาบสม ทรอ นโดจ นบทบร บทใหม เอเซ ย”

www.tanitsorat.com

INDOCHINA

2

• ภูมิภาคซึ่งมีประวัติศาสตร์ย้อนหลังไปกว่า 1,600 ปี • ภูมิภาคซึ่งมีประเพณีอารยธรรมและสังคมมีความคล้ายกัน • ภูมิภาคซึ่งมีความแตกต่างทางการเมือง, การศึกษา ขัดแย้งเชิงพื้นที่ทับซ้อน การแข่งขัน ช่องว่างของการพัฒนา

Page 3: “คาบสมุทรอินโดจีนบทบริบทใหม่ ...... “คาบสม ทรอ นโดจ นบทบร บทใหม เอเซ ย”

www.tanitsorat.com

อินโดจีนหรืออุษาคเนย์ คือ ?? อินโดจีน หมายถงึประเทศที่อยู่ระหว่างมหาสมุทรอนิเดียกับทะเลจีนใต้ หมายรวมถึงดินแดนทีม่ีอารยธรรมทั้งอินเดีย (Indus) และจีน (China) ผสมผสานกัน ประกอบด้วยประเทศ เมียนมาร์ สยาม ลาว เวียดนาม กัมพูชา ขณะที่ มาเลเซีย สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย ถือวา่เป็นมุสลิมจ าพวกมาลาย ูไม่ถือว่าเป็นอินโด

จีน ประเทศทั้งหมดเป็นส่วนของของ ASEAN มีเศรษฐกิจรวมกันเทา่กับ 25.2% ของ อาเซียน บทบาทของอินโดจีนใหม่ T-CLMV จึงถือเป็นบทบาทของการด ารงอยู่ของความร่วมมอื

ภายใต้ AEC

3

Page 4: “คาบสมุทรอินโดจีนบทบริบทใหม่ ...... “คาบสม ทรอ นโดจ นบทบร บทใหม เอเซ ย”

www.tanitsorat.com

อินโดจีนจากสงครามเย็น…สู่ความเป็น ASEAN พัฒนาไปสู่ AEC

ไทยได้เข้าร่วมกับสหรัฐอเมริกา ภายใต้ องค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ SEATO ในการร่วมกองก าลังในสงครามอินโดจีน ซึ่งยุติลงในปี 1977

ไทยได้ร่วมก่อตั้ง “ASEAN” ในปี 1967 ต่อมาประเทศในอินโดจีน (CLMV) ได้ทยอยเข้าร่วมเป็นสมาชิก ประกอบด้วยเวียดนาม ในปี 1995 ลาวและพม่าในปี 1997 กัมพูชาในปี 1999

กลุ่มประเทศอินโดจีน เข้าสู่เขตการค้าเสรีหรือ AFTA ในปี 1993 การประชุมที่เวียนจันทร์ ปี 2004 น าไปสู่ข้อตกลงการเป็นประชาคม

เศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC ในปี 2015

4

Page 5: “คาบสมุทรอินโดจีนบทบริบทใหม่ ...... “คาบสม ทรอ นโดจ นบทบร บทใหม เอเซ ย”

www.tanitsorat.com

Indochina Regional of Challenge อินโดจีน...ภูมภิาคของโอกาสและความท้าทาย

ภูมิภาคอินโดจีน เป็นอนาคตของอาเซียน ทั้งจากการเติบโตทางเศรษฐกิจทรัพยากรอันสมบูรณ์ และการลงทุน

ภูมิภาคอินโดจีน มีศักยภาพในฐานะเป็นส่วนหนึ่งของอาเซียน ภูมิภาคอินโดจีน เป็นกลุ่ มประ เทศ เพื่ อนบ้ านและ เป็นคู่ ค้ าหลักของไทย

มีมูลค่าการค้า 671,713.30 ล้านบาทและมีมูลค่าการค้าชายแดน 338,724 ล้านบาท ภูมิภาคอินโดจีนบนบริบทของ AEC เป็นโอกาสและความท้าทายของไทย

5

Page 6: “คาบสมุทรอินโดจีนบทบริบทใหม่ ...... “คาบสม ทรอ นโดจ นบทบร บทใหม เอเซ ย”

www.tanitsorat.com

อินโดจีนบนบทของอาเซียน ภูมิภาคแห่งช่องว่างทางเศรษฐกิจและความขัดแย้งทางการเมือง

1. ภายใต้ความแตกต่างทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ศาสนา ท าให้อินโดจีนภายใต้อาเซียนขาดอัตลักษณ์ร่วมกันที่จะไปสู่การเปน็ประชาคมเดียวกนัอย่างจริงใจ

2. ภูมิภาคอินโดจีนยังขาดการความยึดโยงในผลประโยชน์รว่มกัน มีทั้งรูปแบบการแข่งขนั ช่วงชงิ ทั้งในด้านการส่งออก การกีดกัน การน าเข้า และปัญหาพื้นที่พรมแดนที่ทบัซ้อนกัน

3. ASEAN CHATER ภายใต้ระบบการเมือง-การปกครองและสิทธิมนุษยชนที่แตกต่างกัน โดยสมาชิกไม่เข้าไปก้าวก่ายกิจการภายในของกันและกัน ท าให้ความเป็นเนื้อเดยีวกันเป็นสิ่งทีย่าก

4. ช่องว่างของการพฒันา (Development Gap) ประเทศต่างๆ ท่ีมีเศรษฐกิจและขีดความสามารถที่แตกต่างกัน เป็นสิง่ส าคัญ การพัฒนาเป็นเศรษฐกิจฐานเดียวจึงเป็นความท้าทาย

5. การยกระดับความยากจนด้วยการโยกย้ายแรงงานเสรี ภายใต้ค่าจ้างทีเ่ท่าเทียมกันจะมีความเป็นไปได้มากน้อยเพียงใด

6. ภายใต้ความแตกต่างและการขาดการบูรณาการ และช่องว่างของการพัฒนา จะท าให้เกิดการพัฒนาในมิติต่างๆ ได้มากน้อยเพียงใด

6

Page 7: “คาบสมุทรอินโดจีนบทบริบทใหม่ ...... “คาบสม ทรอ นโดจ นบทบร บทใหม เอเซ ย”

www.tanitsorat.com TANIT SORAT

วิสัยทัศนอ์ินโดจีนใหม่บนบริบทของAEC

6

Single Market & Production Base

1. การเคลื่อนย้ายสินค้าเสรี

2. การเคลื่อนย้ายบริการเสรี

3. การเคลื่อนย้ายการลงทุนเสรี

4. การเคลื่อนย้ายเงินเสรีขึ้น

5. การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี

Page 8: “คาบสมุทรอินโดจีนบทบริบทใหม่ ...... “คาบสม ทรอ นโดจ นบทบร บทใหม เอเซ ย”

www.tanitsorat.com

โอกาสของประเทศไทยบนบริบทอินโดจีนใหม่

1. อนาคตของอินโดจีนใหม่บนบริบทของ AEC จะเป็นแหล่งการลงทุนทั้งด้านอุตสาหกรรมพลังงาน, บริการ,และด้านท่องเที่ยว ทีส่ าคัญของไทยและของภูมิภาค

2. เป็นดินแดนแห่งผลประโยชน์และความท้าทายของไทยภายใต้สัดส่วนการส่งออกร้อยละ 6.6 (อาเซียน 9 สัดส่วนส่งออกร้อยละ 23.6)

3. ประเทศไทยมีชายแดนเป็นระยะทางยาวมีด่านชายแดนทั้งถาวรและผ่อนปรนรวมทั้ง Landbridge ติดต่อกับประเทศพม่า, ลาว, กัมพูชา

8

Page 9: “คาบสมุทรอินโดจีนบทบริบทใหม่ ...... “คาบสม ทรอ นโดจ นบทบร บทใหม เอเซ ย”

www.tanitsorat.com

เปรียบเทียบศัยกภาพประเทศอินโดจีน

ประเทศ พื้นที ่(ตร.กม.)

ประชากร (ล้านคน)*

GDP/Million (US$)

(ปี/2553)*

รายได้ต่อหัว (US$)*

ค่าจ้างต่อวัน (บาท)

สัดส่วนที่ไทบลงทุน(%)

พม่า 676,578 60.2 36,953 804 80 – 100 44.46

ลาว 236,800 6.8 6,946 1,204 120 – 150 15.97

กัมพูชา 181,040 14.8 12,932 912 100 – 120 2.19

เวียดนาม 331,210 90.6 113,627 1,362 200 – 220 37.37

ไทย 513,120 69.5 334,026 5,281 300 - 350

9

* : World Bank,2011

Page 10: “คาบสมุทรอินโดจีนบทบริบทใหม่ ...... “คาบสม ทรอ นโดจ นบทบร บทใหม เอเซ ย”

www.tanitsorat.com

โครงข่ายเศรษฐกิจและโลจิสติกส์ของอินโดจนีใหม่ บนบริบทของAEC

โครงข่ายเศรษฐกิจเหนือ-ใต้ &โครงข่ายตะวันออก-ตะวันตก (North-South & East -West Economic Corridor) ท าให้อินโดจีนใหม่ สามารถเชื่อมโยงการขนส่งคน-สินค้า ทางถนนกับภูมิภาคอาเซียน จีน และอินเดียเป็นโครงข่ายเชื่อมโยงถึงแผ่นดินใหญ่ของเอเชีย

โครงข่ายระบบรถไฟความเร็วสูง จีน – ลาว –ไทย – มาเลเซียและLandbridge ทวาย – กาญจนบุรี จะท าให้อินโดจีนใหม่ สามารถเชื่อมโยงการขนส่งทางไกลสู่พื้นที่ตอนในของจีนและเอเชียได้อย่างสะดวก

โครงข่ายการเชื่อมโยงโลจิสติกส์ของภูมิภาคส่งเสริมประเทศไทยต่อการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของภูมิภาค (ภายใต้ข้อตกลง AEC/GMS/MJ-CI/ACMECS)

กระทรวงคมนาคมอนุมัติ 75 โครงการ “เส้นทางคมนาคมอาเซียน” ด้วยงบประมาณ 1.1 ล้านล้านบาท(ปี พ.ศ. 2556 – 2563) พัฒนา 8 ประตูหลัก + 8 ประตูชายแดนเชื่อมโยงประเทศ CLMV

10

Page 11: “คาบสมุทรอินโดจีนบทบริบทใหม่ ...... “คาบสม ทรอ นโดจ นบทบร บทใหม เอเซ ย”

www.tanitsorat.com

ประเทศไทยกับโอกาสบนความเติบโตของอินโดจีน

Geographic Location : ที่ตั้งและภูมิศาสตร์ของไทยอยู่ตรงศูนย์กลางของอินโดจีนและอาเซียน ท าให้สามารถเชื่อมโยงไปสู่ภูมิภาคได้ดีกว่า

Strong Industries Base : ฐานการผลิตของไทยมีความเข้มแข็งเกื้อหนุนภาคอุตสาหกรรม

Strong Domestics Consumption Base : ฐานประชากร 67 ล้านคนเกื้อหนุนต่อการผลิตในเชิง Mass Production ที่สามารถขยายไปสู่ตลาดอินโดจีนและอาเซียน 600 ล้านคน

Global Supply Chain : เครือข่ายการผลิตของประเทศไทยเป็นส่วนหนึ่งของโซ่อุปทานการผลิตในอุตสาหกรรมหลักของโลก ไทยมีความสามารถในการใช้พื้นที่ของอินโดจีนเป็นฐานการผลิต

Skill & Technology : ประเทศไทยมีแรงงานทักษะจ านวนมากและมีเทคโนโลยี การผลิตและการตลาดอยู่ในระดับที่แข่งขันได้ดี

11

Page 12: “คาบสมุทรอินโดจีนบทบริบทใหม่ ...... “คาบสม ทรอ นโดจ นบทบร บทใหม เอเซ ย”

www.tanitsorat.com

อินโดจีนภายใต้เศรษฐกิจฐานเดียว (Single Market & Production Base)

ประเทศ ค้าชายแดน ปี 2555E

สัดส่วน %

ส่งออก การลงทุนของไทย สัดส่วน %

พม่า 158,990 41.32 69,772 221,250

44.46

สปป.ลาว 147,040 38.2 113,590 79,488 15.92

กัมพูชา 78,670 20.4 70,744 10,900 2.19

เวียดนาม 220,000 185,952 37.32

รวม 384,700 474,106 497,590

12

หน่วย : ล้านบาท ปี 2554

หมายเหตุ : มาเลเชีย มูลค่าค้าชายแดนปี 2555 = 616,700 ล้านบาทสัดส่วนร้อยละ 58 ของการค้าชายแดน

Page 13: “คาบสมุทรอินโดจีนบทบริบทใหม่ ...... “คาบสม ทรอ นโดจ นบทบร บทใหม เอเซ ย”

www.tanitsorat.com

ศักยภาพตลาด Modern Trade

13

สินค้าไทยครองตลาดที ่City

mart supermarket, Yangon

Sein Gay Har Central Mart, Yangon

และภายในห้าง Junction Centre

สาขาที่กรุงย่างกุ้ง

Page 14: “คาบสมุทรอินโดจีนบทบริบทใหม่ ...... “คาบสม ทรอ นโดจ นบทบร บทใหม เอเซ ย”

www.tanitsorat.com 14

การลงทุนในประเทศ CLM ส าหรับอุตสาหกรรมเบาทุกประเภท (Light Industrial)

Page 15: “คาบสมุทรอินโดจีนบทบริบทใหม่ ...... “คาบสม ทรอ นโดจ นบทบร บทใหม เอเซ ย”

www.tanitsorat.com

บรรยายกาศการค้าและธุรกิจในพม่า

15

Page 16: “คาบสมุทรอินโดจีนบทบริบทใหม่ ...... “คาบสม ทรอ นโดจ นบทบร บทใหม เอเซ ย”

www.tanitsorat.com

INDOCHINA CONNECTIVITY ภาคตะวันออกเฉียงเหนอืกับการเชื่อมโยงโลจิสตกิส์ประเทศเพื่อนบ้าน

1. Logistics Corridor : การเป็นศูนย์กลางขนส่งและโลจิสติกส์เชื่อมโยงระเบียงเศรษฐกิจ NSEC

2. Education & Medical Hub : การเป็นศูนย์กลางด้านการศึกษาและสุขภาพของภูมิภาค 3. Investment Hub : ศูนย์กลางการลงทุนรองรับอุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยี เช่น ยาน

ยนต์และชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้า เคร่ืองจักร ฯลฯ 4. Road Tourism & Service Hub : ศูนย์กลางด้านการท่องเที่ยวทางถนนของภูมิภาค

เชื่อมโยง สปป.ลาว – เวียดนาม-กัมพูชา 5. Transit & Border Trade : เส้นทาง R8/R9/R12/ช่องเม็ก/ช่องจอม/ท่าลี่ ภายใต้

ประโยชน์จากการค้าข้ามชายแดน คาดว่าในปี 2558 จะมีมูลค่ามากกว่า 1.25 ล้านล้านบาท (ต้องผลักดันข้อตกลงขนส่งข้ามแดน CBTA ไปสู่การปฎิบัติ)

16

Page 17: “คาบสมุทรอินโดจีนบทบริบทใหม่ ...... “คาบสม ทรอ นโดจ นบทบร บทใหม เอเซ ย”

www.tanitsorat.com

“ESAN” Gateway of Indochina โครงข่ายเชื่อมโยงโลจิสติกส์ของภาคอิสานเอื้อต่อการเป็นประตูของอนิโดจีน (1)

1. โครงข่ายสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที ่1 (เส้นทางหมายเลข 8) หนองคาย-เวียงจันทร์ และ เส้นทางรถไฟหนองคาย - ทา่นาแร้ง

2. โครงข่ายสะพานมิตรภาพแห่งที่ 2 (เส้นทางหมายเลข 9) มุกดาหาร-สะหวันเขต เชื่อมโยงไทย – พม่า – ลาว – เวียดนาม (กวางตรี) - หนานหนิง

3. โครงข่ายสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 3 (เส้นทางหมายเลข 12) นครพนม – ค ามวน เชี่อมโยง ไทย-ลาว-เวียดนาม (ฮาติงห)์ - หนานหนิง

4. โครงการเส้นทางรถไฟ จีน-ลาว-ไทย คุนหมิง - เวียงจันทร์ – หนองคาย – กรุงเทพฯ - กัวลาลัมเปอร์

17

Page 18: “คาบสมุทรอินโดจีนบทบริบทใหม่ ...... “คาบสม ทรอ นโดจ นบทบร บทใหม เอเซ ย”

www.tanitsorat.com

5. โครงข่ายช่องเม็ก – ปากเซ (เส้นทางหมาย 13) อุบลราชธานี – จ าปาศักดิ์ เชื่อมโยงไทย – ลาว – กัมพูชา – เวียดนาม(โฮจิมินห์)

6. โครงข่ายอิสานใต้ : กัมพชูา เส้นทางหมายเลข 67 (ช่องสะง า) - ประสาทวิหาร

7. โครงข่าย อิสานใต้ – เสียมเรียบ : สุรินทร์ – (ช่องจอม – เสียบเรียบ) เส้นทางหมายเลข 68

18

“ESAN” Gateway of Indochina โครงข่ายเชื่อมโยงโลจิสติกส์ของภาคอิสานเอื้อต่อการเป็นประตูของอนิโดจีน (2)

Page 19: “คาบสมุทรอินโดจีนบทบริบทใหม่ ...... “คาบสม ทรอ นโดจ นบทบร บทใหม เอเซ ย”

www.tanitsorat.com

South Economic Corridor Connectivity เส้นทางเชื่อมโยงระเบียงเศรษฐกจิใต ้

นัยนิงห์

19

Page 20: “คาบสมุทรอินโดจีนบทบริบทใหม่ ...... “คาบสม ทรอ นโดจ นบทบร บทใหม เอเซ ย”

www.tanitsorat.com

ประเทศไทยต้องค้นหาต าแหน่ง และวิถีให้พ้นจากกับดกัการพัฒนาเศรษฐกิจ

1) ประเทศไทยต้องหาแนววิธีให้หลุดพ้นของการหยุดนิ่งจากการเป็นผู้น าของภูมิภาค ปัญหาเกิดจากการเมืองที่ไม่นิ่ง ขาดความปรองดองสมานฉันท์

2) ความสูญเสียขีดความสามารถในการแข่งขันด้านก าลังแรงงานและต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้น

3) ศักยภาพการลดน้อยถอยลงเชิงพื้นที่ทั้งด้านการผลิตด้านอุตสาหกรรม ด้านการเกษตรและแหล่งท่องเที่ยวที่ทรุดโทรม

4) การสูญเสียศักยภาพในการแข่งขันในด้านค่าจ้างแรงงานที่ต่ าและสูญเสียการลงทุนในอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานเข้มข้น

5) ศักยภาพการเป็นผู้น าของภูมิภาคก าลังถูกบดบังด้วยการเคลื่อนไหวจากประเทศนอกพื้นที ่

20

Page 21: “คาบสมุทรอินโดจีนบทบริบทใหม่ ...... “คาบสม ทรอ นโดจ นบทบร บทใหม เอเซ ย”

www.tanitsorat.com

โอกาสของประเทศไทยการเชื่อมโยงเศรษฐกิจอินโดจีนเข้ากับเศรษฐกิจเอเชีย INDOCHINA CONNECTIVITY

ภายใต้ข้อตกลงเอเซียน + จีน + อินเดีย + ญี่ปุ่น + เกาหลี ท าให้ภูมิภาคภาคอินโดจีนกลายเป็นส่วนหนึ่งของเอเชีย

เศรษฐกิจอาเซียน+4 เป็นเขตเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดของโลกมีมูลค่า 22,022,885 ล้านเหรียญสหรัฐ มีประชากร 48% ของโลก

เป็นภูมิภาคที่มีศักยภาพการลงทุนที่ดีที่สุดในโลก

21

Page 22: “คาบสมุทรอินโดจีนบทบริบทใหม่ ...... “คาบสม ทรอ นโดจ นบทบร บทใหม เอเซ ย”

www.tanitsorat.com

AEC Content…Opportunity of Thailand ศักยภาพของอุตสาหกรรมไทยภายใต้บริบทอินโดจีน(CLMV)

1) ประเทศไทยมีพรมแดนติดกับประเทศเพื่อนบ้าน 2) สินค้าไทยมีคุณภาพ ได้รับความน่าเชื่อถือ 3) ประเทศเพื่อนบ้าน CLM มีความคุ้นเคยกับสินค้าไทย 4) ภาคอุตสาหกรรมไทยมี Value Chain ครบวงจร 5) อุตสาหกรรมไทยมีศักยภาพเป็น Global Supply Chain

22

Page 23: “คาบสมุทรอินโดจีนบทบริบทใหม่ ...... “คาบสม ทรอ นโดจ นบทบร บทใหม เอเซ ย”

www.tanitsorat.com

From Indochina to AEC การเชื่อมโยงยกระดับจากอินโดจีนสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

1. Development Gap การลดช่องว่างของการพัฒนา : บนเศรษฐกิจที่แตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง ระหว่างประเทศ CLMV ก่อให้เกิดช่องว่างของการพัฒนา

2. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านซอฟต์แวร์ ในส่วนที่เกี่ยวกับกฎหมายข้อบังคับ สิ่งอ านวยทางการค้าและการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ICT

3. ภายใต้ข้อตกลงขนส่งข้ามแดนทางถนน (CBTA) ท าให้ประเทศไทยสามารถขนส่งสินค้าและประชาชนเข้า-ออกประเทศอินโดจีนได้สะดวกกว่าทุกประเทศ

4. ภายใต้ระเบียงเศรษฐกิจ (GMS) ไทยเป็นประเทศเดียวซึ่งมีโครงสร้างพื้นฐานทั้งถนนและสะพานเชื่อมโยงกับประเทศ CLMV

5. Fairness Rule : การมีกฎเกณฑ์ที่เป็นธรรมทั้งด้านเสรีทางการค้า แรงงานข้ามชาติ การใช้ทรัพยากร พลังงานและฐานการผลิตร่วมกันกับประเทศเพื่อนบ้าน

6. Opportunity : การเปิดโอกาสให้ทุกประเทศและทุกกลุ่มอาชีพโดยเฉพาะ SME และชุมชนเข้าถึงโอกาสของการเป็นสมาชิกประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

23

Page 24: “คาบสมุทรอินโดจีนบทบริบทใหม่ ...... “คาบสม ทรอ นโดจ นบทบร บทใหม เอเซ ย”

www.tanitsorat.com

ปัญหาอุปสรรคในการค้า-การลงทุนในประเทศอินโดจนี 1. ปัญหาด้านโครงสร้างพื้นฐาน สาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐานโลจิสติกส์ 2. ความไม่ชัดเจนของกฎหมายและการคุ้มครองนักลงทุน 3. ขาดข้อมูลและการเข้าถึงข้อมูลด้านการลงทุนในประเทศเพื่อนบ้านโดยเฉพาะSME 4. ด้านแหล่งเงินลงทนุ บางประเทศยงัไม่มีบริษัทประกันภัย ท าให้เป็นปัญหาในด้านการขน

สินเชื่อจากสถาบันการเงิน 5. ปัญหาด้านถ่ายทอดเทคโนโลยี : ข้อวิตกกังวลด้านการสื่อสารในระดับปฏิบัติการ

6. การขาดแคลนแรงงานทักษะ 7. ความกังวลเกี่ยวกับการน าก าไรกลับเข้าประเทศ ต้องเสียภาษีซ้ าซ้อนและหน่วยงานของรัฐยงั

ขาดความเข้าใจเกี่ยวกับการลงทุนในต่างประเทศ 8. การขาดอุตสาหกรรมเครือข่ายซัพพลายเชน 9. กฎหมายและกฎระเบียบของไทย มีความล้าสมัย และไม่สอดคล้องกับการเปิดเสรีการลงทุนใน

ต่างประเทศ 10. ภาคเอกชนไทยขาดยุทธศาสตร์และความจริงจังในการใช้ประโยชน์ต่อการลงทุนในประเทศ

เพื่อนบ้านและAEC 24

Page 25: “คาบสมุทรอินโดจีนบทบริบทใหม่ ...... “คาบสม ทรอ นโดจ นบทบร บทใหม เอเซ ย”

www.tanitsorat.com

How To : Local Economic Link Global Economic ความท้าทายของการเชื่อมโยงเศรษฐกิจจังหวัดกับเศรษฐกิจโลก

1. การบูรณาการของแต่ละจังหวัดยังไม่เป็นเนื้อเดียวกัน (Non-Harmonized Integration) แตล่ะจังหวัดยังมีการแข่งขันทางด้านเศรษฐกิจ ขาดการร่วมมือในการกระจายความได้เปรียบเชิงภูมิศาสตร ์

2. ยุทธศาสตร์จังหวัดและคลัสเตอร์ขาดการเชื่อมโยงและขาดบูรณาการเชิงเป้าหมาย จังหวัดต่างๆของไทย ยังมีความยึดถือจังหวัดนิยม ไม่มี Road Map และขาดความต่อเนื่องของผู้ว่าราชการจังหวัด

3. การพัฒนาในแต่ละจังหวัดที่ไม่เท่าเทียมกัน โอกาสและรายได้ของประชากร ที่แตกต่างกันในแต่ละพื้นที่และแต่ละภาค

4. การรับรู้ของกลุ่มคนด้อยโอกาสในแต่ละพื้นที่ ซึ่งมีความแตกต่างในการรับรู้และช่องว่างของโอกาสและระดับการศึกษาและทักษะ ซึ่งเกิดจากช่องว่างของการพัฒนาที่ไม่เท่าเทียมกัน

5. ปัญหาความขัดแย้งทางการเมือง การไม่ปรองดอง-สมานฉันท์ เป็นอุปสรรคส าคัญของการพัฒนาและสูญเสียโอกาสต่อการเปิด AEC 25

25

Page 26: “คาบสมุทรอินโดจีนบทบริบทใหม่ ...... “คาบสม ทรอ นโดจ นบทบร บทใหม เอเซ ย”

www.tanitsorat.com

อินโดจนีบนบริบทใหม่เอเซีย โอกาสของไทยภายใต้บริบทของ AEC

27

Page 27: “คาบสมุทรอินโดจีนบทบริบทใหม่ ...... “คาบสม ทรอ นโดจ นบทบร บทใหม เอเซ ย”

www.tanitsorat.com

E N D ข้อมูลเพิ่มเติมที่ : www.tanitsorat.com

28