บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ...

69
บทที่ 1 บทนำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เป็นสถาบันอุดมศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี การจัดการศึกษาระดับปริญญาตรีมีคณะต่างๆ 10 คณะและ 1 วิทยาลัย มหาวิทยาลัยฯ มีนโนบายจัดการศึกษาให้สนองความต้องการของตลาดแรงงานทั ้งด้านปริมาณและคุณภาพ โดย ผลิตกาลังคนในแต่ละสาขาวิชาให้ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน และมุ่งพัฒนาบุคคล ให้มีความเชี่ยวชาญทางด้านปฏิบัติการ ความเจนจัดทางวิชาการ และคุณลักษณะที่จาเป็นตาม ลักษณะอาชีพ พร้อมที่จะทางานและสามารถปรับปรุงตนเองให้ก้าวทันต่อพัฒนาการทางเทคโนโลยี รวมทั้งปลูกฝ ังความมีระเบียบวินัย ความสานึกในจรรยาอาชีพ คุณธรรม ความรับผิดชอบต่อ หน้าที่และสังคม ในแต่ละปี มหาวิทยาลัยฯ ได้ผลิตกาลังคนออกสู่ตลาดแรงงานเป็นจานวนมาก ดังนั้น จึงจาเป็นที่จะต ้องติดตามว่านักศึกษาที ่สาเร็จไปแล้วทางานอย่างไร ผู้ใช้บัณฑิตมีความ พึงพอใจหรือไม่ ดังนั้นจึงจาเป็นอย่างยิ ่งที่ต้องประเมินผลการปฏิบัติงานของบัณฑิตที่สาเร็จ การศึกษาไปในแต่ละปี มหาวิทยาลัย โดยกองพัฒนานักศึกษาได้ทาการสารวจความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มี ต่อการปฏิบัติงานของบัณฑิต และคุณลักษณะบัณฑิตมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เพื ่อ ทราบความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อการปฏิบัติงาน ซึ ่งเป็นการประเมินตามคุณลักษณะของ บัณฑิตที่พึงประสงค์ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติของหลักสูตร 5 ด้าน ได้แก่ ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความ รับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนยีสารสนเทศ และ คุณลักษณะของบัณฑิตที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ซึ่งเป็นคุณลักษณะของบัณฑิตทีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีกาหนดไว้ 4 ด้าน คือ 1. บัณฑิตนักปฏิบัติ ( Hand on) 2. มีทักษะที่ใช้เทคโนโลยีเป็นฐาน ( Technology Based Education & Training ) 3. เชี่ยวชาญ วิชาชีพ ( Professional Oriented) 4. วุฒิภาวะ ( Maturity ) ซึ่งผลการสารวจครั้งนี้สามารถแสดง ให้ทราบว่า บัณฑิตมีความคุณภาพการปฏิบัติงาน และมีคุณลักษณะตามที่มหาวิทยาลัยฯ กาหนด ไว้เพียงใด และใช้ผลการสารวจเป็นเครื่องมือในการกาหนดแนวทางปรับปรุง พัฒนาบัณฑิตให้มี คุณภาพ คุณลักษณะตรงตามความต้องการของผู้ใช้บัณฑิตต่อไป วัตถุประสงค์ของกำรสำรวจ 1. เพื่อทราบระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต ่อการปฏิบัติงานของบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ตามเกณฑ์คุณสมบัติที่ผู้สาเร็จการศึกษาระดับอุดมศึกษา พึงมี โดยรวม จาแนกสายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สายวิชาสังคมศาสตร์ คณะต่างๆ และ วิทยาลัยการแพทย์แผนไทย

Upload: others

Post on 27-Feb-2020

12 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

1 บทที่ 1

บทน ำ

ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เป็นสถาบันอุดมศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การจัดการศึกษาระดับปริญญาตรีมีคณะต่างๆ 10 คณะและ 1 วิทยาลัย มหาวิทยาลัยฯ มีนโนบายจัดการศึกษาให้สนองความต้องการของตลาดแรงงานทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ โดยผลิตก าลังคนในแต่ละสาขาวิชาให้ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน และมุ่งพัฒนาบุคคล ให้มีความเชี่ยวชาญทางด้านปฏิบัติการ ความเจนจัดทางวิชาการ และคุณลักษณะที่จ าเป็นตามลักษณะอาชีพ พร้อมที่จะท างานและสามารถปรับปรุงตนเองให้ก้าวทันต่อพัฒนาการทางเทคโนโลยีรวมทั้งปลูกฝังความมีระเบียบวินัย ความส านึกในจรรยาอาชีพ คุณธรรม ความรับผิดชอบต่อหน้าที่และสังคม ในแต่ละปี มหาวิทยาลัยฯ ได้ผลิตก าลังคนออกสู่ตลาดแรงงานเป็นจ านวนมาก ดังนั ้น จึงจ าเป็นที ่จะต้องติดตามว่านักศึกษาที่ส าเร็จไปแล้วท างานอย่างไร ผู ้ใช้บัณฑิตมีความ พึงพอใจหรือไม่ ดังนั ้นจึงจ าเป็นอย่างยิ ่งที ่ต ้องประเมินผลการปฏิบัติงานของบัณฑิตที ่ส าเร็จการศึกษาไปในแต่ละปี

มหาวิทยาลัย โดยกองพัฒนานักศึกษาได้ท าการส ารวจความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อการปฏิบัติงานของบัณฑิต และคุณลักษณะบัณฑิตมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เพื่อทราบความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อการปฏิบัติงาน ซึ่งเป็นการประเมินตามคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติของหลักสูตร 5 ด้าน ได้แก่ ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนยีสารสนเทศ และคุณลักษณะของบัณฑิตที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ซึ่งเป็นคุณลักษณะของบัณฑิตที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีก าหนดไว้ 4 ด้าน คือ 1. บัณฑิตนักปฏิบัติ (Hand on) 2. มีทักษะที่ใช้เทคโนโลยีเป็นฐาน (Technology Based Education & Training) 3. เชี่ยวชาญวิชาชีพ (Professional Oriented) 4. วุฒิภาวะ (Maturity) ซึ่งผลการส ารวจครั้งนี้สามารถแสดงให้ทราบว่า บัณฑิตมีความคุณภาพการปฏิบัติงาน และมีคุณลักษณะตามที่มหาวิทยาลัยฯ ก าหนดไว้เพียงใด และใช้ผลการส ารวจเป็นเครื่องมือในการก าหนดแนวทางปรับปรุง พัฒนาบัณฑิตให้มีคุณภาพ คุณลักษณะตรงตามความต้องการของผู้ใช้บัณฑิตต่อไป

วัตถุประสงค์ของกำรส ำรวจ 1. เพื ่อทราบระดับความพึงพอใจของผู ้ใช้บัณฑิตที ่มีต่อการปฏิบัติงานของบัณฑิตมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ตามเกณฑ์คุณสมบัติที่ผู้ส าเร็จการศึกษาระดับอุดมศึกษาพึงมี โดยรวม จ าแนกสายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สายวิชาสังคมศาสตร์ คณะต่างๆ และวิทยาลัยการแพทย์แผนไทย

Page 2: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

2 2. เพ่ือทราบระดับความคิดเห็นของผู้ใช้บัณฑิต ที่มีต่อคุณลักษณะบัณฑิตของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยฯ ก าหนด 3. เพื่อรับข้อเสนอแนะความต้องการให้มหาวิทยาลัยฯ พัฒนาคุณภาพและคุณลักษณะของบัณฑิต จากผู้บัญใช้บัณฑิต

ขอบเขตกำรส ำรวจ ส ารวจความคิดเห็นจากผู้ใช้บัณฑิตที่จบจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี รุ่นปีการศึกษา 2552 และได้ท างานมาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ปี

ค ำจ ำกัดควำม ผู้ใช้บัณฑิต หมายถึง ผู้อ านวยการ ผู้จัดการ หัวหน้าฝ่าย และผู้บังคับบัญชาชั้นต้น ของบัณฑิตที่จบจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี รุ่นปีการศึกษา 2552 ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตทีมีต่อการปฏิบัติงาน หมายถึง ความรู้สึกและทัศนคติของผู้ใช้บัณฑิต ที่มีต่อคุณสมบัติที่พึงประสงค์ซึ่งผู้ส าเร็จการศึกษาระดับอุดมศึกษาพึงมี ถ้าพบว่ามาก ก็คือเกิดความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน แต่ถ้าหากพบน้อย ก็คือเกิดความไม่พึงพอใจในการปฏิบัติงาน ซึ่งจ าแนกความพึงพอใจเป็น 5 ด้าน คือ ด้านคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ ในวิชาชีพ ด้านความรู้ความสามารถทางวิชาการ/วิชาชีพ ด้านเชาว์ปัญญาที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงาน ด้านปฏิสัมพันธ์กับผู้ร่วมงาน และด้านการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ บัณฑิต หมายถึง ผู้ส าเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่จบการศึกษาปีการศึกษา 2552 และเข้าสู่ตลาดแรงงาน โดยท างานมาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ปี คุณลักษณะของบัณฑิต หมายถึงคุณลักษณะบัณฑิตของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี - ราชมงคลธัญบุรี ซึ่งก าหนดไว้ 4 ด้าน ดังนี้ 1. บัณฑิตนักปฏิบัติ (Hand-on) 2. ทักษะที่ใช้เทคโนโลยีเป็นฐำน (Technology Based Education &Training) 3. เชี่ยวชำญวิชำชีพ (Professional Oriented) 4. วุฒิภำวะ (Maturity)

กำรเก็บข้อมูล การด าเนินการเก็บข้อมูลจากผู ้ใช้บัณฑิต ซึ ่งเป็นผู ้บังคับบัญชาหรือผู ้จ ้างงานในหน่วยงานต่างๆ ที่บัณฑิตได้ให้ข้อมูลจากการติดตามภาวะการหางานท า และท าการสืบค้นหาที่อยู่ที ่ถูกต้องทางอินเทอร์เน็ต ได้จ านวน 2,000 ฉบับ จึงท าหนังสือส่งแบบสอบถามไปยังสถานประกอบการ เพ่ือให้ผู้ใช้บัณฑิตเป็นผู้ตอบแบบสอบถาม

ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ ผลการส ารวจครั ้งนี ้สามารถน ามาใช้ในการก าหนดแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรการจัดการเรียนการสอน และพัฒนาคุณภาพของบัณฑิตให้เป็นที ่พึงประสงค์ของผู้ประกอบการต่อไป

Page 3: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

3

บทที่ 2 วิธีด ำเนินกำร

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ได้ท าการส ารวจความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต ที่มีต่อการปฏิบัติงานของบัณฑิต และคุณลักษณะบัณฑิตมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี รุ่นปีการศึกษา 2552 โดยมีขั้นตอนการด าเนินงานดังนี้

ประชำกร และกลุ่มตัวอย่ำง ฝ่ายแนะแนวการศึกษาและอาช ีพ ได ้ก าหนดประชากรเป็นผู ้ใช ้บ ัณฑิต ให ้ตอบแบบสอบถาม โดยน าแบบติดตามผู ้ส าเร็จการศึกษา ที ่บ ัณฑิตได้กรอกข้อมูลเมื ่อวันซ้อมรับพระราชทานปริญญาบัตร ซึ่งมีข้อมูลชื่อและที่อยู่ของสถานประกอบการที่บัณฑิตท างานอยู่แล้วนั้น น ามาคัดลอกเฉพาะฉบับที ่ข้อมูลชัดเจน และน าข้อมูลที ่อยู ่ไปสอบทานกับข้อมูล ของสถานประกอบการจากอินเทอร์เน็ต และแก้ไขให้ถูกต้อง เพื่อลดจ านวนจดหมายที่ไม่สามารถส่งถึงสถานที่ท างานของบัณฑิต ซึ่งมีสาเหตุมาจากที่อยู่ไม่ชัดเจน และจ่าหน้าซองไม่ถูกต้อง และได้กลุ่มตัวอย่างที่ส่งแบบสอบถาม จ านวน 2,000 ฉบับ โดยจ าแนกเป็นผู้ใช้บัณฑิตคณะต่างๆ ดังนี้

ตารางที่ 1 แสดงจ านวนและร้อยละของแบบสอบถามที่ได้รับตอบกลับจ าแนกตามคณะ/วิทยาลัย

คณะ/ วิทยาลัย ส่ง

แบบสอบถาม ได้รับ

ตอบกลับ ร้อยละ

คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีการเกษตร คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน คณะบริหารธุรกิจ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ วิทยาลัยการแพทย์แผนไทย

250 35 85 120 90 130 350 50 30 25 25

89 12 33 45

327 53

130 18 19 14

10

35.60 34.29 38.82 37.50 36.33 40.77 37.14 36.00 63.33 56.00 40.00

รวม 2,000 750 37.50

จากตารางที่ 1 พบว่าได้รับแบบสอบถามที่ได้รับตอบกลับมาคิดเป็นร้อยละ 37.50 ของจ านวนแบบสอบถามที่จัดส่ง หากพิจารณาแต่ละคณะ 3 อันดับแรกปรากฏว่า แบบสอบถามของบัณฑิตคณะศิลปศาสตร์ได้รับตอบกลับมา คิดเป็นร้อยละ 63.33 ของจ านวนแบบสอบถามที่จัดส่ง รองลงมาได้แก่ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ร้อยละ 56.00 และคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ร้อยละ 40.77

Page 4: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

4 กำรพัฒนำเครื่องมือเก็บข้อมูล การจัดท าแบบสอบถาม ผู้จัดท าได้ศึกษาวิเคราะห์จากคู่มือประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ตัวบ่งชี้ที่ 2.7 ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิ์ผลการเรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต ซึ ่งได้อธิบายคุณลักษณะของบัณฑิตว่า หมายถึงคุณสมบัติที่ พึงประสงค์ซึ่งผู้ส าเร็จการศึกษาระดับอุดมศึกษาพึงมี ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ คุณลักษณะของบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ อันได้แก่ด ้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนยีสารสนเทศ ซึ่งได้ปรับปรุงแบบสอบถามโดยแบ่งเป็น 5 ด้าน คือ 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณในวิชาชีพ 2. ด้านความรู้ความสามารถทางวิชาการ/วิชาชีพ 3. ด้านเชาว์ปัญญาที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงาน 4. ด้านปฏิสัมพันธ์กับผู้ร่วมงาน 5. ด้านการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และคุณลักษณะของบัณฑิตตามความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต ซึ่งอาจปรากฏในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือที่มีลักษณะเพิ่มเติมจากกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ เช่น การบริหารจัดการ การเป็นผู้ใฝ่รู้ใฝ่เรียน การก้าวทันวิทยาการ และความสามารถในการประยุกต์ความรู้กับการปฏิบัติงานจริง ซึ ่งเป็นคุณลักษณะที ่แสดงถึงคุณภาพของบัณฑิต รวมทั ้งได้น าคุณลักษณะบัณฑิตของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ซึ่งมหาวิทยาลัยฯ ได้ก าหนดให้บัณฑิตจะต้องมีคุณลักษณะ 4 ด้าน ดังนี้ บัณฑิตนักปฏิบัติ (Hand-on) 1. มีทักษะทางด้านวิชาการ/วิชาชีพ 2. มีทักษะในการประสานงาน 3. ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน มีความรับผิดชอบสูง รู้จักการท างานร่วมกันอย่างเป็นระบบ 4. มีความสามารถด้านการน าองค์ความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้ในระดับแนวหน้า มีทักษะที่ใช้เทคโนโลยีเป็นฐำน (Technology Based Education & Training)

5. รอบรู้เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information technology) และน าทักษะ ประยุกต์ใช้ในงาน

6. มีความสามารถด้านภาษาต่างประเทศ 7. สามารถน าเทคโนโลยีสารสนเทศไปใช้กับการพัฒนาองค์ความรู้ด้านวิชาชีพ 8. น า Technology Based ไปพัฒนาและแก้ปัญหาในการปฏิบัติงานได้อย่าง มีประสิทธิภาพ 9. มีทักษะในการศึกษาวิจัยที่จะน าไปสู่การสร้างนวัตกรรม โดยต่อยอดฐานความรู้ เดิมที่มีอยู่

Page 5: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

5 เชี่ยวชำญวิชำชีพ (Professional Oriented) 10. มีความเฉลี่ยวฉลาดทางสติปัญญา Intelligence Quotient 11. เป็นผู้น าในทางสร้างสรรค์ สามารถออกแบบและวางแผนได้ 12. มีความสามารถในการสื่อสารและทักษะในการน าเสนอผลงาน 13. มีวุฒิภาวะในการปฏิบัติงาน มีวิสัยทัศน์กว้างไกล 14. รู้จักวิเคราะห์และแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างเป็นระบบ 15. มีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง 16. มีการน าความคิดเชิงผู้ประกอบการไปประยุกต์ใช้กับวิชาชีพ 17. มีศักยภาพที่จะศึกษาต่อในระดับสูงขึ้นทั้งในประเทศและต่างประเทศ วุฒิภำวะ (Maturity) 18. รู้จักใช้ชีวิตบนความพอเพียง/รู้จักเสียสละ/มีคุณธรรมจริยธรรม 19. อยูในสังคมได้อย่างมีความสุข 20. มีความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) /ระดับความคิดด้านศีลธรรม (MQ) 21. มีความอดทน อ่อนน้อม สัมมาคารวะ 22. มีมนุษย์สัมพันธ์ดี/ท างานเป็นทีม 23. มีวินัยและความรับผิดชอบ 24. มีความตรงต่อเวลา 25. มีบุคลิกภาพที่ดี แบบสอบถามมี 3 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อการปฏิบัติงาน ตอนที่ 3 ความคิดเห็นต่อคุณลักษณะบัณฑิตของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ตอนที่ 4 ข้อเสนอแนะให้พัฒนาคุณภาพของบัณฑิตในการปฏิบัติงาน

ระยะเวลำเก็บข้อมูล ฝ่ายแนะแนวการศึกษาและอาชีพ ด าเนินการจัดส่งแบบสอบถาม พร้อมทั้งรวบรวมข้อมูลตั ้งแต ่เด ือน กรกฏาคม – กันยายน 2553 ด ้วยวิธ ีส ่งแบบสอบถามไปยังผู ้ใช ้บ ัณฑิต ของบัณฑิตรุ่นปีการศึกษา 2552 ทางไปรษณีย์

วิธีกำรเก็บข้อมูล การด าเนินการเก็บข้อมูลจากผู ้ใช้บัณฑิต ซึ ่งเป็นผู ้บังคับบัญชาหรือผู ้จ ้างงานในหน่วยงานต่างๆ ที่บัณฑิตได้ให้ข้อมูลจากการติดตามภาวะการหางานท า และท าการสืบค้นหาที่อยู่ที ่ถูกต้องทางอินเทอร์เน็ต ได้จ านวน 2,000 ฉบับ จึงท าหนังสือส่งแบบสอบถามไปยังสถานประกอบการ เพ่ือให้ผู้ใช้บัณฑิตเป็นผู้ตอบแบบสอบถาม และได้รับความร่วมมือจากผู้ใช้บัณฑิตส่งแบบสอบถามกลับคืนมา ผู้จัดท าได้ตรวจสอบ คัดเลือกเฉพาะฉบับที่สมบูรณ์เพื่อใช้ในการศึกษา จ านวน 750 ฉบับ จากการได้รับแบบสอบถามส่งกลับคืนมาจ านวนทั้งสิ้น 786 ฉบับ ซึ่งผู ้ตอบแบบสอบถามแจ้งให้มหาวิทยาลัยทราบว่าบัณฑิตได้ลาออกจากงานแล้ว 24 ราย ไม่มีชื่อบัณฑิต

Page 6: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

6 ท างานอยู่ในสถานประกอบการ 12 ราย คงเหลือแบบสอบถามที่ตอบสมบูรณ์ จ านวน 750 ฉบับ และมีจดหมายที่ส ่งคืนไม่ถึงผู ้ร ับ จ านวนทั ้งสิ ้น 32 ฉบับ ซึ ่งส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจากสถานประกอบการย้าย ไม่ทราบที่อยู่ใหม่

กำรเสนอข้อมูล การวิเคราะห์และน าเสนอข้อมูล แสดงเป็นค่าความถี่ (freguency) และค่าร้อยละ (Percent) ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ( x ) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) โดยใช้อิงเกณฑ์แบ่งระดับออกเป็น 5 ระดับ น ามาแบ่งกลุ่มของระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี- ราชมงคลธัญบุรี ดังนี้

ค่าเฉลี่ย 4.51 – 5.00 หมายความว่า มีความพึงพอใจระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 3.51 – 4.50 หมายความว่า มีความพึงพอใจระดับมาก ค่าเฉลี่ย 2.51 – 3.50 หมายความว่า มีความพึงพอใจระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 1.51 – 2.50 หมายความว่า มีความพึงพอใจระดับน้อย ค่าเฉลี่ย 1.00 – 1.50 หมายความว่า ควรปรับปรุง

Page 7: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

7

บทที่ 3

ตำรำงและกำรวิเครำะห์

การน าเสนอรายงานครั้งนี้ จะน าเสนอความคิดเห็นของผู้ใช้บัณฑิต ที่มีต่อการปฏิบัติงานของบัณฑิตมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีในภาพรวมของมหาวิทยาลัยฯ บัณฑิตสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บัณฑิตสายสังคมศาสตร์ และบัณฑิตแต่ละคณะ ในด้านคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณในวิชาชีพ ด้านความรู้ความสามารถทางวิชาการ/วิชาชีพ ด้านเชาว์-ปัญญาที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงาน ด้านปฏิสัมพันธ์กับผู้ร่วมงาน และด้านการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ พร้อมทั้งรับทราบข้อเสนอแนะความต้องการให้พัฒนาคุณภาพ/คุณลักษณะของบัณฑิต ผลการศึกษาสรุปได้ ดังนี้

ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ใช้บัณฑิต จ าแนกตาม ต าแหน่ง และประเภทของหน่วยงาน

ตารางที่ 2 แสดงจ านวนและร้อยละข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม จ าแนกตามต าแหน่ง และประเภทของหน่วยงาน

ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถำม จ ำนวน ร้อยละ 1. ต าแหน่ง

ผู้อ านวยการ / ผู้จัดการ หัวหน้าฝ่าย ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น อ่ืนๆ 2. ประเภทของหน่วยงาน หน่วยงานราชการ หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ หน่วยงานเอกชน อ่ืน ๆ

285 186 142 137 152 42 549 7

38.00 24.80 18.93 18.27 20.27 5.60 73.20 0.93

จากตารางที่ 2 แสดงให้เห็นว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนใหญ่มีต าแหน่งเป็นผู้อ านวยการ/ผู้จัดการ จ านวน 285 คน คิดเป็นร้อยละ 38.00 รองลงมาเป็นหัวหน้าฝ่าย จ านวน 186 คน ร้อยละ 24.80 ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น 142 คน ร้อยละ 18.93 และอื่นๆ เช่นเจ้าของกิจการ แผนกบุคคล จ านวน 137 คน คิดเป็นร้อยละ 18.27 ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นหน่วยงานเอกชนจ านวน 549 คน คิดเป็นร้อยละ 73.20 รองลงมาเป็นหน่วยงานราชการ จ านวน 152 คน คิดเป็น ร้อยละ 20.27 รัฐวิสาหกิจ จ านวน 42 คน คิดเป็นร้อยละ 5.60 อื่น ๆ เช่น สมาคม มูลนิธิ กองทุนหมู่บ้าน จ านวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 2.93

Page 8: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

8 ตารางที่ 3 แสดงจ านวน และร้อยละของผู้ใช้บัณฑิตที่ตอบแบบสอบถาม จ าแนกตาม คณะ/วิทยาลัยการแพทย์แผนไทย

คณะ/วิทยำลัยฯ ฉบับ ร้อยละ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีการเกษตร คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน คณะบริหารธุรกิจ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ วิทยาลัยการแพทย์แผนไทย

89 12 33 45

327 53

130 18 19 14 10

11.87 1.60 4.40 6.00

43.60 7.07 17.33

2.40 2.53 1.87 1.33

รวม 750 100.00

จากตารางที่ 3 พบว่าแบบสอบถามที่ตอบกลับมาจ านวนทั้งสิ้น 750 ฉบับ เป็นของผู้ใช้บัณฑิต คณะบริหารธุรกิจมากที่สุด จ านวน 327 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 43.60 รองลงมาเป็นคณะวิศวกรรมศาสตร์ จ านวน 130 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 17.33 คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม จ านวน 89 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 11.87 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จ านวน 53 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 7.07 คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน จ านวน 45 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 6.00 คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์จ านวน 33 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 4.40 คณะศิลปศาสตร์ จ านวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 2.53 คณะศิลปกรรมศาสตร์ จ านวน 18 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 2.40 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จ านวน 14 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 1.87 คณะเทคโนโลยีการเกษตร จ านวน 12 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 1.60 และวิทยาลัยการแพทย์แผนไทย จ านวน 10 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 1.33 ตามล าดับ

Page 9: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

9 ตอนที่ 2 ผลการส ารวจความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อการปฏิบัติงานของบัณฑิตมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

ตารางที่ 4 แสดงค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อ การปฏิบัติงาน ของบัณฑิตมหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลธัญบุรี จ าแนกเป็นรายด้าน

จากตารางที่ 4 พบว่าผู้ใช้บัณฑิต มีความพึงพอใจการท างานของบัณฑิตมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( x =3.85) เมื่อพิจารณารายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยด้านปฏิสัมพันธ์กับผู้ร่วมงาน มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ( x =4.09) รองลงมาเป็น ด้านคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณในวิชาชีพ ( x =4.07) ด้านความรู้ความสามารถทางวิชาการ/ว ิชาชีพ ( x =3.77) ด้านเชาว์ปัญญาที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงาน ซึ่งมีค่าเฉลี่ยเท่ากับด้านการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ( x =3.67)

ตารางที่ 5 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อ การปฏิบัติงานของบัณฑิต ด้ำนคุณธรรม จริยธรรมและจรรยำบรรณในวิชำชีพ จ าแนกรายข้อ

การปฏิบัติงานของบัณฑิต

N = 750

x S.D. ระดับ

ความพึงพอใจ ด้านคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณในวิชาชีพ ด้านความรู้ความสามารถทางวิชาการ/วิชาชีพ ด้านเชาว์ปัญญาที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงาน ด้านปฏิสัมพันธ์กับผู้ร่วมงาน ด้านการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

4.07 3.77 3.67 4.09 3.67

.64

.66

.65

.66

.64

มาก มาก มาก มาก มาก

รวม 3.85 .58 มาก

ด้านคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณในวิชาชีพ N=750

x S.D. ระดับความพึงพอใจ

1. ความมีทัศนคติที่ดีต่อการท างาน และมีจรรยาบรรณในวิชาชีพ 2. ความเสียสละ/มีจิตสาธารณะ 3. ความสามารถจัดการกับปัญหาได้อย่างมีคุณธรรม 4. ความมุ่งมั่น ขยันหมั่นเพียร 5. ความอ่อนน้อม มีสัมมาคารวะ 6. ความมีวินัย เคารพกฎระเบียบ ข้อบังคับขององค์กร 7. ความตรงต่อเวลา 8. ความซื่อสัตย์ 9. ความรับผิดชอบ

4.05 4.04 3.81 4.07 4.25 4.07 3.94 4.27 4.10

.74

.77

.74

.83

.74

.80

.87

.72

.83

มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก

รวม 4.07 .64 มาก

Page 10: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

10 จากตารางที่ 5 พบว่าผู้ใช้บัณฑิตมีความพึงพอใจบัณฑิตด้านคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณในวิชาชีพ โดยรวม ( x =4.07) เมื่อพิจารณารายข้อเรียงตามล าดับมากไปหาน้อย สามอันดับแรก ได้แก่เรื่องความซื่อสัตย์มากที่สุด ( x =4.27) รองลงมาได้แก่ ความอ่อนน้อม มีสัมมาคารวะ ( x =4.25) และความรับผิดชอบ ( x =4.10)

ตารางที่ 6 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อ การปฏิบัติงานของบัณฑิต ด้านความรู้ความสามารถทางวิชาการ/วิชาชีพ จ าแนกรายข้อ

จากตารางที่ 6 พบว่าผู้ใช้บัณฑิตพึงพอใจด้านความรู้ความสามารถทางวิชาการ/วิชาชีพ โดยรวม ( x =3.77) เมื่อพิจารณารายข้อเรียงตามล าดับมากไปหาน้อย สามอันดับแรก ได้แก่เรื่อง ความรู้ความเข้าใจในงานที่รับผิดชอบมากที่สุด ( x =3.94) รองลงมาได้แก่ ความรู้ความสามารถในสาขาวิชาที่ส าเร็จ ( x =3.86) และความสามารถในการประยุกต์ความรู้มาใช้ในการปฏิบัติงาน ( x =3.80)

ตารางที่ 7 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตท่ีมีต่อการปฏิบัติงาน ของบัณฑิต ด้านเชาว์ปัญญาที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงาน จ าแนกรายข้อ

ด้านความรู้ความสามารถทางวิชาการ/วิชาชีพ N = 750

x S.D. ระดับความพึงพอใจ

1. ความรู้ความสามารถในสาขาวิชาที่ส าเร็จ 2. ความสามารถในการประยุกต์ความรู้มาใช้ในการปฏิบัติงาน 3. สามารถน าเทคโนโลยีพื้นฐานไปพัฒนาและแก้ปัญหางานได้อย่าง มีประสิทธิภาพ 4. ความรู้ความเข้าใจในงานที่รับผิดชอบ 5. ความรู้เท่าทันความก้าวหน้าทางวิทยาการ 6. ความสามารถในการบริหารจัดการ 7. ความสามารถในการสร้าง/พัฒนาองค์ความรู้ในการปฏิบัติงาน

3.86 3.80 3.79

3.94 3.79 3.57 3.63

.74

.77

.78

.78

.77

.79

.74

มาก มาก มาก

มาก มาก มาก มาก

รวม 3.77 .66 มาก

ด้านเชาว์ปัญญาที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงาน N = 750

x S.D. ระดับความพึงพอใจ

1. ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ 3.64 .74 มาก 2. ความสามารถแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างเป็นระบบ 3.59 .77 มาก 3. ความสามารถเชื่อมโยง บูรณาการหลักทฤษฎีมาใช้กับงานอย่างสร้างสรรค์ 3.59 .76 มาก 4. การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า 3.64 .79 มาก 5. ความสามารถในการรับรู้/เรียนรู้งาน 3.97 .74 มาก 6. ความสามารถในการน าเสนอผลงาน 3.64 .77 มาก 7. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 3.63 .78 มาก

รวม 3.67 .65 มาก

Page 11: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

11 จากตารางที่ 7 พบว่าผู้ใช้บัณฑิตพึงพอใจด้านเชาว์ปัญญาที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงานโดยรวม ( x =3.67) เมื่อพิจารณารายข้อเรียงตามล าดับมากไปหาน้อย สามอันดับแรก ได้แก่เรื่องความสามารถ ในการรับรู้/เรียนรู้งานมากเป็นอันดับแรก ( x =3.97) รองลงมาได้แก่ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า และ ความสามารถในการน าเสนอผลงาน ซึ่งมีค่าเฉลี่ยเท่ากัน ( x =3.64) และความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ( x =3.63)

ตารางที่ 8 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อ การปฏิบัติงานของบัณฑิต ด้านปฏิสัมพันธ์กับผู้ร่วมงาน จ าแนกรายข้อ

จากตารางที่ 8 พบว่าผู้ใช้บัณฑิตพึงพอใจด้านปฏิสัมพันธ์กับผู้ร่วมงานโดยรวม ( x =4.09) เมื่อพิจารณารายข้อเรียงตามล าดับมากไปหาน้อย สามอันดับแรก ได้แก่เรื่องความสามารถท างานร่วมกับผู้อ่ืนได้/ท างานเป็นทีมได้ มากที่สุด ( x =4.22) รองลงมาได้แก่ความประพฤติสุภาพเรียบร้อย ( x =4.20) และการปรับตัวและมีมนุษยสัมพันธ์ ( x =4.18)

ตารางที่ 9 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตท่ีมีต่อการปฏิบัติงาน ของบัณฑิต ด้านการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศจ าแนกรายข้อ

ด้านปฏิสัมพันธ์กับผู้ร่วมงาน N = 750

x S.D. ระดับความพึงพอใจ

1. ความสามารถท างานร่วมกับผู้อื่นได้/ท างานเป็นทีมได้ 4.22 .77 มาก 2. การรับฟังความคิดเห็นและการให้ความร่วมมือ 4.17 .74 มาก 3. ทักษะการประสานงาน ทั้งระดับบนและระดับล่าง 3.90 .80 มาก 4. ความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) การควบคุมอารมณ์ 3.91 .79 มาก 5. การปรับตัวและมีมนุษยสัมพันธ์ 4.18 .75 มาก 6. การแสดงออกอย่างมีกาละเทศะ 4.02 79 มาก 7. ความประพฤติสุภาพเรียบร้อย 4.20 .76 มาก 8. มีบุคลิกภาพที่ดี 4.09 .78 มาก

รวม 4.09 .66 มาก

ด้านการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ N = 750

x S.D. ระดับความพึงพอใจ

1. การสื่อสาร และการแสดงออก 3.87 .74 มาก 2. ความสามารถในการพูด เขียน และน าเสนอ (ภาษาไทย) ได้ดี 3.90 .74 มาก 3. สามารถในการพูด อ่าน เขียน (ภาษาต่างประเทศ) ได้ในระดับพื้นฐาน 3.26 .84 ปานกลาง 4. ความรอบรู้เทคโนโลยีสารสนเทศและน าไปประยุกต์ใช้กับงาน 3.75 .79 มาก 5. สามารถน าเทคโนโลยีสารสนเทศ ไปใช้พัฒนาองค์ความรู้ด้านวิชาชีพ 3.71 .78 มาก 6. สามารถใช้เทคนิคพื้นฐานทางสถิติ และคณิตศาสตร์เพื่อวิเคราะห์ และน าเสนองาน 3.52 .78 มาก

รวม 3.69 .64 มาก

Page 12: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

12 จากตารางที่ 9 พบว่า ผู้ใช้บัณฑิตพึงพอใจด้านการสื่อสารและการใฃ้เทคโนโลยีสารสนเทศโดยรวม ( x = 3.67) เมื่อพิจารณารายข้อเรียงตามล าดับมากไปหาน้อย สามอันดับแรก ได้แก่ความสามารถในการพูด เขียน และน าเสนอ (ภาษาไทย) ได้ดี ( x =3.90) รองลงมาได้แก่ การสื่อสารและการแสดงออก ( x =3.87) และความรอบรู้เทคโนโลยีสารสนเทศและน าไปประยุกต์ใช้กับงาน ( x =3.75) ส่ วนเรื่ องที่ ผู้ ใช้ บัณฑิตมีความพึงพอใจน้ อยที่ สุ ดคื อความสามารถในการพูด อ่ าน เขี ยน (ภาษาต่างประเทศ) ได้ในระดับพ้ืนฐาน ( x =3.26) และความสามารถใช้เทคนิคพ้ืนฐานทางสถิติ และคณิตศาสตร์เพ่ือวิเคราะห์และน าเสนองาน ( x =3.52)

ตารางที่ 10 แสดงความคิดเห็นของผู้ใช้บัณฑิตต่อคุณลักษณะบัณฑิตมหาวิทยาลัยเทคโนโลย-ี ราชมงคลธัญบุรี จ าแนกตามด้าน

จากตารางที่ 10 พบว่าผู้ใช้บัณฑิตมีความคิดเห็นต่อคุณลักษณะบัณฑิต โดยรวม และรายด้านอยู่ในระดับมาก โดยรวม ( x = 3.79) ความคิดเห็นด้านวุฒิภาวะมากเป็นอันดับแรก ( x =4.06) รองลงมาคือด้านบัณฑิตนักปฏิบัติ ( x =3.88) ด้านเชี่ยวชาญวิชาชีพ และมีทักษะที่ใช้เทคโนโลยีเป็นฐาน ( x =3.66 และ 3.56) ตามล าดับ

ตารางที่ 11 แสดงค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของผู้ใช้บัณฑิตที่มีความคิดเห็นต่อ คุณลักษณะด้านบัณฑิตนักปฏิบัติ (Hand-on) จ าแนกรายข้อ

คุณลักษณะบัณฑิต

N = 750

x S.D. ระดับความ พึงพอใจ

บัณฑิตนักปฏิบัติ (Hand-on) มีทักษะที่ใช้เทคโนโลยีเป็นฐาน (Technology Based Education &Training)

เชี่ยวชาญวิชาชีพ (Professional Oriented) วุฒิภาวะ (Maturity)

3.88 3.56 3.66 4.06

.65

.66

.68

.66

มาก มาก มาก มาก

รวม 3.79 .62 มาก

ด้านบัณฑิตนักปฏิบัติ (Hand-on) N=750

x S.D. ระดับ ความพึงพอใจ

1. มีทักษะทางด้านวิชาการ/วิชาชีพ 3.80 .69 มาก 2. มีทักษะในการประสานงาน 3.85 .74 มาก 3. ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน มีความรับผิดชอบสูง 3.97 .83 มาก 4. รู้จักการท างานร่วมกันอย่างเป็นระบบ 3.98 .75 มาก 5. สามารถน าองค์ความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้ 3.81 .77 มาก

รวม 3.88 .65 มาก

Page 13: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

13

ตารางที่ 11 พบว่าผู้ใช้บัณฑิตมีความคิดเห็นต่อคุณลักษณะบัณฑิต ด้านบัณฑิตนักปฏิบัติ (Hand-on) โดยรวมและรายข้ออยู่ในระดับมาก ( x =3.88) เรื่องที่ผู้ใช้บัณฑิตมีความเห็นด้วยมากที่สุด คือการรู้จัดท างานร่วมกันอย่างเป็นระบบ ( x =3.98) รองลงมาคือความใฝ่รู้ ใฝ่เรียน มีความรับผิดชอบสูง และทักษะในการประสานงาน ( x =3.97 และ 3.85) ตามล าดับ

ตารางที่ 12 แสดงค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของผู้ใช้บัณฑิตที่มีความคิดเห็นต่อ คุณลักษณะบัณฑิตด้านมีทักษะที่ใช้เทคโนโลยีเป็นฐาน จ าแนกรายข้อ

ทักษะที่ใช้เทคโนโลยีเป็นฐาน (Technology Based Education & Training) N=750

x S.D. ระดับ ความพึงพอใจ

1. รอบรู้เทคโนโลยีสารสนเทศและน าทักษะมาประยุกต์ใช้ในงาน 3.78 .74 มาก 2. มีความสามารถด้านภาษาต่างประเทศ 3.23 .87 ปานกลาง 3. สามารถน าเทคโนโลยีสารสนเทศไปใช้กับการพัฒนาองค์ความรู้ด้านวิชาชีพ 3.68 .76 มาก 4. สามารถน า เทคโนโลยีพื้นฐานไปพัฒนาและแก้ปัญหาในการปฏิบัติงานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ

3.59 .76 มาก

5. มีทักษะในการศึกษาวิจัยที่จะน าไปสู่การสร้างนวัตกรรม 3.42 .78 ปานกลาง 6. มีการต่อยอดฐานความรู้เดิมที่มีอยู่ 3.64 .79 มาก

รวม 3.56 .66 มาก

จากตารางที่ 12 พบว่าผู้ใช้บัณฑิตมีความคิดเห็นต่อคุณลักษณะบัณฑิต ด้านทักษะที่ใช้เทคโนโลยีเป็นฐาน (Technology Based Education & Training) โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( x =3.56) เรื่องที่ผู้ใช้บัณฑิตมีความเห็นด้วยมากที่สุด คือความรอบรู ้เทคโนโลยีสารสนเทศและน าทักษะ มาประยุกต์ใช้ในงาน ( x =3.78) แต่เรื่องที่ผู้ใช้บัณฑิตมีความเห็นด้วยน้อยที่สุดคือความสามารถ ด้านภาษาต่างประเทศ และทักษะในการศึกษาวิจัยที่จะน าไปสู่การสร้างนวัตกรรม เป็นเรื่องที่ผู้ใช้บัณฑิตมีความเห็นอยู่ในระดับปานกลาง ( x =3.25 และ 3.43)

Page 14: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

14 ตารางที่ 13 แสดงค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของผู้ใช้บัณฑิตที่มีความคิดเห็นต่อ คุณลักษณะบัณฑิตด้านเชี่ยวชาญวิชาชีพ จ าแนกรายข้อ

จากตารางที ่ 13 พบว่าผู้ใช้บัณฑิตมีความคิดเห็นต่อคุณลักษณะบัณฑิต ด้านเชี่ยวชาญ

วิชาชีพ (Professional Oriented) โดยรวมและรายข้ออยู่ในระดับมาก โดยรวม ( x =3.88) เรื่องที่ผู้ใช้บัณฑิตมีความเห็นด้วยมากที่สุด คือมีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ( x =3.66) ความเฉลียวฉลาดทางสติปัญญา ( x =3.78) ความสามารถในการสื่อสารและทักษะในการน าเสนอผลงาน ( x =3.65)

ตารางที่ 14 แสดงค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของผู้ใช้บัณฑิตที่มีความคิดเห็นต่อ คุณลักษณะบัณฑิตด้านวุฒิภาวะ จ าแนกรายข้อ

ด้านเชี่ยวชาญวิชาชีพ (Professional Oriented) N=750

x S.D. ระดับความพึงพอใจ

1. มีความเฉลียวฉลาดทางสติปัญญา (IQ) 3.78 .74 มาก 2. เป็นผู้น าในทางสร้างสรรค์ 3.56 .79 มาก 3. สามารถออกแบบและวางแผนได้ 3.55 .81 มาก 4. มีความสามารถในการสื่อสารและทักษะในการน าเสนอผลงาน 3.65 .79 มาก 5. มีวุฒิภาวะในการปฏิบัติงานมีวิสัยทัศน์กว้างไกล 3.61 .79 มาก 6. รู้จักวิเคราะห์และแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างเป็นระบบ 3.61 .80 มาก 7. มีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง 3.88 .82 มาก 8. มีการน าความคิดเชิงผู้ประกอบการไปประยุกต์ใช้กับวิชาชีพ 3.63 .79 มาก

รวม 3.66 .68 มาก

ด้านวุฒิภาวะ (Maturity) N=750

x S.D. ระดับความพึงพอใจ

1. รู้จักใช้ชีวิตบนความพอเพียง 3.87 .84 มาก 2 รู้จักเสียสละ 4.04 .80 มาก 3. มีคุณธรรม จริยธรรม 4.13 .77 มาก 4. อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข 4.16 .70 มาก 5. มีความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) 3.97 .77 มาก 6. มีความคิดด้านศีลธรรม (MQ) ในระดับสูง 3.94 .78 มาก 7. มีความอดทน อ่อนน้อม สัมมาคารวะ 4.16 .80 มาก 8. มีมนุษย์สัมพันธ์ดี/ท างานเป็นทีม 4.22 .77 มาก 9. มีวินัยและความรับผิดชอบ 4.10 .85 มาก 10. มีความตรงต่อเวลา 3.97 .88 มาก 11. มีบุคลิกภาพที่ดี 4.09 .73 มาก

รวม 4.06 .66 มาก

Page 15: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

15 จากตารางที่ 14 พบว่าผู้ใช้บัณฑิตมีความคิดเห็นต่อคุณลักษณะบัณฑิต ด้านวุฒิภาวะ (Maturity) โดยรวมและรายข้ออยู่ในระดับมาก โดยรวม ( x =4.06) เรื่องที่ผู้ใช้บัณฑิตมีความเห็นด้วยมากที่สุด คือการมีมนุษย์สัมพันธ์ดี/ท างานเป็นทีม ( x =4.22) รองลงมาคือบัณฑิตมีความอดทน อ่อนน้อม สัมมาคารวะ และอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ( x =4.16)

ตารางที่ 15 แสดงข้อเสนอแนะความต้องการพัฒนาคุณภาพและคุณลักษณะบัณฑิต จากผู้ใช้บัณฑิต

ล าดับที่ ข้อเสนอแนะ ความถี่

1. กำรพัฒนำคุณภำพของบัณฑิต มหาวิทยาลัยควรปรับปรุงคุณภาพด้านภาษาอังกฤษอย่างจริงจัง เพราะมีความจ าเป็นในการพัฒนาศักยภาพขององค์กรและตัวบัณฑิตเอง

86

2. ควรเพิ่มการสอนภาคปฏิบัติ หรือให้นักศึกษาหาประสบการณ์จากการท างานจริงเพื่อเกิดทักษะ และมีความเชี่ยวชาญในวิชาชีพ

46

3. บัณฑิตต้องสามารถน าความรู้ที่เรียนและประสบการณ์มาประยุกต์ใช้กับงานได้จริง 40 4. ฝึกให้นักศึกษาใช้ความคิด วิเคราะห์แก้ไขปัญหาต่างๆ อย่างเป็นระบบเพื่อเพิ่มทักษะ

ในการท างาน 30

5. ควรมีกิจกรรมให้นักศึกษากล้าแสดงออก กล้าพูดในที่ชุมชน กล้าน าเสนอผลงาน กล้าแสดงความคิดเห็น

23

6. บัณฑิตควรน าเทคโนโลยี หรือวิทยาการใหม่ๆ มาประยุกต์ใช้กับงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

21

7. มหาวิทยาลัยฯ ควรให้ความรู้แก่นักศึกษาเพิ่มเติมในเรื่องต่างๆ ดังนี้ 7.1 การใช้คอมพิวเตอร์โปรแกรมพื้นฐาน เช่น Microsolf Word, Excel 7.2 ด้านวิชาการในสาขาที่เรียนให้มีความรอบรู้ เชี่ยวชาญ ปฏิบัติงานได้จริง 7.3 การค าณวน คณิตศาสตร์ และสถิติ 7.4 ระบบประกันคุณภาพต่าง ๆ เช่น ISO อาชีวอนามัย 7.5 การบริหารจัดการ เพื่อให้งานด าเนินไปอย่างมีระบบ

10

8. มหาวิทยาลัยควรปลูกฝังเรื่องความรับผิดชอบให้แก่นักศึกษา โดยเฉพาะเรื่องการออกจากงานโดยไม่ได้ยื่นใบลาล่วงหน้า

8

9. ควรปลูกฝังคุณธรรม และจริยธรรม ควบคู่กับการสอนวิชาการเพื่อให้บัณฑิตเป็น คนเก่ง และคนดี

7

1.

กำรพัฒนำคุณลักษณะของบัณฑิต บัณฑิตควรมีคุณธรรม จริยธรรม ขยัน ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบในหน้าที่ เสียสละ อดทน มุ่งมั่น รักความก้าวหน้า

217

2. บัณฑิตควรมีลักษณะเป็นผู้น า กล้าตัดสินใจ กล้าแสดงออกในสิ่งที่ถูก กล้าพูด และแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุมีผล

65

3. บัณฑิตควรมีลักษณะ กระตือรือร้น สนใจใฝ่รู้ เพื่อพัฒนาตนเอง และองค์กร 56 4. บัณฑิตควรมีมนุษย์สัมพันธ์ ท างานร่วมกับผู้อื่นได้ มีทัศนคติที่ดีต่อการท างาน

สามารถปรับตัวเข้ากับเพื่อนร่วมงาน และสภาพแวดล้อมในที่ท างาน เพื่อท างานอย่างมีความสุขสามารถควบคุมอารมณ์

45

Page 16: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

16 ตาราง (ต่อ)

ตารางที่ 16 แสดงค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อ การปฏิบัติงาน ของบัณฑิตสำยวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี จ าแนกเป็นรายด้าน

จากตารางที ่ 16 พบว ่าผู ้ใช ้บ ัณฑิต ม ีความพึงพอใจการท างานของบัณฑิต สายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( x =3.84) เมื่อพิจารณารายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยด้านปฏิสัมพันธ์กับผู้ร่วมงาน มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ( x =4.08) รองลงมาได้แก่ด้านคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณในวิชาชีพ ( x =4.07) ด้านความรู้ความสามารถทางวิชาการ/วิชาชีพ ( x =3.76) ด้านเชาว์ปัญญาที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงาน และด้านการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ( x =3.67 และ 3.65)

ล า ด ับที่

ข้อเสนอแนะ ความถี่

5.

กำรพัฒนำคุณลักษณะของบัณฑิต บัณฑิตควรมีระเบียบวินัย เคารพกฏระเบียบของหน่วยงาน

29

6. บัณฑิตต้องมีบุคลิกดี น่าเชื่อถือ วางตัวเหมาะสม เชื่อมั่นตนเองการแต่งกายสุภาพ เหมาะแก่กาละเทศะ

36

7. บัณฑิตควรมีความคิดสร้างสรรค์ รู้จักพัฒนาผลิตภัณฑ์แปลกใหม่ 19 8. บัณฑิตควรจัดกระบวนการคิดวิเคราะห์และวางแผนอย่างเป็นระบบ ต้องคิดเป็น

ท าเป็น มีทักษะในการแก้ปัญหาได้ สามารถน าเสนอความคิดเห็นอย่างเป็นระบบ 17

9. บัณฑิตต้องท าตัวเป็นแบบอย่างที่ดี ต้องเป็นที่พึ่งของสังคมได้ 3

การปฏิบัติงานของบัณฑิต

N = 562

x S.D. ระดับ

ความพึงพอใจ ด้านคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณในวิชาชีพ ด้านความรู้ความสามารถทางวิชาการ/วิชาชีพ ด้านเชาว์ปัญญาที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงาน ด้านปฏิสัมพันธ์กับผู้ร่วมงาน ด้านการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

4.07 3.76 3.67 4.08 3.65

.63

.66

.65

.66

.64

มาก มาก มาก มาก มาก

รวม 3.84 .58 มาก

Page 17: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

17 ตารางที่ 17 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อ การปฏิบัติงานของบัณฑิตสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ด้านคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณในวิชาชีพ จ าแนกรายข้อ

ด้านคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณในวิชาชีพ N=562

x S.D. ระดับความพึงพอใจ

1. ความมีทัศนคติที่ดีต่อการท างาน และมีจรรยาบรรณในวิชาชีพ 4.07 .72 มาก 2. ความเสียสละ/มีจิตสาธารณะ 4.04 .76 มาก 3. ความสามารถจัดการกับปัญหาได้อย่างมีคุณธรรม 3.81 .73 มาก 4. ความมุ่งมั่น ขยันหมั่นเพียร 4.08 .82 มาก 5. ความอ่อนน้อม มีสัมมาคารวะ 4.26 .71 มาก 6. ความมีวินัย เคารพกฎระเบียบ ข้อบังคับขององค์กร 4.07 .78 มาก 7. ความตรงต่อเวลา 3.94 .85 มาก 8. ความซื่อสัตย์ 4.26 .70 มาก 9. ความรับผิดชอบ 4.09 .81 มาก

รวม 4.07 .63 มาก จากตารางที่ 17 ข้อพบว่า ผู้ใช้บัณฑิตพึงพอใจด้านคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณในวิชาชีพ โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( x =4.07) เมื่อพิจารณารายข้อเรียงตามล าดับมากไปหาน้อย สามอันดับแรก ได้แก่ความอ่อนน้อม มีสัมมาคารวะและความซื่อสัตย์มากที่สุด ( x =4.26) รองลงมาได้แก่ ความรับผิดชอบ ( x =4.09) และความมุ่งมั่น ขยันหมั่นเพียร ( x =4.08)

ตารางที่ 18 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตท่ีมีต่อ การปฏิบัติงานของบัณฑิตสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ด้านความรู้ความสามารถทางวิชาการ/วิชาชีพ จ าแนกรายข้อ

ด้านความรู้ความสามารถทางวิชาการ/วิชาชีพ N=562

x S.D. ระดับความพึงพอใจ

1. ความรู้ความสามารถในสาขาวิชาที่ส าเร็จ 3.85 .74 มาก 2. ความสามารถในการประยุกต์ความรู้มาใช้ในการปฏิบัติงาน 3.79 .77 มาก 3.สามารถน าเทคโนโลยีพื้นฐานไปพัฒนาและแก้ปัญหางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.79 .78 มาก 4. ความรู้ความเข้าใจในงานที่รับผิดชอบ 3.94 .76 มาก 5. ความรู้เท่าทันความก้าวหน้าทางวิทยาการ 3.77 .78 มาก 6. ความสามารถในการบริหารจัดการ 3.54 .79 มาก 7. ความสามารถในการสร้าง/พัฒนาองค์ความรู้ในการปฏิบัติงาน 3.63 .75 มาก

รวม 3.76 .66 มาก

Page 18: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

18 จากตารางที่ 18 พบว่าผู้ใช้บัณฑิตพึงพอใจด้านความรู้ความสามารถทางวิชาการ/วิชาชีพโดยรวมอยู่ในระดับมาก ( x =3.76) เมื่อพิจารณารายข้อเรียงตามล าดับมากไปหาน้อย สามอันดับแรก ได้แก่ความรู้ความเข้าใจในงานที่รับผิดชอบมากท่ีสุด ( x =3.94) รองลงมาได้แก่ ความรู้ความสามารถ ในสาขาวิชาที่ส าเร็จ ( x =3.85) และความสามารถในการประยุกต์ความรู้มาใช้ในการปฏิบัติงาน ซึ่งมีค่าเฉลี่ยเท่ากับความสามารถน าเทคโนโลยีพ้ืนฐานไปพัฒนาและแก้ปัญหางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ( x =3.79)

ตารางที่ 19 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อ การปฏิบัติงานของบัณฑิตสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ด้านเชาว์ปัญญาที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงาน จ าแนกรายข้อ

จากตารางที่ 19 พบว่าผู้ใช้บัณฑิต พึงพอใจด้านเชาว์ปัญญาที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงาน โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( x =3.94) เมื่อพิจารณารายข้อเรียงตามล าดับมากไปหาน้อย สามอันดับแรก ได้แก่ความสามารถในการรับรู้/เรียนรู้งานมากเป็นอันดับแรก ( x =3.98) รองลงมาได้แก่การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ( x =3.65) และความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ( x =3.64)

ด้านเชาว์ปัญญาที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงาน N=562

x S.D. ระดับความพึงพอใจ

1. ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ 3.64 .76 มาก 2. ความสามารถแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างเป็นระบบ 3.58 .76 มาก 3. ความสามารถเชื่อมโยงบูรณาการหลักทฤษฎีมาใช้กับงานอย่างสร้างสรรค์ 3.59 .76 มาก 4. การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า 3.65 .79 มาก 5. ความสามารถในการรับรู้/เรียนรู้งาน 3.98 .73 มาก 6. ความสามารถในการน าเสนอผลงาน 3.61 .78 มาก 7. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 3.62 .78 มาก

รวม 3.67 .65 มาก

Page 19: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

19 ตารางที่ 20 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตท่ีมีต่อ การปฏิบัติงานของบัณฑิตสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ด้านปฏิสัมพันธ์กับผู้ร่วมงาน จ าแนกรายข้อ

จากตารางที่ 20 พบว่าผู้ใช้บัณฑิตพึงพอใจด้านปฏิสัมพันธ์กับผู้ร่วมงาน โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( x =4.08) เมื่อพิจารณารายข้อเรียงตามล าดับมากไปหาน้อย สามอันดับแรก ได้แก่ เรื่องความสามารถท างานร่วมกับผู้อื่นได้/ท างานเป็นทีมได้ มากที่สุด ( x =4.22) รองลงมาได้แก่ความประพฤติสุภาพเรียบร้อย ( x =4.20) การรับฟังความคิดเห็นและการให้ความร่วมมือ และการปรับตัวและ มีมนุษยสัมพันธ์ มีค่าเฉลี่ยเท่ากัน ( x =4.17)

ตารางที่ 21 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตท่ีมีต่อ การปฏิบัติงานของบัณฑิตสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ด้านการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ จ าแนกรายข้อ

ด้านการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ N=562

x S.D. ระดับความพึงพอใจ

1. การสื่อสาร และการแสดงออก 3.84 .73 มาก 2. ความสามารถในการพูด เขียน และน าเสนอ (ภาษาไทย) ได้ดี 3.89 .72 มาก 3. สามารถในการพูด อ่าน เขียน (ภาษาต่างประเทศ) ได้ในระดับพื้นฐาน 3.21 .84 ปานกลาง 4. ความรอบรู้เทคโนโลยีสารสนเทศและน าไปประยุกต์ใช้กับงาน 3.74 .80 มาก 5. สามารถน าเทคโนโลยีสารสนเทศไปใช้พัฒนาองค์ความรู้ด้านวิชาชีพ 3.72 .78 มาก 6. สามารถใช้เทคนิคพื้นฐานทางสถิติ และคณิตศาสตร์เพื่อวิเคราะห์ และน าเสนองาน

3.51 .79 มาก

รวม 3.65 .64 มาก

ด้านปฏิสัมพันธ์กับผู้ร่วมงาน N=562

x S.D. ระดับความพึงพอใจ

1. ความสามารถท างานร่วมกับผู้อื่นได้/ท างานเป็นทีมได้ 4.22 .77 มาก 2. การรับฟังความคิดเห็นและการให้ความร่วมมือ 4.17 .73 มาก 3. ทักษะการประสานงาน ทั้งระดับบนและระดับล่าง 3.89 .79 มาก 4. ความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) การควบคุมอารมณ์ 3.90 .79 มาก 5. การปรับตัวและมีมนุษยสัมพันธ์ 4.15 .76 มาก 6. การแสดงออกอย่างมีกาละเทศะ 4.00 .80 มาก 7. ความประพฤติสุภาพเรียบร้อย 4.20 .74 มาก 8. มีบุคลิกภาพที่ดี 4.07 .78 มาก

รวม 4.08 .66 มาก

Page 20: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

20 จากตารางที่ 21 พบว่าผู้ใช้บัณฑิตพึงพอใจด้านการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศโดยรวมอยู่ในระดับมาก ( x =3.65) เมื่อพิจารณารายข้อเรียงตามล าดับมากไปหาน้อย สามอันดับแรก ได้แก่เรื่องความสามารถในการพูด เขียน และน าเสนอ (ภาษาไทย) ได้ดี มากเป็นอันดับแรก ( x =3.89) รองลงมาได้แก่ การสื่อสารและการแสดงออก ( x =3.84) และความรอบรู้เทคโนโลยีสารสนเทศและน าไปประยุกต์ใช้กับงาน ( x =3.74) ส่วนเรื่องที่ผู้ใช้บัณฑิตมีความพึงพอใจน้อยที่สุดคือความสามารถในการพูด อ่าน เขียน (ภาษาต่างประเทศ) ได้ในระดับพ้ืนฐาน ( x =3.21) และความสามารถใช้เทคนิคพ้ืนฐาน ทางสถิติ และคณิตศาสตร์เพ่ือวิเคราะห์และน าเสนองาน ( x =3.51)

ตารางที่ 22 แสดงค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อ การปฏิบัติงาน ของบัณฑิตสำยสังคมศำสตร์ จ าแนกเป็นรายด้าน

จากตารางที่ 22 พบว่าผู้ใช้บัณฑิต มีความพึงพอใจการท างานของบัณฑิตสายสังคมศาสตร์ โดยรวมอยู ่ในระดับมาก ( x =3.86) เมื ่อพิจารณารายด้านพบว่าอยู ่ในระดับมากทุกด้าน โดยด้านปฏิสัมพันธ์กับผู ้ร่วมงาน มีค่าเฉลี ่ยสูงสุด ( x =4.11) รองลงมาได้แก่ ด้านคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณในวิชาชีพ ( x =4.04) ด้านความรู้ความสามารถทางวิชาการ/วิชาชีพ ( x =3.78) ด้านการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และด้านเชาว์ปัญญาที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงาน ( x =3.70 และ 3.66) ตามล าดับ

ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต

N = 188

x S.D. ระดับ

ความพึงพอใจ ด้านคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณในวิชาชีพ ด้านความรู้ความสามารถทางวิชาการ/วิชาชีพ ด้านเชาว์ปัญญาที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงาน ด้านปฏิสัมพันธ์กับผู้ร่วมงาน ด้านการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

4.04 3.78 3.66 4.11 3.70

.70

.65

.66

.68

.64

มาก มาก มาก มาก มาก

รวม 3.86 .60 มาก

Page 21: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

21 ตารางที่ 23 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อ การปฏิบัติงานของบัณฑิตสายสังคมศาสตร์ ด้านคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณในวิชาชีพ จ าแนกรายข้อ

ด้านคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณในวิชาชีพ N=188

x S.D. ระดับความพึงพอใจ

1.ความมีทัศนคติที่ดีต่อการท างาน และมีจรรยาบรรณในวิชาชีพ 2. ความเสียสละ/มีจิตสาธารณะ 3. ความสามารถจัดการกับปัญหาได้อย่างมีคุณธรรม 4. ความมุ่งมั่น ขยันหมั่นเพียร 5. ความอ่อนน้อม มีสัมมาคารวะ 6. ความมีวินัย เคารพกฎระเบียบ ข้อบังคับขององค์กร 7. ความตรงต่อเวลา 8. ความซื่อสัตย์ 9. ความรับผิดชอบ

3.99 4.03 3.78 4.01 4.22 4.04 3.94 4.28 4.10

.80

.81

.78

.85

.82

.87

.94

.77

.88

มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก

รวม 4.04 .70 มาก จากตารางที่ 23 พบว่าผู้ใช้บัณฑิตมีความพึงพอใจด้านคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณในวิชาชีพ โดยรวม ( x =4.04) เมื่อพิจารณารายข้อเรียงตามล าดับมากไปหาน้อย สามอันดับแรก ได้แก่ ผู้ใช้บัณฑิตพึงพอใจเรื่องความซื่อสัตย์มากท่ีสุด ( x =4.28) รองลงมาได้แก่ความอ่อนน้อม มีสัมมาคารวะ ( x =4.22) และความรับผิดชอบ ( x =4.10)

ตารางที่ 24 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อ การปฏิบัติงานของบัณฑิตสายสังคมศาสตร์ ด้านความรู้ความสามารถทางวิชาการ/ วิชาชีพในวิชาชีพ จ าแนกรายข้อ

ด้านความรู้ความสามารถทาง วิชาการ/วิชาชีพ N=188

x S.D. ระดับความพึงพอใจ

1. ความรู้ความสามารถในสาขาวิชาที่ส าเร็จ 3.87 .75 มาก 2. ความสามารถในการประยุกต์ความรู้มาใช้ในการปฏิบัติงาน 3.78 .77 มาก 3.สามารถน าเทคโนโลยีพื้นฐานไปพัฒนาและแก้ปัญหางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.79 .76 มาก 4. ความรู้ความเข้าใจในงานที่รับผิดชอบ 3.94 .79 มาก 5. ความรู้เท่าทันความก้าวหน้าทางวิทยาการ 3.81 .76 มาก 6. ความสามารถในการบริหารจัดการ 3.60 .79 มาก 7. ความสามารถในการสร้าง/พัฒนาองค์ความรู้ในการปฏิบัติงาน 3.63 .72 มาก

รวม 3.78 .65 มาก

Page 22: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

22 จากตารางที่ 24 พบว่าผู้ใช้บัณฑิตพึงพอใจด้านความรู้ความสามารถทางวิชาการ/วิชาชีพ โดยรวม ( x =3.78) เมื่อพิจารณารายข้อเรียงตามล าดับมากไปหาน้อย สามอันดับแรก ได้แก่เรื่อง ความรู้ความเข้าใจในงานที่รับผิดชอบ ( x =3.94) มากท่ีสุด รองลงมาได้แก่ ความรู้ความสามารถในสาขาวิชา ที่ส าเร็จ ( x =3.87) และความรู้เท่าทันความก้าวหน้าทางวิทยาการ ( x =3.81)

ตารางที่ 25 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตท่ีมีต่อ การปฏิบัติงานของ บัณฑิตสายสังคมศาสตร์ ด้านเชาว์ปัญญาที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงาน จ าแนกรายข้อ

จากตารางที่ 25 พบว่าผู้ใช้บัณฑิตพึงพอใจด้านเชาว์ปัญญาที่ส ่งผลต่อการปฏิบัติงาน โดยรวม ( x =3.66) เมื่อพิจารณารายข้อเรียงตามล าดับมากไปหาน้อย สามอันดับแรก ได้แก่เรื่องความสามารถในการรับรู้/เรียนรู้งานมากเป็นอันดับแรก ( x =3.94) รองลงมาได้แก่ความสามารถในการน าเสนอผลงาน ( x =3.71) และความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ( x =3.63)

ตารางที่ 26 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตท่ีมีต่อ ปฏิบัติงานของบัณฑิตสายสังคมศาสตร์ ด้านปฏิสัมพันธ์กับผู้ร่วมงาน จ าแนกรายข้อ

ด้านเชาว์ปัญญาที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงาน N=188

x S.D. ระดับความพึงพอใจ

1. ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ 3.62 .71 มาก 2. ความสามารถแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างเป็นระบบ 3.58 .79 มาก 3. ความสามารถเชื่อมโยงบูรณาการหลักทฤษฎีมาใช้กับงานอย่างสร้างสรรค์ 3.57 .77 มาก 4. การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า 3.57 .80 มาก 5. ความสามารถในการรับรู้/เรียนรู้งาน 3.94 .76 มาก 6. ความสามารถในการน าเสนอผลงาน 3.71 .76 มาก 7. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 3.63 .79 มาก

รวม 3.66 .66 มาก

ด้านปฏิสัมพันธ์กับผู้ร่วมงาน N=188

x S.D. ระดับความพึงพอใจ

1. ความสามารถท างานร่วมกับผู้อื่นได้/ท างานเป็นทีมได้ 4.24 .80 มาก 2. การรับฟังความคิดเห็นและการให้ความร่วมมือ 4.18 .79 มาก 3. ทักษะการประสานงาน ทั้งระดับบนและระดับล่าง 3.93 .85 มาก 4. ความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) การควบคุมอารมณ์ 3.91 .81 มาก 5. การปรับตัวและมีมนุษยสัมพันธ์ 4.24 .72 มาก 6. การแสดงออกอย่างมีกาละเทศะ 4.07 .76 มาก 7. ความประพฤติสุภาพเรียบร้อย 4.18 .80 มาก 8. มีบุคลิกภาพที่ดี 4.11 .80 มาก

รวม 4.11 .68 มาก

Page 23: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

23 จากตารางที่ 26 พบว่าผู้ใช้บัณฑิตพึงพอใจด้านปฏิสัมพันธ์กับผู้ร่วมงาน โดยรวม ( x =4.11) เมื่อพิจารณารายข้อเรียงตามล าดับมากไปหาน้อย สามอันดับแรก ได้แก่เรื่องความสามารถท างานร่วมกับผู้อ่ืนได้/ท างานเป็นทีมได้ และการปรับตัวและมีมนุษยสัมพันธ์ มากท่ีสุด ( x =4.24) รองลงมาได้แก่การรับฟังความคิดเห็นและการให้ความร่วมมือ ซึ่งมีค่าเฉลี่ยเท่ากับความประพฤติสุภาพเรียบร้อย ( x =4.18) และบุคลิกภาพที่ด ี( x =4.18)

ตารางที่ 27 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อ การปฏิบัติงานของบัณฑิตสายสังคมศาสตร์ ด้านการสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ จ าแนกรายข้อ

ด้านการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ N=188

x S.D. ระดับความพึงพอใจ

1. การสื่อสาร และการแสดงออก 3.94 .76 มาก 2. ความสามารถในการพูด เขียน และน าเสนอ (ภาษาไทย) ได้ดี 3.90 .79 มาก 3. สามารถในการพูด อ่าน เขียน (ภาษาต่างประเทศ) ได้ในระดับพื้นฐาน 3.37 .82 ปานกลาง 4. ความรอบรู้เทคโนโลยีสารสนเทศและน าไปประยุกต์ใช้กับงาน 3.76 .76 มาก 5. สามารถน าเทคโนโลยีสารสนเทศไปใช้พัฒนาองค์ความรู้ด้านวิชาชีพ 3.68 .76 มาก 6. สามารถใช้เทคนิคพื้นฐานทางสถิติ และคณิตศาสตร์เพื่อวิเคราะห์ และน าเสนองาน

3.53 .76 มาก

รวม 3.70 .64 มาก จากตารางที่ 27 พบว่าผู้ใช้บัณฑิตพึงพอใจด้านการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยรวม ( x =3.70) เมื่อพิจารณารายข้อเรียงตามล าดับมากไปหาน้อย สามอันดับแรก ได้แก่เเรื่องการสื่อสารและการแสดงออกมากเป็นอันดับแรก ( x =3.94) รองลงมาได้แก่ ความสามารถในการพูด เขียน และน าเสนอ (ภาษาไทย) ได้ดี ( x =3.90) และความรอบรู้เทคโนโลยีสารสนเทศและน าไปประยุกต์ใช้กับงาน ( x =3.76) ส่วนเรื่องที่ผู้ใช้บัณฑิตมีความพึงพอใจน้อยที่สุดคือความสามารถในการพูด อ่าน เขียน (ภาษาต่างประเทศ) ได้ในระดับพ้ืนฐาน ( x =3.37) และความสามารถใช้เทคนิคพ้ืนฐานทางสถิติ และคณิตศาสตร์เพ่ือวิเคราะห์และน าเสนองาน ( x =3.63)

Page 24: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

24

บทที่ 4 สรุป อภิปรำยผล และข้อเสนอแนะ

การส ารวจความพึงพอใจของผู ้ใช ้บ ัณฑิตที ่ม ีต ่อการปฏิบ ัต ิงาน ของบัณฑิต และคุณลักษณะบัณฑิตมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี รุ่นปีการศึกษา 2552 จัดท าขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1. เพื ่อทราบระดับความพึงพอใจของผู ้ใช้บัณฑิตที ่มีต่อการปฏิบัติงานของบัณฑิตมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี จ าแนกสายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และสายวิชาสังคมศาสตร์ และจ าแนกตามคณะต่าง ๆ และวิทยาลัยการแพทย์แผนไทย 2. เพื ่อทราบระดับความพึงพอใจของผู ้ใช ้บ ัณฑิต ที ่ม ีต ่อคุณลักษณะบัณฑิตของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยฯ ก าหนด 3. เพื่อทราบข้อเสนอแนะความต้องการในการพัฒนาคุณภาพและคุณลักษณะของบัณฑิต จากผู้ใช้บัณฑิต ผลการส ารวจปรากฏ ดังนี้

ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถำม การส ารวจครั้งนี้ได้รับความร่วมมือจากผู้ใช้บัณฑิตตอบแบบสอบถามกลับมามีจ านวนทั้งสิ้น 750 ฉบับ ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีต าแหน่งเป็นผู้อ านวยการ/ผู้จัดการ ร้อยละ 38.00 รองลงมาได้แก่ หัวหน้าฝ่าย ร้อยละ 24.80 และผู้บังคับบัญชาชั้นต้น คิดเป็นร้อยละ 18.93 และอ่ืนๆ เช่น เจ้าของกิจการ แผนกบุคคล ร้อยละ 18.27 ตามล าดับ ประเภทของหน่วยงานของผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นหน่วยงานเอกชน ร้อยละ 43.20 รองลงมาเป็นหน่วยงานราชการ ร้อยละ 20.27 รัฐวิสาหกิจ ร้อยละ 5.60 และอื่น ๆ เช่น สมาคม กองทุนหมู่บ้าน คิดเป็นร้อยละ 0.93 ตามล าดับ จากข้อมูลทั ่วไปของผู ้ตอบแบบสอบถาม แสดงให้เห็นว่า การส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์ไปยังสถานประกอบการ โดยระบุถึงผู ้บังคับบัญชาของบัณฑิต ซึ ่งเป็นกลุ ่มเป้าหมายโดยตรง คือ ผู้อ านวยการ ผู ้จัดการ หัวหน้าฝ่าย เจ้าของกิจการ และฝ่ายบุคคล ดังนั้นผลการส ารวจจึงสามารถสะท้อนความต้องการของผู้ใช้บัณฑิตอย่างแท้จริง ส่วนประเภทของหน่วย งาน จากผู้ตอบแบบสอบถาม ที่ได้กระจายไปในหน่วยงานเอกชน ราชการ รัฐวิสาหกิจ และอื่นๆ เช่นสมาคม กองทุนหมูบ้าน ซึ่งถือว่าครอบคลุมทุกสายอาชีพของบัณฑิต

ผลการส ารวจความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อการปฏิบัติงานของบัณฑิตมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี จ าแนกสายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และสายวิชาสังคมศาสตร์ และจ าแนกตามคณะต่าง ๆ และวิทยาลัยการแพทย์แผนไทย ปรากฏดังนี้

Page 25: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

25 1. ควำมพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อกำรปฏิบัติงำนของบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ได้ส ารวจความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อการปฏิบัติงาน โดยก าหนดข้อค าถามออกเป็น 5 ด้าน ได้แก่ ด้านคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณในวิชาชีพ ด้านความรู้ความสามารถทางวิชาการ/วิชาชีพ ด้านเชาว์ปัญญาที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงาน ด้านปฏิสัมพันธ์กับผู้ร่วมงาน และด้านการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ มีผลการส ารวจดังนี้ 1.1 ความพึงพอใจต่อบัณฑิตมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี พบว่าผู้ใช้บัณฑิต มีความพึงพอใจการท างานของบัณฑิตมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( x =3.85) เมื่อพิจารณารายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยด้านปฏิสัมพันธ์กับผู้ร่วมงาน มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ( x =4.08) รองลงมาเป็น ด้านคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณในวิชาชีพ ( x =4.06) ด้านความรู้ความสามารถทางวิชาการ/ว ิชาชีพ ( x =3.76) ด้านเชาว์ปัญญาที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงาน และด้านการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ( x =3.67 และ 3.66) ตามล าดับ จากผลการส ารวจ พบว่าบัณฑิตของมหาวิทยาลัย มีจุดเด่นในด้านปฏิสัมพันธ์กับผู้ร่วมงานหรือด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ซึ่งเมื่อพิจารณารายข้อพบว่าผู้ใช้บัณฑิตมีความพึงพอใจเรื่องความสามารถท างานร่วมกับผู้อื่นได้/ท างานเป็นทีมได้ ซึ่งแสดงถึงการยอมรับในความสามารถของบัณฑิตในการประสานงานและการท างานเป็นทีมจากผู้ใช้บัณฑิต ส่วนด้านที่บัณฑิตมีจุดด้อยคือ ด้านการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เมื่อพิจารณารายข้อพบว่าบัณฑิตมีข้อด้อยในเรื่อง ความสามารถในการพูด อ่าน เขียน (ภาษาต่างประเทศ) ในระดับพ้ืนฐานมากที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับข้อเสนอแนะจากผู้ใช้บัณฑิต ที่ต้องการให้มหาวิทยาลัยฯ ปรับปรุงคุณภาพบัณฑิตด้านภาษาอังกฤษอย่างจริงจัง เพราะมีความจ าเป็นในการพัฒนาศักยภาพขององค์กรและตัวบัณฑิตเอง ดังนั้นมหาวิทยาลัยฯ ควรปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน ด้านภาษาต่างประเทศอย่างจริงจัง เพราะจะเป็นประโยชน์กับ ตัวบัณฑิตเอง หน่วยงาน และหมายถึงศักยภาพการพัฒนานักศึกษา ซึ่งเป็นชื่อเสียงของมหาวิทยาลัยฯ 1.2 ความพึงพอใจที่มีต่อบัณฑิตสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และสายสังคมศาสตร์ 1.2.1 ความพึงพอใจบัณฑิตสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พบว่าอยู่ในระดับมาก ( x =3.84) เมื่อพิจารณารายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยด้านปฏิสัมพันธ์กับผู้ร่วมงาน มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ( x =4.08) รองลงมาได้แก่ด้านคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณในวิชาชีพ ( x =4.07) ด้านความรู้ความสามารถทางวิชาการ/วิชาชีพ ( x =3.76) ด้านเชาว์ปัญญาที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงาน และด้านการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ( x =3.67 และ 3.65) และเมื่อพิจารณาจุดเด่น จุดด้อยของบัณฑิตสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พบว่าไม่แตกต่างจากภาพรวมของมหาวิทยาลัยฯ 1.2.2 ความพึงพอใจที่มีต่อบัณฑิตสายสังคมศาสตร์ พบว่าผู้ใช้บัณฑิต มีความพึงพอใจการท างานของบัณฑิตสายสังคมศาสตร์ โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( x =3.86) เมื่อพิจารณารายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยด้านปฏิสัมพันธ์กับผู้ร่วมงาน มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ( x =4.11) รองลงมาได้แก่ ด้านคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณในวิชาชีพ ( x =4.04) ด้านความรู้ความสามารถทางวิชาการ/วิชาชีพ ( x =3.78) ด้านการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และด้านเชาว์ปัญญาที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงาน ( x =3.70 และ 3.66) ตามล าดับ

Page 26: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

26 จากผลการส ารวจ พบว่าผู ้ใช้บัณฑิตมีความพึงพอใจด้านปฏิสัมพันธ์กับ เพื่อนร่วมงานมากที่สุด เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่าผู้ใช้บัณฑิตพึงพอใจเรื่องความสามารถท างานร่วมกับผู้อื่นได้ /ท างานเป็นทีมได้ เท่ากับการปรับตัวและมีมนุษยสัมพันธ์ ซึ ่งหมายถึงบัณฑิตสายสังคมศาสตร์ มีความสามารถในเรื่องการอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างดี มีการปรับตัว ซึ่งแสดงถึงความมีศิลปการใช้ชีวิตร่วมกับบุคคลอ่ืน และสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นสุข ส่วนด้านที่เป็นจุดด้อยของบัณฑิตคือ ด้านเชาว์ปัญญาที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงาน เมื่อพิจารณารายข้อพบว่า ความสามารถเชื่อมโยงบูรณาการหลักทฤษฏีมาใช้กับงานอย่างสร้างสรรค์และการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า เป็นเรื ่องที่ผู ้ใช้บัณฑิตมีความ พึงพอใจในระดับปานกลาง นอกจากนี้ ความสามารถในการพูด อ่าน เขียน (ภาษาต่างประเทศ) ก็ยังเป็นเรื่องที่ผู้ใช้บัณฑิตต้องการให้พัฒนาบัณฑิตอีกเช่นกัน 1.3 ความพึงพอใจที่มีต่อบัณฑิตคณะต่างๆ และวิทยาลัยการแพทย์แผนไทย จ าแนก ตามด้านต่างๆ 1.3.1 ด้านคุณธรรมจริยธรรม และจรรยาบรรณในวิชาชีพ พบว่าผู ้ใช้บัณฑิต มีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของบัณฑิตโดยรวมอยู ่ในระดับมากทุกคณะ /วิทยาลัยฯ เมื ่อพิจารณารายข้อพบว่าผู้ใช้บัณฑิตมีความพึงพอใจทุกคณะ/วิทยาลัยฯ อยู่ในระดับมากเกือบทุกข้อ โดยเฉพาะ คณะศิลปศาสตร์ เรื่องความอ่อนน้อม มีสัมมาคารวะ และความซื่อสัตย์ อยู่ในระดับ มากที่สุด เช่นเดียวกับวิทยาลัยการแพทย์แผนไทย ซึ่งผู้ใช้บัณฑิตมีความพึงพอใจเรื่องความอ่อนน้อม มีสัมมาคารวะ และความรับผิดชอบในระดับมากที่สุด ส่วนคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผู้ ใช้บัณฑิตมีความพึงพอใจเรื่องความสามาถจัดการกับปัญหาได้อย่างมีคุณธรรมและความตรงต่อเวลาอยู่ในระดับปานกลาง จากผลการส ารวจด้านคุณธรรมจริยธรรม และจรรยาบรรณในวิชาชีพ ในภาพรวมของมหาวิทยาลัยฯ จะพบจุดเด่นของบัณฑิตในเรื่องความซื่อสัตย์ และความอ่อนน้อม มีสัมมาคารวะ ซึ่งเป ็นคุณล ักษณะที ่ผู ้ใช ้บ ัณฑิตมีความต ้องการอยู ่ในอันด ับแรก ส ่วนเรื ่องที ่เป ็นจ ุดด ้อยค ือความสามารถจัดการกับปัญหาได้อย่างมีคุณธรรม และเรื ่องการตรงต่อเวลา ซึ ่งสอดคล้องกับข้อเสนอแนะจากผู้ใช้บัณฑิต ที่ต้องการให้มหาวิทยาลัยฯ พัฒนาคุณลักษณะบัณฑิตเรื่องคุณธรรม จริยธรรม ความซื่อสัตย์ ความตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบในหน้าที่และความเสียสละ เป็นอันดับแรกเช่นกัน ดังนั้น คณะ/วิทยาลัยฯ และอาจารย์ผู้สอน ควรปลูกฝังคุณลักษณะตามข้อเสนอแนะจากผู ้ใช้บัณฑิตให้แก่นักศึกษา เพื่อให้บัณฑิตมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เป็นที่ต ้องการแก่ผู ้ใช้บัณฑิต และเป็นบุคคลากรที ่ม ีคุณค่าแก่สังคมส่วนรวมต่อไป ให้สมกับค าว ่า “บัณฑิต ต้องท าตัวเป็นแบบอย่างที่ดี และเป็นที่พ่ึงของสังคมได้” 1.3.2 ด้านความรู้ความสามารถทางวิชาการ/วิชาชีพ พบว่าผู้ใช้บัณฑิตมีความ พึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมากเกือบทุกคณะ ยกเว้นคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณารายข้อพบว่าทุกคณะ/วิทยาลัยฯ อยู่ในระดับมากเป็นส่วนใหญ่ ยกเว้นคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ และคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มีความพึงพอใจ เรื ่องความสามารถในการบริหารจัดการ และความสามารถในการสร้าง/พัฒนาองค์ความรู้ในการปฏิบัติงานอยู่ในระดับปานกลาง จากผลการส ารวจ ด้านความรู้ความสามารถทางวิชาการ ในภาพรวมของมหาวิทยาลัยฯ พบว่าบัณฑิตมีจุดเด่นในเรื ่อง ความรู ้ความเข้าใจในงานที่รับผิดชอบ ความรู ้ความสาม ารถใน

Page 27: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

27 สาขาวิชาที่ส าเร็จ และความสามารถน าความรู้มาประยุกต์ใช้กับงาน ซึ่งหมายถึง บัณฑิตมีความรู้ความสามารถในสาขาวิชาที่ส าเร็จจริง ท าให้เกิดความรู้ความเข้าในในงานที่ท า ส่วนจุดด้อยของบัณฑิตคือความสามารถในการบริหารจัดการ ความสามารถน าเทคโนโลยีพื้นฐานไปพัฒนาและแก้ปัญหางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และความสามารถในการสร้าง /พัฒนาองค์ความรู้ในการปฏิบัติงาน ซึ่งสอดคล้องกับข้อเสนอแนะของผู ้ใช้บัณฑิต ที ่ต้องการให้มหาวิทยาลัยฯ เพิ่มเติมความรู้ให้แก่นักศึกษา ในเรื่องการใช้คอมพิวเตอร์โปรแกรมพื้นฐานต่าง ๆ เช่น Microsolf word Excel เป็นต้น เพราะบัณฑิตบางคนไม่สามารถใช้โปรแกรมพื้นฐานข้างต้นกับการท างานได้ นอกจากนี้ ยังต้องเพิ่มเติมสอนการค าณวนคณิตศาสตร์ การบริหารจัดการ และระบบประกันคุณภาพต่างๆ ให้กับนักศึกษา เพ่ือให้นักศึกษามีความรู้พ้ืนฐานพร้อมใช้ในการปฏิบัติงานได้จริง ในเวลาอันรวดเร็ว ดังนั้น คณะ/วิทยาลัยฯ และอาจารย์ผู้สอน ควรพิจารณาข้อเสนอแนะจากผู้ใช้บัณฑิต เพ่ือให้บัณฑิต “รอบรู้ เชี่ยวชาญ ปฏิบัติงานได้จริง” 1.3.3 ด้านเชาว์ปัญญาที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงาน พบว่าผู้ใช้บัณฑิตมีความพึงพอใจโดยรวมอยู ่ในระดับมากเกือบทุกคณะ ยกเว ้นคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร ์ และคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผู้ใช้บัณฑิตมีความพึงพอใจระดับปานกลาง เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีการเกษตร คณะบริหารธุรกิจ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะศิลปศาสตร์ และวิทยาลัยการแพทย์แผนไทย มี่ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากทุกข้อ ส่วนเรื่องที่ผู้ใช้บัณฑิตมีความพึงพอใจระดับปานกลาง จ าแนกตามคณะ/วิทยาลัยฯ ปรากฏดังนี้ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ เรื่องความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ความสามาถแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างเป็นระบบ ความสามารถเชื่อมโยงบูรณาการหลักทฤษฏีมาใช้กัยบงานอย่างสร้างสรรค์ การแก้ปัญหาฉพาะหน้า และความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน เรื่องความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ความสามารถ แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างเป็นระบบ ความสามารถเขื่อมโยงบูรณาการหลักทฤษฏีมาใช้กับงานอย่างสร้างสรรค์ ความสามารถในการน าเสนอผลงาน และความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ เรื่องการน าเสนอผลงาน คณะศิลปกรรมศาสตร์ เรื่องความสามารถแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างเป็นระบบ การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า และความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผู้ใช้บัณฑิตมีความพึงพอใจในระดับปานกลางเกือบทุกข้อ ยกเว้นเรื่องความสามารถในการรับรู้/เรียนรู้งาน มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก จากผลการส ารวจด้านเชาว ์ป ัญญาที ่ส ่งผลต่อการปฏิบ ัต ิงาน ในภาพรวม พบว่าความสามารถในการรับรู้/เรียนรู้งาน เป็นจุดเด่นของบัณฑิต แต่ข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ าคือควมสามารถแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างเป็นระบบ และความสามารถเชื่อมโยง บูรณาการหลักทฤษฏีมาใช้กับงานอย่างสร้างสรรค์ ซึ่งเมื่อน ามาเชื่อมโยงกับข้อเสนอแนะจากผู้ใช้บัณฑิต ที่ต้องการให้มหาวิทยาลัยฯ เพิ่มการสอนภาคปฏิบัติ หรือให้นักศึกษาหาประสบการณ์จากการท างานจริง เพื่อเกิดทักษะ รู้จักจัดกระบวนการคิดวิเคราะห์ สามารถน าเสนอความคิดเห็นอย่างเป็นระบบ ฝึกให้นักศึกษาใช้ความคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหาต่างๆ อย่างเป็นระบบ เพื่อเพิ่มทักษะในการท างาน และควรจัดกิจกรรมให้นักศึกษากล้าแสดงความคิดเห็น กล้าพูด และกล้าน าเสนอผลงาน ดังนั ้น คณะ/

Page 28: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

28 วิทยาลัยฯ และอาจารย์ผู ้สอน ควรปรับวิธ ีการสอนให้สอดร ับกับข้อเสนอจากผู ้ใช ้บ ัณฑิต “ให้บัณฑิต คิดเป็น ท าเป็น แก้ปัญหาได้” 1.3.4 ด้านปฏิสัมพันธ์กับผู้ร่วมงาน พบว่าผู ้ใช้บัณฑิตมีความพึงพอใจ โดยรวม อยู่ในระดับมากทุกคณะ/วิทยาลัยฯ เมื่อพิจารณารายข้อพบว่า ผู้ใช้บัณฑิตมีความพึงพอใจในระดับมากทุกคณะ/วิทยาลัย เกือบทุกข้อ โดยเฉพาะคณะศิลปศาสตร์ และวิทยาลัยการแพทย์แผนไทย เรื่องความสามารถท างานร่วมกับผู้อื่นได้/ท างานเป็นทีมได้ และการปรับตัวและมีมนุษย์สัมพันธ์ ผู้ใช้บัณฑิตมีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด ส่วนคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผู้ใช้บัณฑิตพึงพอใจเรื่องทักษะการประสานงานทั้งระดับบนและระดับล่าง ความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) การควบคุมอารมณ์ และบุคลิกภาพที่ดี อยู่ในระดับปานกลาง จากผลการส ารวจ พบว ่าด ้านปฏ ิส ัมพ ันธ ์ก ับผู ้ร ่วมงาน เ ป ็นจ ุด เด ่นของบ ัณฑิตมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี โดยเฉพาะความสามารถท างานร่วมกับผู้อื่นได้ /ท างานเป็นทีม ความประพฤติสุภาพเรียบร้อย และการรับฟังความคิดเห็นและการให้ความร่วมมือ แสดงถึงการยอมรับคุณลักษณะพ้ืนฐานของบัณฑิต ที่แสดงให้เห็นถึงความมีทัศนคติที่ดีต่อการท างาน อันจะน ามาซึ่งความสุขในการท างาน ส่วนที่จะต้องปรับปรุง คือความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) การควบคุมอารมณ์ ซึ่งคณะ/วิทยาลัยฯ และอาจารย์ผู้สอนต้องปลูกฝังให้นักศึกษามีวิธีคิดให้เป็นบวก เพื่อความสุขในการใช้ชีวิตและการอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคม เพื่อให้ “การท างาน ต้องท าอย่างมีความสุข” 1.3.5 ด้านการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ พบว่า ผู้ใช้บัณฑิตมีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมาก เกือบทุกคณะ ยกเว้น คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน อยู่ในระดับปานกลาง เมื ่อพิจารณารายข้อ พบว่า ผู ้ใช้บัณฑิตมีความพึงพอใจบัณฑิตทุกคณะ/วิทยาลัยฯ ในระดับมาก เกือบทุกข้อ ยกเว้น เรื่องความสามารถในการพูด อ่าน เขียน (ภาษาต่างประเทศ) ได้ในระดับพื้นฐาน ผู้ใช้บัณฑิตมีความพึงพอใจในระดับปานกลางเกือบทุกคณะ ยกเว้นคณะศิลปศาสตร์ และวิทยาลัยการแพทย์แผนไทย นอกจากนี ้ย ังมีหลายคณะที่สามารถน าเทคโนโลยี-สารสนเทศไปใช้พัฒนาองค์ความรู ้ด ้านวิชาชีพ และสามารถใช้เทคนิคพื้นฐานทางสถิติและคณิตศาสตร์เพื่อวิเคราะห์และน าเสนองานได้ในระดับปานกลาง ได้แก่คณะเทคโนโลยีการเกษตร คณะเทคโนโลยี-คหกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ และคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จากผลการส ารวจ ด้านการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ พบว่าบัณฑิตมี จุดด้อยในเรื ่องความสามารถในการพูด อ่าน เขียน (ภาษาต่างประเทศ) ได้ในระดับพื้นฐาน ซึ ่ง ส อดคล ้อ งก ับคว ามต ้อ งก ารของผู ้ใ ช ้บ ัณฑ ิต ให ้พ ัฒน าค ุณภ าพของบ ัณฑ ิต ใน เ รื ่อ ง ภาษาต่างประเทศเป็นอันดับแรก เพราะเป็นความสามารถที่แสดงถึงการพัฒนาศักยภาพขององค์กร ในปัจจุบันภาษาต่างประเทศมีความจ าเป็นอย่างยิ่งในการใช้ชีวิตประจ าวัน โดยเฉพาะผู้ศึกษาในระดับอุดมศึกษา จ าเป็นต้องใช้อินเทอร์เน็ตในการสืบค้นข้อมูลต่างๆ เป็นประตูสู่ความรู้ อันกว้างขวาง และเมื่อส าเร็จการศึกษา ภาษาต่างประเทศจะเป็นคุณสมบัติประจ าตัวที่เพิ่มมูลค่าให้กับตัวบัณฑิต ดังนั ้น มหาวิทยาลัยฯ คณะ/วิทยาลัยฯ ควรมีนโยบายเร่งด่วนที่จะส่งเสริมสนับสนุนให้นักศึกษาทุกคน สามารถสื่อสารภาษาต่างประเทศได้ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ เพราะจะหมายถึงชื่อเสียงของมหาวิทยาลัยฯ อีกด้วย

Page 29: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

29 2. ควำมคิดเห็นต่อคุณลักษณะบัณฑิตของมหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลธัญบุรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ได้ก าหนดคุณลักษณะของบัณฑิตไว้ 4 ด้าน คือ บัณฑิตนักปฏิบัติ (Hand-on) ทักษะที่ใช้เทคโนโลยีเป็นฐาน (Technology Based Education & Training) เชี่ยวชาญวิชาชีพ (Professional Oriented) วุฒิภาวะ (Maturity) จึงได้ส ารวจความคิดเห็นของผู้ใช้บัณฑิต ผลการส ารวจพบว่าผู้ใช้บัณฑิตมีความคิดเห็นต่อคุณลักษณะบัณฑิต โดยรวม และรายด้านอยู่ในระดับมาก โดยรวม ( x = 3.79) และด้านวุฒิภาวะมากเป็นอันดับแรก ( x =4.06) รองลงมาคือด้านบัณฑิตนักปฏิบัติ ด้านเชี่ยวชาญวิชาชีพ และมีทักษะที่ใช้เทคโนโลยีเป็นฐาน ตามล าดับ เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่าบัณฑิตมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มีคุณลักษณะด้านวุฒิภาวะอยู่ในระดับสูง โดยเฉพาะการมีมนุษย์สัมพันธ์ดี/ท างานเป็นทีม รองลงมาได้แก่ความอดทน อ่อนน้อม สัมมาคารวะ และสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข จากผลการส ารวจ พบว่าคุณลักษณะบัณฑิตของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มีความเด่นในด้านวุฒิภาวะ โดยเฉพาะการมีมนุษย์สัมพันธ์สามารถท างานเป็นทีม แสดงให้เห็นว่ามหาวิทยาลัยฯ สามารถผลิตบัณฑิตที่มีคุณลักษณะที่ได้ก าหนดไว้จริง ส่วนคุณลักษณะในเรื่องความสามารถด้านภาษาต่างประเทศ เป็นเรื่องที่ผู้ ใช้บัณฑิตมีความเห็นในค่าเฉลี่ยที่ต่ าที่สุด มหาวิทยาลัยฯ ควรพัฒนาบัณฑิต ให้มีคุณลักษณะตรงกับที่ได้ก าหนดไว้

สรุปผลการส ารวจ ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อการปฏิบัติงานของบัณฑิต และคุณลักษณะบัณฑิตมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี รุ่นปีการศึกษา 2552 พบว่าผู้ใช้บัณฑิตมีความ พึงพอใจต่อการปฏิบัติงานของบัณฑิตเรื่องความสามารถท างานร่วมกับผู้อ่ืนได้/ท างานเป็นทีมได้ ค่าเฉลี่ยที่สูงสุด ซึ่งตรงกับคุณลักษณะบัณฑิตของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ด้านวุฒิภาวะ เรื่องการมีมนุษย์สัมพันธ์ และสามารถท างานเป็นทีม แสดงว่ามหาวิทยาลัยฯ สามารถผลิตบัณฑิตที่มีคุณลักษณะด้านวุฒิภาวะตามที่ได้ก าหนดไว้จริง ส่วนความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของบัณฑิตเรื่องความสามารถในการพูด อ่าน เขียน (ภาษาต่างประเทศ) ได้ในระดับพื้นฐาน ที่มีค่าเฉลี่ยต่ าที่สุด ซึ่งตรงกับคุณลักษณะบัณฑิต เรื่องความสามารถด้านภาษาต่างประเทศ ที่ผู้ใช้บัณฑิตมีความเห็น ด้วยค่าเฉลี่ยที่ต่ าที่สุดเช่นกัน และยังสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้บัณฑิตที่ต้องการให้พัฒนาคุณภาพและคุณลักษณะของบัณฑิตในเรื่อง ภาษาต่างประเทศมากเป็นอันดับแรก

3. ข้อเสนอแนะกำรพัฒนำคุณภำพ และคุณลักษณะของบัณฑิต จำกผู้ใช้บัณฑิต 3.1 ควรปรับปรุงด้านภาษาอังกฤษอย่างจริงจัง ให้บัณฑิตสามารถสื่อสาร ทั้งพูด อ่าน เขียนได้ 3.2 ควรให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติ ใช้ความคิดวิเคราะห์ รู้จักแก้ปัญหาต่างๆ ได้อย่างเป็นระบบ เพ่ือให้เกิดความเชี่ยวชาญและเกิดทักษะ พร้อมที่จะน าความรู้ไปปฏิบัติงานได้จริง 3.3 ควรจัดกิจกรรมส่งเสริมให้นักศึกษากล้าแสดงออก กล้าแสดงความคิดเห็นในห้องเรียน แสดงความคิดเห็นในการประชุม และกล้าพูดในที่ชุมชน 3.4 ควรส่งเสริมให้นักศึกษา ใฝ่เรียนรู ้ให้เป็นนิสัย และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื ่อง เพ่ือให้ก้าวทันเทคโนโลยีหรือวิทยาการใหม่ๆ อยู่เสมอ 3.5 ควรสอนวิชาศีลธรรม เป็นวิชาบังคับของทุกหลักสูตรควบคู่ไปกับการศึกษาวิชาการเพ่ือปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมให้แก่นักศึกษา

Page 30: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

30 ข้อเสนอแนะ

1. มหาวิทยาลัยฯ ควรมีนโยบายเร่งด่วน เพ่ือส่งเสริมสนับสนุนให้นักศึกษาทุกคนสามารถสื่อสารภาษาต่างประเทศได้ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ เพราะเป็นเรื่องที่ผู้ใช้บัณฑิตมีความพึงพอใจ ต่ าที่สุด และมีความต้องการให้มหาวิทยาลัยพัฒนาเป็นประการแรก ในปัจจุบันภาษาต่างประเทศมีความจ าเป็นอย่างยิ่งในการใช้ชีวิตประจ าวัน โดยเฉพาะผู้ศึกษาในระดับอุดมศึกษา จ าเป็นต้องใช้อินเทอร์เน็ตในการสืบค้นข้อมูลต่างๆ เป็นประตูสู่ความรู้อันกว้างขวาง และเมื่อส าเร็จการศึกษา ภาษาต่างประเทศจะเป็นคุณสมบัติประจ าตัวที่เพ่ิมมูลค่าให้กับตัวบัณฑิตเอง ดังนั้น มหาวิทยาลัยฯ คณะ/วิทยาลัยฯ ควรมีนโยบายเร่งด่วนที่จะส่งเสริมสนับสนุนให้นักศึกษาทุกคน สามารถสื่อสารภาษาต่างประเทศได้ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ เพราะจะหมายถึงชื่อเสียงของมหาวิทยาลัยฯ อีกด้วย 2. มหาวิทยาลัยฯ ควรปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมให้กับนักศึกษาไปพร้อมกับการสอนด้านวิชาการ เพราะถึงแม้บัณฑิตของมหาวิทยาลัยฯ จะเป็นผู้มีคุณลักษณะข้างต้นสูงอยู่แล้ว แต่ผู้ใช้บัณฑิตก็ยังมีความต้องการบัณฑิตที่มีคุณลักษณะ ขยัน ซื่อสัตย์ รับผิดชอบ ตรงต่อเวลา เสียสละ และอดทน ซึ่งหากบัณฑิตหรือบุคคลใดมีคุณลักษณะดังกล่าว ก็ย่อมเป็นที่ต้องการของหน่วยงานและสังคม และสามารถใช้ชีวิตร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุข

Page 31: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

31

ภำคผนวก 1

Page 32: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

32 ตารางภาคผนวกที่ 1 แสดงคา่เฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อ การปฏิบัติงานของบัณฑิตคณะครุศำสตร์อุตสำหกรรม จ าแนกเป็นรายด้านและรายข้อ

การปฏิบัติงานของบัณฑิต N=89

x S.D. ระดับความพึงพอใจ

ด้ำนคุณธรรม จริยธรรมและจรรยำบรรณในวิชำชีพ 4.11 .66 มำก 1. ความมีทัศนคติที่ดีต่อการท างาน และมีจรรยาบรรณในวิชาชีพ 4.17 .79 มาก 2. ความเสียสละ/มีจิตสาธารณะ 4.11 .80 มาก 3. ความสามารถจัดการกับปัญหาได้อย่างมีคุณธรรม 3.81 .77 มาก 4. ความมุ่งมั่น ขยันหมั่นเพียร 4.11 .83 มาก 5. ความอ่อนน้อม มีสัมมาคารวะ 4.27 .77 มาก 6. ความมีวินัย เคารพกฎระเบียบ ข้อบังคับขององค์กร 4.13 .71 มาก 7. ความตรงต่อเวลา 3.96 .80 มาก 8. ความซื่อสัตย์ 4.33 .75 มาก 9. ความรับผิดชอบ 4.08 .82 มาก ด้ำนควำมรู้ควำมสำมำรถทำงวิชำกำร/วิชำชีพ 3.90 .70 มำก 1. ความรู้ความสามารถในสาขาวิชาที่ส าเร็จ 4.02 .71 มาก 2. ความสามารถในการประยุกต์ความรู้มาใช้ในการปฏิบัติงาน 4.03 .83 มาก 3.สามารถน าเทคโนโลยีพื้นฐานไปพัฒนาและแก้ปัญหางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.00 .80 มาก 4. ความรู้ความเข้าใจในงานที่รับผิดชอบ 3.99 .87 มาก 5. ความรู้เท่าทันความก้าวหน้าทางวิทยาการ 3.85 .82 มาก 6. ความสามารถในการบริหารจัดการ 3.66 .88 มาก 7. ความสามารถในการสร้าง/พัฒนาองค์ความรู้ในการปฏิบัติงาน 3.76 .83 มาก ด้ำนเชำว์ปัญญำที่ส่งผลต่อกำรปฏิบัติงำน 3.85 .68 มำก 1. ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ 3.84 .82 มาก 2. ความสามารถแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างเป็นระบบ 3.72 .80 มาก 3. ความสามารถเชื่อมโยง บูรณาการหลักทฤษฎีมาใช้กับงานอย่างสร้างสรรค์ 3.84 .81 มาก 4. การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า 3.84 .82 มาก 5. ความสามารถในการรับรู้/เรียนรู้งาน 4.10 .74 มาก 6. ความสามารถในการน าเสนอผลงาน 3.85 .79 มาก 7. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 3.78 .77 มาก ด้ำนปฏิสัมพันธ์กับผู้ร่วมงำน 4.16 .74 มำก 1. ความสามารถท างานร่วมกับผู้อื่นได้/ท างานเป็นทีมได้ 4.29 .80 มาก 2. การรับฟังความคิดเห็นและการให้ความร่วมมือ 4.20 .73 มาก 3. ทักษะการประสานงาน ทั้งระดับบนและระดับล่าง 4.06 .88 มาก 4. ความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) การควบคุมอารมณ์ 4.06 .84 มาก 5. การปรับตัวและมีมนุษยสัมพันธ์ 4.18 .85 มาก 6. การแสดงออกอย่างมีกาละเทศะ 4.08 .86 มาก 7. ความประพฤติสุภาพเรียบร้อย 4.24 .81 มาก 8. มีบุคลิกภาพที่ดี 4.18 .85 มาก

Page 33: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

33 ตารางภาคผนวกที่ 1 (ต่อ)

การปฏิบัติงานของบัณฑิต N=98

x S.D. ระดับความพึงพอใจ

ด้ำนกำรสื่อสำรและกำรใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศ 3.77 .70 มำก 1. การสื่อสาร และการแสดงออก 3.97 .85 มาก 2. ความสามารถในการพูด เขียน และน าเสนอ (ภาษาไทย) ได้ดี 3.94 .79 มาก 3. สามารถในการพูด อ่าน เขียน (ภาษาต่างประเทศ) ได้ในระดับพื้นฐาน 3.34 .80 ปานกลาง 4. ความรอบรู้เทคโนโลยีสารสนเทศและน าไปประยุกต์ใช้กับงาน 3.88 .86 มาก 5. สามารถน าเทคโนโลยีสารสนเทศ ไปใช้พัฒนาองค์ความรู้ด้านวิชาชีพ 3.87 .84 มาก 6. สามารถใช้เทคนิคพื้นฐานทางสถิติ และคณิตศาสตร์เพื่อวิเคราะห์และ น าเสนองาน 3.63 .90 มาก

รวม 3.96 .64 มำก

Page 34: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

34 ตารางภาคผนวกที่ 2 แสดงข้อเสนอแนะความต้องการพัฒนาคุณภาพ และคุณลักษณะบัณฑิต คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม

ล าดับที่ ข้อเสนอแนะ ความถี่

1. กำรพัฒนำคุณภำพของบัณฑิต ขอให้เพิ่มการสอนภาคปฏิบัติหรือให้นักศึกษาหาประสบการณ์จากการท างานจริง เพื ่อให้เกิดทักษะ และมีความเชี ่ยวชาญในวิชาชีพ บัณฑิตที ่ม ีคุณภาพ ต้องรอบรู้ เชี่ยวชาญ และปฏิบัติงานได้จริง

11

2. ปรับปรุงวิธีการสอนภาษาอังกฤษอย่างจริงจัง เพราะมีความจ าเป็นในการพัฒนาศักยภาพขององค์กร และเป็นความก้าวหน้าของตัวบัณฑิตเอง

6

3. ควรแนะน าให้บัณฑิตน าความรู้มาใช้กับงานให้เกิดประโยชน์สูงสุด 6 4. เสริมสร้างแนวคิด และความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ให้รู้จัดคิดต่อยอด 4 5. ฝึกให้นักศึกษากล้าคิดอย่างสร้างสรรค์ กล้าท า กล้าแสดงออก กล้าน าเสนอ

ผลงาน “ท างานเป็น ต้องน าเสนอได้” 3

6. ควรฝึกให้นักศึกษาวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา และการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า 2 7. ควรเพิ่มความรู้ด้านการจัดการผลิต 2 8. มหาว ิทยาล ัยฯ ควรสอนว ิชาการและจร ิยธรรมควบคู ่ก ัน เพื ่อให ้บ ัณฑิต

เป็นคนเก่ง และคนดี 1

1. กำรพัฒนำคุณลักษณะบัณฑิต บัณฑิตควรมีคุณธรรม จริยธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต เสียสละ มีจิตสาธารณะ

12

2. ต้องการให้บัณฑิตมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 9 3. บัณฑิตควรมีความอดทนต่อการท างาน มุ่งมั่น และรักความก้าวหน้า 9 4. บัณฑิตควรมีมีระเบียบ วินัย เคารพกฏระเบียบของหน่วยงาน 7 5. ต้องการบัณฑิตที่มีมนุษยสัมพันธ์ดี เพื่อเป็นประโยชน์ในการประสานงาน 7 6. บัณฑิตควรมีลักษณะพร้อมเป็นผู้น า กล้าคิด กล้าแสดงออก 7 7. บัณฑิตควรมีลักษณะ ใฝ่เรียน ใฝ่รู้ พัฒนาตนเองตลอดเวลา 6 8. บัณฑิตควรมีความตรงต่อเวลา 5 9 บัณฑิตควรเคารพความคิดเห็นผู้อื่นให้เกียรติผู้ร่วมงาน รักษาวัฒนธรรมองค์กร 4

10. บัณฑิตต้องมีความฉลาดทางอารมณ์ ควบคุมอารมณ์ได้ 3 11. บัณฑิตต้องมีทัศนคติที่ดีกับการท างาน ต้องรักงานที่ท า 3 12. บัณฑิตต้องสามารถท างานเป็นทีม แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ 3 13. บัณฑิตต้องมีความอ่อนน้อม มีสัมมาคารวะต่อผู้ใหญ่ 3 14. บัณฑิตควรพัฒนาทักษะของตนเอง เพื่อสามารถท างานได้จริงในสาขาที่จบ

และต้องสามารถน าเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้กับงาน 3

Page 35: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

35 ารางภาคผนวกที่ 3 แสดงค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อ การปฏิบัติงาน ของบัณฑิตเทคโนโลยีกำรเกษตร จ าแนกรายด้านและรายข้อ

การปฏิบัติงานของบัณฑิต N = 12

x S.D. ระดับความพึงพอใจ

ด้ำนคุณธรรม จริยธรรมและจรรยำบรรณในวิชำชีพ 4.19 .63 มำก 1. ความมีทัศนคติที่ดีต่อการท างาน และมีจรรยาบรรณในวิชาชีพ 4.33 .49 มาก 2. ความเสียสละ/มีจิตสาธารณะ 4.42 .52 มาก 3. ความสามารถจัดการกับปัญหาได้อย่างมีคุณธรรม 4.17 .58 มาก 4. ความมุ่งมั่น ขยันหมั่นเพียร 4.00 .85 มาก 5. ความอ่อนน้อม มีสัมมาคารวะ 4.33 .65 มาก 6. ความมีวินัย เคารพกฎระเบียบ ข้อบังคับขององค์กร 4.17 .72 มาก 7. ความตรงต่อเวลา 3.92 .90 มาก 8. ความซื่อสัตย์ 4.25 .75 มาก 9. ความรับผิดชอบ 4.08 .90 มาก ด้ำนควำมรู้ควำมสำมำรถทำงวิชำกำร/วิชำชีพ 3.86 .61 มำก 1. ความรู้ความสามารถในสาขาวิชาที่ส าเร็จ 3.83 .72 มาก 2. ความสามารถในการประยุกต์ความรู้มาใช้ในการปฏิบัติงาน 3.92 .67 มาก 3.สามารถน าเทคโนโลยีพื้นฐานไปพัฒนาและแก้ปัญหางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.67 .78 มาก 4. ความรู้ความเข้าใจในงานที่รับผิดชอบ 4.08 .67 มาก 5. ความรู้เท่าทันความก้าวหน้าทางวิทยาการ 3.75 .75 มาก 6. ความสามารถในการบริหารจัดการ 3.92 .67 มาก 7. ความสามารถในการสร้าง/พัฒนาองค์ความรู้ในการปฏิบัติงาน 3.83 .72 มาก ด้ำนเชำว์ปัญญำที่ส่งผลต่อกำรปฏิบัติงำน 3.62 .77 มำก 1. ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ 3.58 .67 มาก 2. ความสามารถแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างเป็นระบบ 3.58 .67 มาก 3.ความสามารถเชื่อมโยงบูรณาการหลักทฤษฎีมาใช้กับงานอย่างสร้างสรรค์ 3.58 .99 มาก 4. การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า 3.58 .99 มาก 5. ความสามารถในการรับรู้/เรียนรู้งาน 3.83 .84 มาก 6. ความสามารถในการน าเสนอผลงาน 3.58 .90 มาก 7. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 3.58 .90 มาก ด้ำนปฏิสัมพันธ์กับผู้ร่วมงำน 3.93 .72 มำก 1. ความสามารถท างานร่วมกับผู้อื่นได้/ท างานเป็นทีมได้ 3.92 .99 มาก 2. การรับฟังความคิดเห็นและการให้ความร่วมมือ 4.00 .95 มาก 3. ทักษะการประสานงาน ทั้งระดับบนและระดับล่าง 3.50 1.00 มาก 4. ความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) การควบคุมอารมณ์ 3.75 .87 มาก 5. การปรับตัวและมีมนุษยสัมพันธ์ 3.92 .90 มาก

Page 36: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

36 ตารางภาคผนวกที่ 3 (ต่อ)

การปฏิบัติงานของบัณฑิต N=12

x S.D. ระดับความพึงพอใจ

6. การแสดงออกอย่างมีกาละเทศะ 3.92 .99 มาก 7. ความประพฤติสุภาพเรียบร้อย 4.33 .65 มาก 8. มีบุคลิกภาพที่ดี 4.08 .67 มาก ด้ำนกำรสื่อสำรและกำรใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศ 3.58 .60 มำก 1. การสื่อสาร และการแสดงออก 3.92 .67 มาก 2. ความสามารถในการพูด เขียน และน าเสนอ (ภาษาไทย) ได้ดี 3.67 .65 มาก 3. สามารถในการพูด อ่าน เขียน (ภาษาต่างประเทศ) ได้ในระดับพื้นฐาน 3.33 .78 ปานกลาง 4. ความรอบรู้เทคโนโลยีสารสนเทศและน าไปประยุกต์ใช้กับงาน 3.67 .65 มาก 5. สามารถน าเทคโนโลยีสารสนเทศ ไปใช้พัฒนาองค์ความรู้ด้านวิชาชีพ 3.50 .67 ปานกลาง 6. สามารถใช้เทคนิคพื้นฐานทางสถิติ และคณิตศาสตร์เพื่อวิเคราะห์และ น าเสนองาน

3.42 .67 ปานกลาง

รวม 3.83 .61 มำก

Page 37: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

37 ตารางภาคผนวกที่ 4 แสดงข้อเสนอแนะความต้องการพัฒนาคุณภาพ และคุณลักษณะ บัณฑิตคณะเทคโนโลยีการเกษตร ล าดับที่ ข้อเสนอแนะ ความถี่

1.

กำรพัฒนำคุณภำพของบัณฑิต ควรสอนภาษาต่างประเทศให้เข้มข้นขึ้น

1

2. ควรฝึกฝนการน าเสนอผลงาน ให้นักศึกษากล้าแสดงออก 1 3. ควรมีการฝึกประสบการณ์ในการท างาน ก่อนจบการศึกษา 1 4. ควรปลูกฝังค่านิยมความเป็นคนไทย 1 5. ควรสอนให้บัณฑิตมีความรู้ด้านวิชาการให้มากขึ้น 1 6. ควรพัฒนานักศึกษาในเรื่องการคิดวิเคราะห์ 1

1. กำรพัฒนำคุณลักษณะบัณฑิต บัณฑิตควรมีความสามาถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และสามารถอ่าน เขียน พูด ภาษาอังกฤษ ได้

3

2. บัณฑิตควรขยันหมั่นเพียร กระตือรือร้น ใฝ่หาความรู้เพื่อน ามาพัฒนางาน 3 3. บัณฑิตต้องมีความอดทน อดกลั้น 2 4. บัณฑิตควรมีความซื่อสัตย์ มีวินัย และตรงต่อเวลา 2 5. บัณฑิตต้องเสียสละเพื่อส่วนรวม ไม่เอาเปรียบผู้อื่น 2 6. บัณฑิตควรมีความรับผิดชอบ 2 7. บัณฑิตต้องสามารถประยุกต์ศาสตร์และศิลป์ที่เรียนมาใช้กับงานที่ท าได้ 1

Page 38: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

38 ตารางภาคผนวกที่ 5 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อ การปฏิบัติงานของบัณฑิตคณะเทคโนโลยีคหกรรมศำสตร์ จ าแนกเป็นรายด้านและรายข้อ

การปฏิบัติงานของบัณฑิต N=33

x S.D. ระดับความพึงพอใจ

ด้ำนคุณธรรม จริยธรรมและจรรยำบรรณในวิชำชีพ 3.89 .59 มำก 1. ความมีทัศนคติที่ดีต่อการท างาน และมีจรรยาบรรณในวิชาชีพ 3.82 .68 มาก 2. ความเสียสละ/มีจิตสาธารณะ 3.85 .83 มาก 3. ความสามารถจัดการกับปัญหาได้อย่างมีคุณธรรม 3.61 .82 มาก 4. ความมุ่งมั่น ขยันหมั่นเพียร 3.82 .76 มาก 5. ความอ่อนน้อม มีสัมมาคารวะ 4.03 .81 มาก 6. ความมีวินัย เคารพกฎระเบียบ ข้อบังคับขององค์กร 3.85 .71 มาก 7. ความตรงต่อเวลา 3.88 .69 มาก 8. ความซื่อสัตย์ 4.15 .71 มาก 9. ความรับผิดชอบ 4.03 .77 มาก ด้ำนควำมรู้ควำมสำมำรถทำงวิชำกำร/วิชำชีพ 3.55 .74 มำก 1. ความรู้ความสามารถในสาขาวิชาที่ส าเร็จ 3.64 .85 มาก 2. ความสามารถในการประยุกต์ความรู้มาใช้ในการปฏิบัติงาน 3.55 .83 มาก 3.สามารถน าเทคโนโลยีพื้นฐานไปพัฒนาและแก้ปัญหางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.48 .79 ปานกลาง 4. ความรู้ความเข้าใจในงานที่รับผิดชอบ 3.70 .77 มาก 5. ความรู้เท่าทันความก้าวหน้าทางวิทยาการ 3.67 .85 มาก 6. ความสามารถในการบริหารจัดการ 3.39 .82 ปานกลาง 7. ความสามารถในการสร้าง/พัฒนาองค์ความรู้ในการปฏิบัติงาน 3.45 .86 ปานกลาง ด้ำนเชำว์ปัญญำที่ส่งผลต่อกำรปฏิบัติงำน 3.50 .64 ปำนกลำง 1. ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ 3.42 .70 ปานกลาง 2. ความสามารถแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างเป็นระบบ 3.36 .65 ปานกลาง 3. ความสามารถเชื่อมโยงบูรณาการหลักทฤษฎีมาใช้กับงานอย่างสร้างสรรค์ 3.42 .75 ปานกลาง 4. การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า 3.48 .79 ปานกลาง 5. ความสามารถในการรับรู้/เรียนรู้งาน 3.82 .80 มาก 6. ความสามารถในการน าเสนอผลงาน 3.52 .71 มาก 7. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 3.48 .79 ปานกลาง ด้ำนปฏิสัมพันธ์กับผู้ร่วมงำน 3.88 .63 มำก 1. ความสามารถท างานร่วมกับผู้อื่นได้/ท างานเป็นทีมได้ 4.06 .86 มาก 2. การรับฟังความคิดเห็นและการให้ความร่วมมือ 4.00 .86 มาก 3. ทักษะการประสานงาน ทั้งระดับบนและระดับล่าง 3.58 .70 มาก 4. ความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) การควบคุมอารมณ์ 3.70 .84 มาก 5. การปรับตัวและมีมนุษยสัมพันธ์ 3.97 .72 มาก

Page 39: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

39 ตารางภาคผนวกที่ 5 (ต่อ)

การปฏิบัติงานของบัณฑิต N=33

x S.D. ระดับความพึงพอใจ

6. การแสดงออกอย่างมีกาละเทศะ 3.79 .69 มาก 7. ความประพฤติสุภาพเรียบร้อย 4.00 .70 มาก 8. มีบุคลิกภาพที่ดี 3.94 .70 มาก ด้ำนกำรสื่อสำรและกำรใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศ 4.09 .70 มำก 1. การสื่อสาร และการแสดงออก 3.70 .68 มาก 2. ความสามารถในการพูด เขียน และน าเสนอ (ภาษาไทย) ได้ดี 3.85 .66 มาก 3. สามารถในการพูด อ่าน เขียน (ภาษาต่างประเทศ) ได้ในระดับพื้นฐาน 3.12 .78 ปานกลาง 4. ความรอบรู้เทคโนโลยีสารสนเทศและน าไปประยุกต์ใช้กับงาน 3.42 .75 ปานกลาง 5. สามารถน าเทคโนโลยีสารสนเทศ ไปใช้พัฒนาองค์ความรู้ด้านวิชาชีพ 3.48 .71 ปานกลาง 6. สามารถใช้เทคนิคพื้นฐานทางสถิติและคณิตศาสตร์เพื่อวิเคราะห์และ น าเสนองาน 3.48 .71 ปานกลาง

รวม 3.78 .62 มำก

Page 40: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

40 ตารางภาคผนวกที่ 6 แสดงข้อเสนอแนะความต้องการพัฒนาคุณภาพ และคุณลักษณะ บัณฑิตคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ ล าดับที่ ข้อเสนอแนะ ความถี่

1.

กำรพัฒนำคุณภำพของบัณฑิต พัฒนาภาษาอังกฤษ โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับสาขาที่เรียน

10

2. พัฒนาการค าณวน (คณิตศาสตร์) 5 3. เพิ่มทักษะการน าเสนองานอย่างมีระบบ รู้จักจัดล าดับ ก่อน-หลัง 5 4. พัฒนาความรู้เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ การใช้เทคโนโลยีใหม่ๆเพื่อให้บัณฑิต

มีความรู้กว้างขวาง 4

5. ฝึกฝนการวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นและการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า 3

1. กำรพัฒนำคุณลักษณะบัณฑิต ต้องการให้บัณฑิตมีบุคลิกภาพที่ดี วางตัวเหมาะสม อ่อนน้อมถ่อมตน

8

2. พัฒนาภาวะผู้น า บัณฑิตควรมีลักษณะความเป็นผู้น า 5 3. บัณฑิตควรมีความสามารถสื่อสารภาษาอังกฤษกับชาวต่างประเทศได้ 5 4. พัฒนาความกล้าแสดงออก กล้าพูด กล้าแสดงความคิดเห็นมีความมั่นใจในตนเอง 5 5. บัณฑิตควรรอบรู้เทคโนโลยีสารสนเทศ 3 6. บัณฑิตควรมีความคิดสร้างสรรค์ รู้จักพัฒนาผลิตภัณฑ์แปลกใหม่ 2 7. บัณฑิตควรมีความอดทนต่อการท างาน/ เพื่อนร่วมงาน 2 8 ควรปลูกฝังความรับผิดชอบ 9 บัณฑิตควรมีความกระตือรือร้น และพัฒนาตนเองอยู่เสมอ 2

10. บัณฑิต ควรมีความซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา 2 11. ควรปลูกฝังคุณธรรมที่ดี ความพอเพียง การอยู่ร่วมในสังคมอย่างมีสุข 1 12. บัณฑิตควรมีทักษะการสื่อสาร และการประสานงาน 1

Page 41: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

41 ตารางภาคผนวกที่ 7 แสดงค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อ การปฏิบัติงานของบัณฑิตคณะเทคโนโลยีสื่อสำรมวลชน จ าแนกเป็นรายด้านและรายข้อ

การปฏิบัติงานของบัณฑิต N=45

x S.D. ระดับความพึงพอใจ

ด้ำนคุณธรรม จริยธรรมและจรรยำบรรณในวิชำชีพ 3.77 .54 มำก 1. ความมีทัศนคติที่ดีต่อการท างาน และมีจรรยาบรรณในวิชาชีพ 3.73 .69 มาก 2. ความเสียสละ/มีจิตสาธารณะ 3.82 .65 มาก 3. ความสามารถจัดการกับปัญหาได้อย่างมีคุณธรรม 3.56 .59 มาก 4. ความมุ่งมั่น ขยันหมั่นเพียร 3.78 .70 มาก 5. ความอ่อนน้อม มีสัมมาคารวะ 4.02 .69 มาก 6. ความมีวินัย เคารพกฎระเบียบ ข้อบังคับขององค์กร 3.64 .74 มาก 7. ความตรงต่อเวลา 3.44 .84 ปานกลาง 8. ความซื่อสัตย์ 3.96 .77 มาก 9. ความรับผิดชอบ 3.96 .80 มาก ด้ำนควำมรู้ควำมสำมำรถทำงวิชำกำร/วิชำชีพ 3.64 .58 มำก 1. ความรู้ความสามารถในสาขาวิชาที่ส าเร็จ 3.67 .77 มาก 2. ความสามารถในการประยุกต์ความรู้มาใช้ในการปฏิบัติงาน 3.73 .75 มาก 3. สามารถน าเทคโนโลยีพื้นฐานไปพัฒนาและแก้ปัญหางานได้อย่าง มีประสิทธิภาพ 3.62 .65 มาก

4. ความรู้ความเข้าใจในงานที่รับผิดชอบ 3.91 .70 มาก 5. ความรู้เท่าทันความก้าวหน้าทางวิทยาการ 3.67 .74 มาก 6. ความสามารถในการบริหารจัดการ 3.38 .72 ปานกลาง 7. ความสามารถในการสร้าง/พัฒนาองค์ความรู้ในการปฏิบัติงาน 3.53 .69 มาก ด้ำนเชำว์ปัญญำที่ส่งผลต่อกำรปฏิบัติงำน 3.56 .55 มำก 1. ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ 3.47 .63 ปานกลาง 2. ความสามารถแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างเป็นระบบ 3.44 .66 ปานกลาง 3. ความสามารถเชื่อมโยงบูรณาการหลักทฤษฎีมาใช้กับงานอย่างสร้างสรรค์ 3.42 .69 ปานกลาง 4. การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า 3.67 .71 มาก 5. ความสามารถในการรับรู้/เรียนรู้งาน 3.98 .58 มาก 6. ความสามารถในการน าเสนอผลงาน 3.47 .69 ปานกลาง 7. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 3.47 .76 ปานกลาง ด้ำนปฏิสัมพันธ์กับผู้ร่วมงำน 4.00 .55 มำก 1. ความสามารถท างานร่วมกับผู้อื่นได้/ท างานเป็นทีมได้ 4.11 .65 มาก 2. การรับฟังความคิดเห็นและการให้ความร่วมมือ 4.13 .69 มาก 3. ทักษะการประสานงาน ทั้งระดับบนและระดับล่าง 3.84 .64 มาก 4. ความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) การควบคุมอารมณ์ 3.80 .59 มาก 5. การปรับตัวและมีมนุษยสัมพันธ์ 4.22 .67 มาก 6. การแสดงออกอย่างมีกาละเทศะ 3.89 .71 มาก 7. ความประพฤติสุภาพเรียบร้อย 4.07 .72 มาก 8. มีบุคลิกภาพที่ดี 3.93 .65 มาก

Page 42: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

42 ตารางภาคผนวกที่ 7 (ต่อ)

การปฏิบัติงานของบัณฑิต N =45

x S.D. ระดับความพึงพอใจ

ด้ำนกำรสื่อสำรและกำรใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศ 3.49 .57 ปำนกลำง 1. การสื่อสาร และการแสดงออก 3.67 .64 มาก 2. ความสามารถในการพูด เขียน และน าเสนอ (ภาษาไทย) ได้ดี 3.80 .63 มาก 3. สามารถในการพูด อ่าน เขียน (ภาษาต่างประเทศ) ได้ในระดับพื้นฐาน 3.02 .78 ปานกลาง 4. ความรอบรู้เทคโนโลยีสารสนเทศและน าไปประยุกต์ใช้กับงาน 3.60 .69 มาก 5. สามารถน าเทคโนโลยีสารสนเทศ ไปใช้พัฒนาองค์ความรู้ด้านวิชาชีพ 3.64 .68 มาก 6. สามารถใช้เทคนิคพื้นฐานทางสถิติ และคณิตศาสตร์เพื่อวิเคราะห์ และน าเสนองาน

3.22 .77 ปานกลาง

รวม 3.69 .48 มำก

Page 43: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

43 ตารางภาคผนวกที่ 8 แสดงข้อเสนอแนะความต้องการพัฒนาคุณภาพ และคุณลักษณะ บัณฑิตคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน

ล าดับที่ ข้อเสนอแนะ ความถี่

1. กำรพัฒนำคุณภำพของบัณฑิต ศึกษาเทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อปรับใช้กับงาน เป็นการพัฒนาคุณภาพตนเอง

6

2. ควรให้นักศึกษาปฏิบัติให้มาก เพื ่อรอบรู ้ในสาขาที ่เร ียนมา และสามารถ น าความรู้สู่การปฏิบัติจริง

6

3. บัณฑิตควรมีมุมมองหลากหลาย ยอมรับการเปลี่ยนแปลง และรับความรู้ใหม่ 4 4. บัณฑิตควรพัฒนาคุณภาพการใช้ภาษา ทั้งภาษาไทย และภาษาต่างประเทศ 3 5. บัณฑิตควรปฏิบัติตามกฏระเบียบขององค์กร ไม่ควรต่อต้าน 1

1. กำรพัฒนำคุณลักษณะบัณฑิต บัณฑิตควรใฝ่รู้ มีจินตนาการ เพื่อสร้างสรรค์ผลงานใหม่ๆ

8

2. บัณฑิตควรมีคุณลักษณะมั่นใจในตนเอง และกล้าแสดงออก มีความเป็นผู้น า 7 3. บัณฑิตควรมีความรับผิดชอบ 5 4. บัณฑิตควรยอมรับความคิดเห็น และฟังค าแนะน าของผู้อื่นได้ มีสัมมาคารวะ 5 5. บัณฑิตต้องตรงต่อเวลา 5 6. ควรปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม เพราะเป็นพื้นฐานในการด ารงชีวิต 4 7. ต้องการให้บัณฑิตมีบุคลิกดี สมาร์ท เชื่อมั่นในสถาบันของตน 4 8. บัณฑิตต้องมีความอดทนต่อการท างาน 3 9 บัณฑิตควรมีความเสียสละเพื่อส่วนรวม 2

10. บัณฑิตควรมีความกระตือรือร้นในการท างาน 1

Page 44: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

44 ตารางภาคผนวกที่ 9 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตท่ีมีต่อ การปฏิบัติงาน ของบัณฑิตคณะบริหารธุรกิจ จ าแนกรายด้านและข้อ

การปฏิบัติงานของบัณฑิต N=327

x S.D. ระดับความพึงพอใจ

ด้ำนคุณธรรม จริยธรรมและจรรยำบรรณในวิชำชีพ 4.09 .62 มำก 1. ความมีทัศนคติที่ดีต่อการท างาน และมีจรรยาบรรณในวิชาชีพ 4.05 .72 มาก 2. ความเสียสละ/มีจิตสาธารณะ 4.04 .75 มาก 3. ความสามารถจัดการกับปัญหาได้อย่างมีคุณธรรม 3.80 .71 มาก 4. ความมุ่งมั่น ขยันหมั่นเพียร 4.13 .80 มาก 5. ความอ่อนน้อม มีสัมมาคารวะ 4.24 .74 มาก 6. ความมีวินัย เคารพกฎระเบียบ ข้อบังคับขององค์กร 4.11 .79 มาก 7. ความตรงต่อเวลา 4.00 .86 มาก 8. ความซื่อสัตย์ 4.31 .69 มาก 9. ความรับผิดชอบ 4.15 .81 มาก ด้ำนควำมรู้ควำมสำมำรถทำงวิชำกำร/วิชำชีพ 3.79 .64 มำก 1. ความรู้ความสามารถในสาขาวิชาที่ส าเร็จ 3.84 .70 มาก 2. ความสามารถในการประยุกต์ความรู้มาใช้ในการปฏิบัติงาน 3.78 .73 มาก 3.สามารถน าเทคโนโลยีพื้นฐานไปพัฒนาและแก้ปัญหางานได้อย่างมีระสิทธิภาพ 3.82 .77 มาก 4. ความรู้ความเข้าใจในงานที่รับผิดชอบ 3.95 .79 มาก 5. ความรู้เท่าทันความก้าวหน้าทางวิทยาการ 3.82 .72 มาก 6. ความสามารถในการบริหารจัดการ 3.65 .77 มาก 7. ความสามารถในการสร้าง/พัฒนาองค์ความรู้ในการปฏิบัติงาน 3.67 .72 มาก ด้ำนเชำว์ปัญญำที่ส่งผลต่อกำรปฏิบัติงำน 3.67 .63 มำก 1. ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ 3.63 .71 มาก 2. ความสามารถแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างเป็นระบบ 3.58 .78 มาก 3. ความสามารถเชื่อมโยงบูรณาการหลักทฤษฎีมาใช้กับงานอย่างสร้างสรรค์ 3.54 .74 มาก 4. การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า 3.60 .78 มาก 5. ความสามารถในการรับรู้/เรียนรู้งาน 3.98 .71 มาก 6. ความสามารถในการน าเสนอผลงาน 3.69 .74 มาก 7. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 3.65 .77 มาก

Page 45: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

45 ตารางภาคผนวกที่ 9 (ต่อ)

การปฏิบัติงานของบัณฑิต N = 327

x S.D. ระดับความพึงพอใจ

ด้ำนปฏิสัมพันธ์กับผู้ร่วมงำน 4.13 .63 มำก 1. ความสามารถท างานร่วมกับผู้อื่นได้/ท างานเป็นทีมได้ 4.27 .77 มาก 2. การรับฟังความคิดเห็นและการให้ความร่วมมือ 4.22 .71 มาก 3. ทักษะการประสานงาน ทั้งระดับบนและระดับล่าง 3.96 .77 มาก 4. ความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) การควบคุมอารมณ์ 3.93 .78 มาก 5. การปรับตัวและมีมนุษยสัมพันธ์ 4.22 .70 มาก 6. การแสดงออกอย่างมีกาละเทศะ 4.08 .74 มาก 7. ความประพฤติสุภาพเรียบร้อย 4.22 .74 มาก 8. มีบุคลิกภาพที่ดี 4.11 .77 มาก ด้ำนกำรสื่อสำรและกำรใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศ 3.70 .62 มำก 1. การสื่อสาร และการแสดงออก 3.90 .73 มาก 2. ความสามารถในการพูด เขียน และน าเสนอ (ภาษาไทย) ได้ดี 3.92 .74 มาก 3. สามารถในการพูด อ่าน เขียน (ภาษาต่างประเทศ) ได้ในระดับพื้นฐาน 3.31 .81 ปานกลาง 4. ความรอบรู้เทคโนโลยีสารสนเทศและน าไปประยุกต์ใช้กับงาน 3.80 .75 มาก 5. สามารถน าเทคโนโลยีสารสนเทศ ไปใช้พัฒนาองค์ความรู้ด้านวิชาชีพ 3.74 .75 มาก 6. สามารถใช้เทคนิคพื้นฐานทางสถิติ และคณิตศาสตร์เพื่อวิเคราะห์ และน าเสนองาน

3.56 .78 มาก

รวม 3.88 .56 มำก

Page 46: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

46 ตารางภาคผนวกที่ 10 แสดงข้อเสนอแนะความต้องการพัฒนาคุณภาพ และคุณลักษณะบัณฑิต คณะบริหารธุรกิจ

ล าดับที่ ข้อเสนอแนะ ความถี่

1. กำรพัฒนำคุณภำพของบัณฑิต ควรให้นักศึกษาไทยมีโอกาสพูดคุยกับนักศึกษาต่างประเทศเพื ่อฝึกใช้ภาษาต่อเนื ่อง ท าให้มีความกล้า ซึ ่งปัจจุบันภาษาต่างประเทศเป็นสิ ่งส าคัญในการท างาน ทั้งการพูด อ่าน และเขียน

37

2. ควรให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติจริงโดยให้ฝึกงานกับหน่วยงานต่างๆ หรือดูงานเพื่อเป็นประสบการณ์ และน าความรู้ไปประกอบการท างาน

21

3. บัณฑิตต้องสามารถน าความรู้ที่ได้จากการเรียนและประสบการณ์มาประยุกต์ใช้กับงานได้จริง และควรมีความรู้ความสามารถนอกเหนือจากในสาขาวิชาที่เรียนด้วย

21

4. บัณฑิตควรน าเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือวิทยาการใหม่ๆ มาประยุกต์ใช้กับงาน ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

11

5. เพิ่มกิจกรรมให้นักศึกษากล้าแสดงออก กล้าพูดในที่ชุมชน กล้าน าเสนอ -ผลงาน แสดงความคิดเห็นอย่างเป็นระบบ

11

6. ควรฝึกนักศึกษาให้แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า วิเคราะห์ปัญญาต่าง ๆ และแก้ไข 8 7 ควรฝึกการสื่อสาร การจับประเด็น การประสานงาน 5 8 ควรให้นักศึกษาใช้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน เช่น Microsolf Word ,Excel ได้ 5 9 บัณฑิตควรกล้าเสนอแนะเพื่อปรับปรุงวิธีการท างานให้ง่ายขึ้น เร็วขึ้น เพื่อ

ความก้าวหน้าของหน่วยงาน 5

10 มีการปฏิบัติในห้องเรียนให้มากขึ้น และให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นบ่อยๆ จะเป็นการเพิ่มทักษะให้กับบัณฑิต

4

11 ควรจ าลองการท างาน ท า Work Shop หรือ Case Study เกี่ยวกับวิชาชีพบัญชี ภาษีอากร ภาษีศุลกากร เพื่อบัณฑิตมีพื้นฐานการท างาน

4

12 ควรจัดการศึกษาในระบบสหกิจ 3 1

กำรพัฒนำคุณลักษณะบัณฑิต บัณฑิตควรลักษณะ ขยัน ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบในหน้าที่ และการกระท าของตนเอง

44

2 ต้องการให้บัณฑิตมีความอดทนในการท างาน 24 3 บัณฑิตควรมีความกระตือรือร้น สนใจ ใฝ่รู้ เพื่อพัฒนาตนเองและพัฒนางาน 21 4 บัณฑิตควรมีความเป็นผู้น า มีความมั่นใจในตัวเอง กล้าตัดสินใจ กล้าแสดงออก

ในสิ่งที่ถูก กล้าพูด และแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุมีผล 17

5 บัณฑิตควรมีคุณธรรม จริยธรรม มีวัฒนธรรม มีจิตอาสา กริยาสุภาพ อ่อนน้อม 16

Page 47: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

47 ตารางภาคผนวกที่ 10 (ต่อ) ล าดับที่ ข้อเสนอแนะ ความถี่

6

กำรพัฒนำคุณลักษณะบัณฑิต บัณฑิตควรมีวินัย รักษากฏระเบียบขององค์กร และรักองค์กร

14

7 บัณฑิตควรมีบุคลิกภาพดี น่าเชื ่อถือ แต่งกายสุภาพเรียบร้อย เหมาะกับกาละเทศะ

13

8 บัณฑิตควรมีมนุษย์สัมพันธ์ ท างานร่วมกับผู้อื่นได้ มีทัศนคติที่ดีต่อการท างาน การปรับตัวให้เข้าเพื่อนร่วมงาน และสภาพแวดล้อมในสถานที่ท างาน

13

9 บัณฑิตควรมีความเสียสละ มีจิตสาธารณะ ใช้ชีวิตบนความพอเพียง 11 10 จัดกระบวนการคิดวิเคราะห์และวางแผนอย่างเป็นระบบ บัณฑิตต้องคิดเป็น

ท าเป็น แก้ปัญหาได้ 10

11 บัณฑิตต้องสามารถควบคุมอารมณ์ให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข 9 12 บัณฑิตต้องมีความคิดสร้างสรรค์ 5 13 บัณฑิตควรมีความสามารถในการติดต่อประสานงาน ในการสื่อสาร

ต้องพูดชัด ฉับไว การเขียนต้องถูกต้อง 4

14 ต้องการให้บัณฑิตเรียนรู้งานใหม่อย่างรวดเร็ว มีความพร้อมเรียนรู้งาน 2

Page 48: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

48 ตารางภาคผนวกที่ 11 แสดงค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อ การปฏิบัติงานของบัณฑิตคณะวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี จ าแนกเป็นรายด้านและรายข้อ

การปฏิบัติงานของบัณฑิต N=53

x S.D. ระดับความพึงพอใจ

ด้ำนคุณธรรม จริยธรรมและจรรยำบรรณในวิชำชีพ 4.13 .68 มำก 1. ความมีทัศนคติที่ดีต่อการท างาน และมีจรรยาบรรณในวิชาชีพ 4.17 .73 มาก 2. ความเสียสละ/มีจิตสาธารณะ 4.00 .83 มาก 3. ความสามารถจัดการกับปัญหาได้อย่างมีคุณธรรม 3.91 .79 มาก 4. ความมุ่งมั่น ขยันหมั่นเพียร 4.09 .86 มาก 5. ความอ่อนน้อม มีสัมมาคารวะ 4.32 .75 มาก 6. ความมีวินัย เคารพกฎระเบียบ ข้อบังคับขององค์กร 4.11 .82 มาก 7. ความตรงต่อเวลา 4.09 .82 มาก 8. ความซื่อสัตย์ 4.30 .72 มาก 9. ความรับผิดชอบ 4.19 .83 มาก ด้ำนควำมรู้ควำมสำมำรถทำงวิชำกำร/วิชำชีพ 3.80 .69 มำก 1. ความรู้ความสามารถในสาขาวิชาที่ส าเร็จ 3.92 .83 มาก 2. ความสามารถในการประยุกต์ความรู้มาใช้ในการปฏิบัติงาน 3.74 .81 มาก 3.สามารถน าเทคโนโลยีพื้นฐานไปพัฒนาและแก้ปัญหางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.83 .83 มาก 4. ความรู้ความเข้าใจในงานที่รับผิดชอบ 4.04 .71 มาก 5. ความรู้เท่าทันความก้าวหน้าทางวิทยาการ 3.81 .81 มาก 6. ความสามารถในการบริหารจัดการ 3.64 .79 มาก 7. ความสามารถในการสร้าง/พัฒนาองค์ความรู้ในการปฏิบัติงาน 3.64 .74 มาก ด้ำนเชำว์ปัญญำที่ส่งผลต่อกำรปฏิบัติงำน 3.71 .69 มำก 1. ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ 3.72 .77 มาก 2. ความสามารถแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างเป็นระบบ 3.68 .75 มาก 3. ความสามารถเชื่อมโยงบูรณาการหลักทฤษฎีมาใช้กับงานอย่างสร้างสรรค์ 3.70 .75 มาก 4. การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า 3.70 .75 มาก 5. ความสามารถในการรับรู้/เรียนรู้งาน 3.94 .80 มาก 6. ความสามารถในการน าเสนอผลงาน 3.60 .84 มาก 7. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 3.60 .82 มาก

Page 49: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

49 ตารางภาคผนวกที่ 11 (ต่อ)

การปฏิบัติงานของบัณฑิต N = 327

x S.D. ระดับความพึงพอใจ

ด้ำนปฏิสัมพันธ์กับผู้ร่วมงำน 4.09 .71 มำก 1. ความสามารถท างานร่วมกับผู้อื่นได้/ท างานเป็นทีมได้ 4.23 72 มาก 2. การรับฟังความคิดเห็นและการให้ความร่วมมือ 4.17 .78 มาก 3. ทักษะการประสานงาน ทั้งระดับบนและระดับล่าง 3.94 .82 มาก 4. ความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) การควบคุมอารมณ์ 3.89 .80 มาก 5. การปรับตัวและมีมนุษยสัมพันธ์ 4.15 .77 มาก 6. การแสดงออกอย่างมีกาละเทศะ 4.00 .90 มาก 7. ความประพฤติสุภาพเรียบร้อย 4.23 .89 มาก 8. มีบุคลิกภาพที่ดี 4.11 .89 มาก ด้ำนกำรสื่อสำรและกำรใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศ 3.62 .64 มำก 1. การสื่อสาร และการแสดงออก 3.77 .78 มาก 2. ความสามารถในการพูด เขียน และน าเสนอ (ภาษาไทย) ได้ดี 3.79 .74 มาก 3. สามารถในการพูด อ่าน เขียน (ภาษาต่างประเทศ) ได้ในระดับพื้นฐาน 3.11 .85 ปานกลาง 4. ความรอบรู้เทคโนโลยีสารสนเทศและน าไปประยุกต์ใช้กับงาน 3.79 .91 มาก 5. สามารถน าเทคโนโลยีสารสนเทศ ไปใช้พัฒนาองค์ความรู้ด้านวิชาชีพ 3.70 .85 มาก 6. สามารถใช้เทคนิคพื้นฐานทางสถิติ และคณิตศาสตร์เพื่อวิเคราะห์ และน าเสนองาน

3.57 .77 มาก

รวม 3.87 .64 มำก .

Page 50: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

50 ตารางภาคผนวกที่ 12 แสดงข้อเสนอแนะความต้องการพัฒนาคุณภาพ และคุณลักษณะบัณฑิต คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ล าดับที่ ข้อเสนอแนะ ความถี่

1.

กำรพัฒนำคุณภำพของบัณฑิต ฝึกให้นักศึกษาใช้ภาษาต่างประเทศอย่างต่อเนื่อง เพราะมีความส าคัญ ในการท างาน และต้องใช้สืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต ดังนั้นการอ่านและเข้าใจ จึงมีส าคัญต่อความก้าวหน้าในหน้าที่การงานของบัณฑิต

6

2. ควรให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติจริง หรือดูงานจากสถานประกอบการจริง เพื่อเพิ่มทักษะการปฏิบัติงาน และสามารถท างานอย่างมีประสิทธิภาพ

4

3. ควรสอนระบบวิธีคิดในการแก้ปัญหาอย่างมีขั้นตอน สามารถแยกแยะปัญหาเป็นส่วนๆ ได้

3

4. บัณฑิตต้องมีความรู้ความสามารถในสาขาที่ส าเร็จการศึกษา และสามารถประยุกต์ความรู้พื้นฐานมาใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

4

5. บัณฑิตควรท าความเข้าใจงาน และขอบเขตหน้าที่ของตนให้ชัดเจน เพื่อคุณภาพของงาน

2

6. ควรมีการเตรียมความพร้อมก่อนออกสู่ตลาดแรงงาน ด้านบุคคลิกภาพ และการสื่อสาร

1

7. พัฒนาความรู้ควบคู่คุณธรรมจริยธรรม เพื่อสร้างบุคลากรที่ดีในสังคม 1

1. กำรพัฒนำคุณลักษณะบัณฑิต บัณฑิตต้องใฝ่รู้ใฝ่เรียนอยู่ตลอดเวลา และพัฒนาความรู้ในสาขาที่จบมา

5

2. บัณฑิตต้องมีบุคลิกภาพที่ดี มีความมั่นใจในตนเอง กล้าแสดงออก กล้าแสดงความคิดเห็น กล้าพูด

4

3. บัณฑิตต้องมีจริยธรรมในวิชาชีพ และการด ารงชีวิต 2 4. บัณฑิตต้องมีความรับผิดชอบ 2 5. บัณฑิตต้องสามารถท างานเป็นทีมได้ 2 6. บัณฑิตต้องมีความมุ่งมั่นในการท างาน ไม่เฉื่อยชา มีความอดทน 2 7. บัณฑิตต้องมีความอ่อนน้อมต่อผู้ใหญ่ 1 8. บัณฑิตต้องมีความฉลาดทางอารมณ์ 1

Page 51: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

51 ตารางภาคผนวกที่ 13 แสดงค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อ การปฏิบัติงานของบัณฑิตคณะวิศวกรรมศำสตร์ จ าแนกเป็นรายด้านและรายข้อ

การปฏิบัติงานของบัณฑิต N = 130

x S.D. ระดับความพึงพอใจ

ด้ำนคุณธรรม จริยธรรมและจรรยำบรรณในวิชำชีพ 4.07 .61 มำก 1. ความมีทัศนคติที่ดีต่อการท างาน และมีจรรยาบรรณในวิชาชีพ 4.08 .74 มาก 2. ความเสียสละ/มีจิตสาธารณะ 4.06 .72 มาก 3. ความสามารถจัดการกับปัญหาได้อย่างมีคุณธรรม 3.88 .69 มาก 4. ความมุ่งมั่น ขยันหมั่นเพียร 4.08 .79 มาก 5. ความอ่อนน้อม มีสัมมาคารวะ 4.31 .66 มาก 6. ความมีวินัย เคารพกฎระเบียบ ข้อบังคับขององค์กร 4.08 .77 มาก 7. ความตรงต่อเวลา 3.95 .83 มาก 8. ความซื่อสัตย์ 4.20 .63 มาก 9. ความรับผิดชอบ 4.01 .77 มาก ด้ำนควำมรู้ควำมสำมำรถทำงวิชำกำร/วิชำชีพ 3.62 .59 มำก 1. ความรู้ความสามารถในสาขาวิชาที่ส าเร็จ 3.75 .66 มาก 2. ความสามารถในการประยุกต์ความรู้มาใช้ในการปฏิบัติงาน 3.69 .71 มาก 3. สามารถน าเทคโนโลยีพื้นฐานไปพัฒนาและแก้ปัญหางานได้อย่าง มีประสิทธิภาพ

3.62 .72 มาก

4. ความรู้ความเข้าใจในงานที่รับผิดชอบ 3.85 .72 มาก 5. ความรู้เท่าทันความก้าวหน้าทางวิทยาการ 3.65 .79 มาก 6. ความสามารถในการบริหารจัดการ 3.32 .71 ปานกลาง 7. ความสามารถในการสร้าง/พัฒนาองค์ความรู้ในการปฏิบัติงาน 3.47 .67 ปานกลาง ด้ำนเชำว์ปัญญำที่ส่งผลต่อกำรปฏิบัติงำน 3.59 .61 มำก 1. ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ 3.56 .77 มาก 2. ความสามารถแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างเป็นระบบ 3.55 .73 มาก 3. ความสามารถเชื่อมโยงบูรณาการหลักทฤษฎีมาใช้กับงาน อย่างสร้างสรรค์

3.54 .71 มาก

4. การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า 3.59 .78 มาก 5. ความสามารถในการรับรู้/เรียนรู้งาน 3.92 .71 มาก 6. ความสามารถในการน าเสนอผลงาน 3.41 .78 ปานกลาง 7. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 3.53 .75 มาก

Page 52: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

52 ตารางภาคผนวกที่ 13 (ต่อ)

การปฏิบัติงานของบัณฑิต N = 130

x S.D. ระดับความพึงพอใจ

ด้ำนปฏิสัมพันธ์กับผู้ร่วมงำน 4.00 .61 มำก 1. ความสามารถท างานร่วมกับผู้อื่นได้/ท างานเป็นทีมได้ 4.15 .72 มาก 2. การรับฟังความคิดเห็นและการให้ความร่วมมือ 4.08 .69 มาก 3. ทักษะการประสานงาน ทั้งระดับบนและระดับล่าง 3.75 .75 มาก 4. ความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) การควบคุมอารมณ์ 3.79 .78 มาก 5. การปรับตัวและมีมนุษยสัมพันธ์ 4.09 .74 มาก 6. การแสดงออกอย่างมีกาละเทศะ 3.92 .81 มาก 7. ความประพฤติสุภาพเรียบร้อย 4.19 .67 มาก 8. มีบุคลิกภาพที่ดี 4.02 .74 มาก ด้ำนกำรสื่อสำรและกำรใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศ 3.57 .64 มำก 1. การสื่อสาร และการแสดงออก 3.78 .67 มาก 2. ความสามารถในการพูด เขียน และน าเสนอ (ภาษาไทย) ได้ดี 3.83 .73 มาก 3. สามารถในการพูด อ่าน เขียน (ภาษาต่างประเทศ) ได้ในระดับพื้นฐาน 3.17 .88 ปานกลาง 4. ความรอบรู้เทคโนโลยีสารสนเทศและน าไปประยุกต์ใช้กับงาน 3.58 .78 มาก 5. สามารถน าเทคโนโลยีสารสนเทศ ไปใช้พัฒนาองค์ความรู้ด้านวิชาชีพ 3.58 .78 มาก 6. สามารถใช้เทคนิคพื้นฐานทางสถิติ และคณิตศาสตร์เพื่อวิเคราะห์ และน าเสนองาน

3.46 .77 ปานกลาง

รวม 3.77 .52 มำก

Page 53: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

53 ตารางภาคผนวกที่ 14 แสดงข้อเสนอแนะความต้องการพัฒนาคุณภาพ และคุณลักษณะบัณฑิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ ล าดับที่ ข้อเสนอแนะ ความถี่

1.

กำรพัฒนำคุณภำพของบัณฑิต ควรเพิ่มเติมการสอนภาษาอังกฤษ ให้นักศึกษาสามารถ พูด อ่าน เขียน ได้ เพื่อเป็นประโยชน์ในการสื่อสาร ติดต่อกับชาวต่างชาติ

21

2. ควรฝึกให้นักศึกษาคิด วิเคราะห์ แก้ปัญหาเฉพาะหน้าอย่างเป็นระบบมีหลักการ และถูกต้องตามหลักวิศวกรรม ให้คิดเป็น ตัดสินใจเป็น

11

3. เสริมความรู้ทางด้านสถิติในการควบคุมคุณภาพ พื้นฐานด้านวิศวกรรม ทักษะด้าน IE การค าณวนเพื่อสามารถหาเวลางานได้ และการใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ

5

4. ควรให้นักศึกษาเรียนรู้และลงมือปฏิบัติจริง เพื่อให้เกิดทักษะในสาขาวิชาที่ส าเร็จ และความรู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อความพร้อมท างานทุกรูปแบบ

6

5. ควรให้ความรู้เรื ่องระบบประกันคุณภาพ เช่น ISO อาชีวอนามัย กฏหมายข้อบังคับต่าง ๆ การวางแผนธุรกิจ การจัดการ

4

6. ควรฝึกให้นักศึกษาเขาใจในการบริหารโครงการ การจัดการ การวางแผน มีเป้าหมายชัดเจน

5

7. ควรตั้งใจเรียนรู้งาน เพื่อเพิ่มศักยภาพของตน และช่วยเหลือเพื่อนร่วมมงาน 3 8 ควรฝึกการพูดให้สื ่อสารเข้าใจง่าย เพื ่อปฏิสัมพันธ์กับลูกค้า และการพูดใน

ที่สาธารณะ 1

9. ฝึกฝนให้นักศึกษารู้จักรับแรงกดดันในด้านต่าง ๆ เพื่อฝึกการแก้ไขสถานการณ์ จะเป็นประโยชน์ต่อนักศึกษา

1

10. บัณฑิตควรมีความรู้ภาษาอังกฤษเฉพาะเทคโนโลยีสมัยใหม่สาขาที่เรียน 1

1. กำรพัฒนำคุณลักษณะบัณฑิต บัณฑิตต้องมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมายและท าด้วยความรอบคอบ

18

2. บัณฑิตต้องมีมนุษยสัมพันธ์ รู้จักปรับตัว รับฟังความเห็นผู้อื่น สามารถจัดการกับอารมณ์ตนเอง เพื่ออยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างเป็นสุข

14

3. บัณฑิต ต้องรู้จักประยุกต์ความรู้ วิชาที่เรียนมาใช้กับการท างานจริงอย่าง มีประสิทธิภาพ

11

4. บัณฑิตต้องมีความเป็นผู้น า ควบคุมผู้ใต้บังคับชาได้ สั่งได้ และปฏิบัติเองได้ 11 บัณฑิตต้องมีความขยัน อดทน ซื่อสัตย์ เสียสละ ตรงต่อเวลา 11

5. บัณฑิตต้องกล้าแสดงออก แสดงความคิดเห็นให้มากขึ้น มีเทคนิคการพูด 9 6. บัณฑิตต้องมีความกระตือรือร้น ใฝ่เรียน ใฝ่รู้ พร้อมที่จะพัฒนาตนเองตลอดเวลา 8 7. บัณฑิตต้องมีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ ๆ 8 8. บัณฑิตต้องมีวินัย เคารพกฏระเบียบของหน่วยงาน 8 9. บัณฑิตต้องมีคุณธรรม จริยธรรม ใส่ใจในอาชีพของตน 7

Page 54: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

54 ตารางภาคผนวกที่ 14 (ต่อ)

ล าดับที่ ข้อเสนอแนะ ความถี่

10 กำรพัฒนำคุณลักษณะบัณฑิต บัณฑิตควรมีทักษะการน าเสนอผลงานเพื่อให้บุคคลอื่นสามารถเข้าใจในวิธีคิด

6

11 ควรปรับตัวให้เข้ากับสภาพการท างานจริง และเรียนรู้งานอย่างรวดเร็ว 3 12 บัณฑิตควรมีความอ่อนน้อม เคารพผู้บังคับบัญชา และผู้ที่มีอาวุโสกว่า 2 13 ความกล้าตัดสินใจ 1 14 สามารถท างานเป็นทีม 2 15 มีบุคคลิกภาพดี 1 16 สามารถสื่อสารได้มีประสิทธิภาพ เข้าใจง่าย 1

Page 55: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

55 ตารางภาคผนวกที่ 15 แสดงค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อ การปฏิบัติงานของบัณฑิตคณะศิลปกรรมศำสตร์ จ าแนกเป็นรายด้านและรายข้อ

การปฏิบัติงานของบัณฑิต N = 18

x S.D. ระดับความพึงพอใจ

ด้ำนคุณธรรม จริยธรรมและจรรยำบรรณในวิชำชีพ 3.88 .95 มำก 1. ความมีทัศนคติที่ดีต่อการท างาน และมีจรรยาบรรณในวิชาชีพ 3.94 87 มาก 2. ความเสียสละ/มีจิตสาธารณะ 4.00 1.03 มาก 3. ความสามารถจัดการกับปัญหาได้อย่างมีคุณธรรม 3.61 1.15 มาก 4. ความมุ่งมั่น ขยันหมั่นเพียร 3.67 1.19 มาก 5. ความอ่อนน้อม มีสัมมาคารวะ 4.28 83 มาก 6. ความมีวินัย เคารพกฎระเบียบ ข้อบังคับขององค์กร 3.78 1.31 มาก 7. ความตรงต่อเวลา 3.56 1.29 มาก 8. ความซื่อสัตย์ 4.22 94 มาก 9. ความรับผิดชอบ 3.83 1.38 มาก ด้ำนควำมรู้ควำมสำมำรถทำงวิชำกำร/วิชำชีพ 3.84 .81 มำก 1. ความรู้ความสามารถในสาขาวิชาที่ส าเร็จ 4.22 .88 มาก 2. ความสามารถในการประยุกต์ความรู้มาใช้ในการปฏิบัติงาน 3.89 .90 มาก 3. สามารถน าเทคโนโลยีพื ้นฐานไปพัฒนาและแก้ปัญหางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

4.00 1.03 มาก

4. ความรู้ความเข้าใจในงานที่รับผิดชอบ 4.00 1.03 มาก 5. ความรู้เท่าทันความก้าวหน้าทางวิทยาการ 3.83 .92 มาก 6. ความสามารถในการบริหารจัดการ 3.50 .86 ปานกลาง 7. ความสามารถในการสร้าง/พัฒนาองค์ความรู้ในการปฏิบัติงาน 3.44 .86 ปานกลาง ด้ำนเชำว์ปัญญำที่ส่งผลต่อกำรปฏิบัติงำน 3.59 .96 มำก 1. ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ 3.56 .92 มาก 2. ความสามารถแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างเป็นระบบ 3.50 .99 ปานกลาง 3. ความสามารถเชื่อมโยงบูรณาการหลักทฤษฎีมาใช้กับงานอย่างสร้างสรรค์ 3.61 1.04 มาก 4. การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า 3.44 .92 ปานกลาง 5. ความสามารถในการรับรู้/เรียนรู้งาน 3.83 1.04 มาก 6. ความสามารถในการน าเสนอผลงาน 3.67 1.14 มาก 7. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 3.50 1.25 ปานกลาง

Page 56: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

56 ตารางภาคผนวกที่ 15 (ต่อ)

การปฏิบัติงานของบัณฑิต N = 18

x S.D. ระดับความพึงพอใจ

ด้ำนปฏิสัมพันธ์กับผู้ร่วมงำน 4.10 .87 มำก 1. ความสามารถท างานร่วมกับผู้อื่นได้/ท างานเป็นทีมได้ 4.22 .88 มาก 2. การรับฟังความคิดเห็นและการให้ความร่วมมือ 4.17 .92 มาก 3. ทักษะการประสานงาน ทั้งระดับบนและระดับล่าง 4.00 1.03 มาก 4. ความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) การควบคุมอารมณ์ 4.22 .94 มาก 5. การปรับตัวและมีมนุษยสัมพันธ์ 4.06 .94 มาก 6. การแสดงออกอย่างมีกาละเทศะ 3.89 .90 มาก 7. ความประพฤติสุภาพเรียบร้อย 4.17 .92 มาก 8. มีบุคลิกภาพที่ดี 4.06 .99 มาก ด้ำนกำรสื่อสำรและกำรใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศ 3.71 .75 มำก 1. การสื่อสาร และการแสดงออก 3.83 .93 มาก 2. ความสามารถในการพูด เขียน และน าเสนอ (ภาษาไทย) ได้ดี 4.06 .87 มาก 3. สามารถในการพูด อ่าน เขียน (ภาษาต่างประเทศ)ได้ในระดับพื้นฐาน 3.50 .79 ปานกลาง 4. ความรอบรู้เทคโนโลยีสารสนเทศและน าไปประยุกต์ใช้กับงาน 3.78 1.06 มาก 5. สามารถน าเทคโนโลยีสารสนเทศ ไปใช้พัฒนาองค์ความรู้ด้านวิชาชีพ 3.78 .94 มาก 6. สามารถใช้เทคนิคพื้นฐานทางสถิติ และคณิตศาสตร์เพื่อวิเคราะห์ และน าเสนองาน

3.33 .69 ปานกลาง

รวม 3.82 .82 มำก

Page 57: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

57 ตารางภาคผนวกที่ 16 แสดงข้อเสนอแนะความต้องการพัฒนาคุณภาพ และคุณลักษณะบัณฑิต คณะศิลปกรรมศาสตร์ ล าดับที่ ข้อเสนอแนะ ความถี่

1.

กำรพัฒนำคุณภำพของบัณฑิต ปลูกฝังให้นักศึกษามีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย

3

2. ฝึกฝนภาคปฏิบัติ เพื่อให้มีทักษะทางวิชาชีพที่มีคุณภาพ 3 3. มหาวิทยาลัยฯ ควรสอนการค านวณให้เข้มข้นกว่านี้ 1 4. พัฒนาภาษาอังกฤษ เพราะเป็นพื้นฐานที่บัณฑิตต้องสามารถสื่อสารได้ 1

1. กำรพัฒนำคุณลักษณะบัณฑิต บัณฑิตควรมีความรับผิดชอบต่องานที่ท า

4

2. บัณฑิตต้องมีความอดทน มุ่งมั่น ขยัน และทุ่มเท 4 3. บัณฑิตต้องมีวินัย รู้จักหน้าที่ ตรงต่อเวลา 2 4. บัณฑิตต้องมีลักษณะผู้น า กล้าตัดสินใจ 2 5. บัณฑิตควรมีบุคลิกภาพที่ดี การแต่งกายให้ถูกกาละเทศะ 2 6. มีอุดมการณ์ในวิชาชีพ ซื่อสัตย์ สุจริต 2 7. บัณฑิตควรมีมนุษย์สัมพันธ์ มีการปรับตัวให้เข้ากับงาน เพื่อความสุขในการ

ปฏิบัติหน้าที่ 2

8. บัณฑิตควรมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เพื่อสร้างงานที่แปลกใหม่ 2 9. ควรมีความรอบคอบ งานเสร็จทันก าหนดเวลา ถูกต้องครบถ้วน 1

Page 58: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

58 ตารางภาคผนวกที่ 17 แสดงค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อ การปฏิบัติงานของบัณฑิตคณะศิลปศำสตร์ จ าแนกเป็นรายด้านและรายข้อ

การปฏิบัติงานของบัณฑิต N = 19

x S.D. ระดับ

ความพึงพอใจ ด้ำนคุณธรรม จริยธรรมและจรรยำบรรณในวิชำชีพ 4.36 .62 มำก 1. ความมีทัศนคติที่ดีต่อการท างาน และมีจรรยาบรรณในวิชาชีพ 4.21 .71 มาก 2. ความเสียสละ/มีจิตสาธารณะ 4.21 .79 มาก 3. ความสามารถจัดการกับปัญหาได้อย่างมีคุณธรรม 4.05 .71 มาก 4. ความมุ่งมั่น ขยันหมั่นเพียร 4.32 .75 มาก 5. ความอ่อนน้อม มีสัมมาคารวะ 4.63 .68 มากที่สุด 6. ความมีวินัย เคารพกฎระเบียบ ข้อบังคับขององค์กร 4.47 .84 มาก 7. ความตรงต่อเวลา 4.37 .90 มาก 8. ความซื่อสัตย์ 4.63 .60 มากที่สุด 9. ความรับผิดชอบ 4.37 .83 มาก ด้ำนควำมรู้ควำมสำมำรถทำงวิชำกำร/วิชำชีพ 4.00 .59 มำก 1. ความรู้ความสามารถในสาขาวิชาที่ส าเร็จ 4.00 .75 มาก 2. ความสามารถในการประยุกต์ความรู้มาใช้ในการปฏิบัติงาน 4.11 .74 มาก 3. สามารถน าเทคโนโลยีพื้นฐานไปพัฒนาและแก้ปัญหางานได้อย่าง มีประสิทธิภาพ 4.11 .66 มาก

4. ความรู้ความเข้าใจในงานที่รับผิดชอบ 4.00 .75 มาก 5. ความรู้เท่าทันความก้าวหน้าทางวิทยาการ 4.11 .81 มาก 6. ความสามารถในการบริหารจัดการ 3.74 .81 มาก 7. ความสามารถในการสร้าง/พัฒนาองค์ความรู้ในการปฏิบัติงาน 3.95 .62 มาก ด้ำนเชำว์ปัญญำที่ส่งผลต่อกำรปฏิบัติงำน 3.88 .69 มำก 1. ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ 3.89 .81 มาก 2. ความสามารถแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างเป็นระบบ 3.84 .83 มาก 3. ความสามารถเชื่อมโยงบูรณาการหลักทฤษฎีมาใช้กับงาน อย่างสร้างสรรค์

3.95 .71 มาก

4. การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า 3.79 .79 มาก 5. ความสามารถในการรับรู้/เรียนรู้งาน 4.11 .81 มาก 6. ความสามารถในการน าเสนอผลงาน 3.84 .77 มาก 7. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 3.74 .81 มาก

Page 59: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

59 ตารางภาคผนวกที่ 17 (ต่อ)

การปฏิบัติงานของบัณฑิต N = 19

x S.D. ระดับความพึงพอใจ

ด้ำนปฏิสัมพันธ์กับผู้ร่วมงำน 4.39 .51 มำก 1. ความสามารถท างานร่วมกับผู้อื่นได้/ท างานเป็นทีมได้ 4.47 .61 มากที่สุด 2. การรับฟังความคิดเห็นและการให้ความร่วมมือ 4.53 .61 มาก 3. ทักษะการประสานงาน ทั้งระดับบนและระดับล่าง 4.11 .88 มาก 4. ความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) การควบคุมอารมณ์ 4.11 .57 มาก 5. การปรับตัวและมีมนุษยสัมพันธ์ 4.63 .60 มากที่สุด 6. การแสดงออกอย่างมีกาละเทศะ 4.26 .65 มาก 7. ความประพฤติสุภาพเรียบร้อย 4.47 .70 มาก 8. มีบุคลิกภาพที่ดี 4.53 .70 มาก ด้ำนกำรสื่อสำรและกำรใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศ 3.94 .63 มำก 1. การสื่อสาร และการแสดงออก 4.32 .67 มาก 2. ความสามารถในการพูด เขียน และน าเสนอ (ภาษาไทย) ได้ดี 4.21 .71 มาก 3. สามารถในการพูด อ่าน เขียน (ภาษาต่างประเทศ) ได้ในระดับพื้นฐาน 3.68 1.00 มาก 4. ความรอบรู้เทคโนโลยีสารสนเทศและน าไปประยุกต์ใช้กับงาน 3.95 .62 มาก 5. สามารถน าเทคโนโลยีสารสนเทศ ไปใช้พัฒนาองค์ความรู้ด้านวิชาชีพ 3.79 .79 มาก 6. สามารถใช้เทคนิคพื้นฐานทางสถิติ และคณิตศาสตร์เพื่อวิเคราะห์ และน าเสนองาน

3.68 .75 มาก

รวม 4.11 .55 มำก

Page 60: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

60 ตารางภาคผนวกที่ 18 แสดงข้อเสนอแนะความต้องการพัฒนาคุณภาพ และคุณลักษณะบัณฑิต คณะศิลปศาสตร์

ล าดับที่ ข้อเสนอแนะ ความถี่

1. กำรพัฒนำคุณภำพของบัณฑิต ฝึกให้นักศึกษา คิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ

2

2. เสริมความรู้ภาษาต่างประเทศให้มากขึ้น โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ 2 3. ฝึกฝนให้นักศึกษามีความกล้าแสดงออก กล้าแสดงความคิดเห็นในที่ประชุม 1

1. กำรพัฒนำคุณลักษณะบัณฑิต ต้องการให้บัณฑิตต้องมีความอดทน เสียสละ

3

2. บัณฑิตต้องมีทักษะในการจัดการกับปัญหาต่าง ๆ 2 3. ต้องการให้บัณฑิตเป็นคนดี คนเก่ง ไม่เห็นแก่ตัว และเห็นแก่ส่วนรวมเป็นที่พึ่ง

ของสังคมได้ 2

4. บัณฑิตควรมีลักษณะภาวะผู้น า มีความมั่นใจในตนเอง กล้าแสดงออกมากขึ้น 2 5. บัณฑิตควรมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เพื่อสร้างงานที่แปลกใหม่ 1

Page 61: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

61 ตารางภาคผนวกที่ 19 แสดงค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อ การปฏบิตัิงานของบัณฑิตคณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ จ าแนกเป็นรายดา้นและรายข้อ

การปฏิบัติงานของบัณฑิต N = 14

x S.D. ระดับความพึงพอใจ

ด้ำนคุณธรรม จริยธรรมและจรรยำบรรณในวิชำชีพ 3.63 .85 มำก 1. ความมีทัศนคติที่ดีต่อการท างาน และมีจรรยาบรรณในวิชาชีพ 3.71 .99 มาก 2. ความเสียสละ/มีจิตสาธารณะ 3.64 1.01 มาก 3. ความสามารถจัดการกับปัญหาได้อย่างมีคุณธรรม 3.50 .86 ปานกลาง 4. ความมุ่งมั่น ขยันหมั่นเพียร 3.57 1.16 มาก 5. ความอ่อนน้อม มีสัมมาคารวะ 3.93 1.07 มาก 6. ความมีวินัย เคารพกฎระเบียบ ข้อบังคับขององค์กร 3.57 .94 มาก 7. ความตรงต่อเวลา 3.21 1.25 ปานกลาง 8. ความซื่อสัตย์ 3.86 1.03 มาก 9. ความรับผิดชอบ 3.71 .91 มาก ด้ำนควำมรู้ควำมสำมำรถทำงวิชำกำร/วิชำชีพ 3.50 .79 ปำนกลำง 1. ความรู้ความสามารถในสาขาวิชาที่ส าเร็จ 3.79 .80 มาก 2. ความสามารถในการประยุกต์ความรู้มาใช้ในการปฏิบัติงาน 3.50 1.02 ปานกลาง 3. สามารถน าเทคโนโลยีพื้นฐานไปพัฒนาและแก้ปัญหางานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ

3.50 .76 ปานกลาง

4. ความรู้ความเข้าใจในงานที่รับผิดชอบ 3.79 1.12 มาก 5. ความรู้เท่าทันความก้าวหน้าทางวิทยาการ 3.64 1.08 มาก 6. ความสามารถในการบริหารจัดการ 3.00 .68 ปานกลาง 7. ความสามารถในการสร้าง/พัฒนาองค์ความรู้ในการปฏิบัติงาน 3.29 .91 ปานกลาง ด้ำนเชำว์ปัญญำที่ส่งผลต่อกำรปฏิบัติงำน 3.42 .59 ปำนกลำง 1. ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ 3.36 .50 ปานกลาง 2. ความสามารถแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างเป็นระบบ 3.29 .61 ปานกลาง 3. ความสามารถเชื่อมโยงบูรณาการหลักทฤษฎีมาใช้กับงาน อย่างสร้างสรรค์

3.29 .73 ปานกลาง

4. การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า 3.36 1.08 ปานกลาง 5. ความสามารถในการรับรู้/เรียนรู้งาน 3.71 1.07 มาก 6. ความสามารถในการน าเสนอผลงาน 3.43 .51 ปานกลาง 7. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 3.50 .52 ปานกลาง

Page 62: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

62 ตารางภาคผนวกที่ 19 (ต่อ)

การปฏิบัติงานของบัณฑิต N = 14

x S.D. ระดับความพึงพอใจ

ด้ำนปฏิสัมพันธ์กับผู้ร่วมงำน 3.63 .92 มำก 1. ความสามารถท างานร่วมกับผู้อื่นได้/ท างานเป็นทีมได้ 3.71 1.20 มาก 2. การรับฟังความคิดเห็นและการให้ความร่วมมือ 3.64 1.08 มาก 3. ทักษะการประสานงาน ทั้งระดับบนและระดับล่าง 3.43 .94 ปานกลาง 4. ความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) การควบคุมอารมณ์ 3.50 1.09 ปานกลาง 5. การปรับตัวและมีมนุษยสัมพันธ์ 3.79 1.05 มาก 6. การแสดงออกอย่างมีกาละเทศะ 3.71 .99 มาก 7. ความประพฤติสุภาพเรียบร้อย 3.79 1.05 มาก 8. มีบุคลิกภาพที่ดี 3.50 .76 ปานกลาง ด้ำนกำรสื่อสำรและกำรใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศ 3.45 .56 ปำนกลำง 1. การสื่อสาร และการแสดงออก 3.64 .63 มาก 2. ความสามารถในการพูด เขียน และน าเสนอ (ภาษาไทย) ได้ดี 3.79 .80 มาก 3. สามารถในการพูด อ่าน เขียน (ภาษาต่างประเทศ) ได้ในระดับพื้นฐาน 2.71 .73 ปานกลาง 4. ความรอบรู้เทคโนโลยีสารสนเทศและน าไปประยุกต์ใช้กับงาน 3.64 .75 มาก 5. สามารถน าเทคโนโลยีสารสนเทศ ไปใช้พัฒนาองค์ความรู้ด้านวิชาชีพ 3.71 .73 มาก 6. สามารถใช้เทคนิคพื้นฐานทางสถิติ และคณิตศาสตร์เพื่อวิเคราะห์และ น าเสนองาน

3.21 .58 ปานกลาง

รวม 3.53 .61 มำก

Page 63: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

63 ตารางภาคผนวกที่ 20 แสดงข้อเสนอแนะความต้องการพัฒนาคุณภาพ และคุณลักษณะบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์

ล าดับที่ ข้อเสนอแนะ ความถี่

1. กำรพัฒนำคุณภำพของบัณฑิต เพิ่มทักษะในการวิเคราะห์งาน การบริหาร และการจัดการ ควบคู่ไปกับความสามารถในการออกแบบ จะสามารถท างานได้ที่ได้รับมอบหมายอย่าง มีระบบมากขึ้น

4

2. ฝึกให้นักศึกษา คิด การน าเสนอความคิด น าเสนอผลงาน ให้เป็นกระบวนการคิดตั้งแต่ต้นจนจบ

2

3. มหาวิทยาลัยฯ ควรแทรกความรู้ความเข้าใจการบริหารงานภาพรวม บุคลิกภาพหรือลักษณะของผู้บริหารงานก่อสร้างเพิ่มเติม เพื่อปูทางให้บัณฑิตเป็นได้มากกว่าผู้ควบคุมงานหรือผู้รับเหมา

1

4. ควรเพิ่มทักษะแนวคิดเชิงสถาปัตยกรรม เทคโนโลยีอาคารพื้นฐาน เช่น งานโครงสร้างแบบต่างๆ งานระบบในลักษณะต่างๆ

1

5. เพิ่มการสอนภาษาอังกฤษ 1

1. กำรพัฒนำคุณลักษณะบัณฑิต ต้องการให้บัณฑิตพัฒนาบุคลิกภาพ มีความเชื่อมั่นในตัวเอง

2

2. บัณฑิตต้องมีคุณธรรม และจริยธรรม รักศรัทธาในอาชีพ 2 3. บัณฑิตต้องมีความอ่อนน้อม มีสัมมาคารวะ ยอมรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น

โดยเฉพาะผู้ที่มีประสบการณ์มากกว่า 2

4. ต้องการให้บัณฑิตทุ่มเท ตั้งใจท างาน 1 5. ความตรงต่อเวลา 1 6. บัณฑิตควรมีลักษณะใฝ่รู้ ขวนขวายหาความรู้เพิ่มเติมตลอดเวลา 1 7. บัณฑิตต้องมีความสามารถน าเสนอความคิดเห็นอย่างเป็นระบบ 1

Page 64: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

64 ตารางภาคผนวกที่ 21 แสดงค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อ การปฏบิัติงานของวิทยำลัยกำรแพทย์แผนไทย จ าแนกเป็นรายด้านและรายข้อ

การปฏิบัติงานของบัณฑิต N = 10

x S.D. ระดับความพึงพอใจ

ด้ำนคุณธรรม จริยธรรมและจรรยำบรรณในวิชำชีพ 4.50 .61 มำก 1. ความมีทัศนคติที่ดีต่อการท างาน และมีจรรยาบรรณในวิชาชีพ 4.50 .53 มาก 2. ความเสียสละ/มีจิตสาธารณะ 4.50 .71 มาก 3. ความสามารถจัดการกับปัญหาได้อย่างมีคุณธรรม 4.40 .84 มาก 4. ความมุ่งมั่น ขยันหมั่นเพียร 4.40 .70 มาก 5. ความอ่อนน้อม มีสัมมาคารวะ 4.70 .48 มากที่สุด 6. ความมีวินัย เคารพกฎระเบียบ ข้อบังคับขององค์กร 4.50 .71 มาก 7. ความตรงต่อเวลา 4.40 .70 มาก 8. ความซื่อสัตย์ 4.50 .85 มาก 9. ความรับผิดชอบ 4.60 .70 มากที่สุด ด้ำนควำมรู้ควำมสำมำรถทำงวิชำกำร/วิชำชีพ 4.33 .51 มำก 1. ความรู้ความสามารถในสาขาวิชาที่ส าเร็จ 4.70 .48 มากที่สุด 2. ความสามารถในการประยุกต์ความรู้มาใช้ในการปฏิบัติงาน 4.40 .70 มาก 3. สามารถน าเทคโนโลยีพื้นฐานไปพัฒนาและแก้ปัญหางานได้อย่าง มีประสิทธิภาพ

4.30 .48 มาก

4. ความรู้ความเข้าใจในงานที่รับผิดชอบ 4.30 .82 มาก 5. ความรู้เท่าทันความก้าวหน้าทางวิทยาการ 4.20 .63 มาก 6. ความสามารถในการบริหารจัดการ 4.20 .79 มาก 7. ความสามารถในการสร้าง/พัฒนาองค์ความรู้ในการปฏิบัติงาน 4.20 .79 มาก ด้ำนเชำว์ปัญญำที่ส่งผลต่อกำรปฏิบัติงำน 4.20 .57 มำก 1. ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ 4.20 .79 มาก 2. ความสามารถแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างเป็นระบบ 4.00 .67 มาก 3.ความสามารถเชื่อมโยงบูรณาการหลักทฤษฎีมาใช้กับงานอย่างสร้างสรรค์ 4.10 .74 มาก 4. การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า 4.20 .63 มาก 5. ความสามารถในการรับรู้/เรียนรู้งาน 4.50 .71 มาก 6. ความสามารถในการน าเสนอผลงาน 4.20 .63 มาก 7. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 4.20 .63 มาก

Page 65: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

65 ตารางภาคผนวกที่ 21 (ต่อ)

การปฏิบัติงานของบัณฑิต N = 14

x S.D. ระดับความพึงพอใจ

ด้ำนปฏิสัมพันธ์กับผู้ร่วมงำน 4.54 .69 มำกที่สุด 1. ความสามารถท างานร่วมกับผู้อื่นได้/ท างานเป็นทีมได้ 4.60 .70 มากที่สุด 2. การรับฟังความคิดเห็นและการให้ความร่วมมือ 4.60 .70 มากที่สุด 3. ทักษะการประสานงาน ทั้งระดับบนและระดับล่าง 4.50 .71 มาก 4. ความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) การควบคุมอารมณ์ 4.40 .70 มาก 5. การปรับตัวและมีมนุษยสัมพันธ์ 4.70 .68 มากที่สุด 6. การแสดงออกอย่างมีกาละเทศะ 4.60 .84 มากที่สุด 7. ความประพฤติสุภาพเรียบร้อย 4.50 .71 มาก 8. มีบุคลิกภาพที่ดี 4.40 .84 มาก ด้ำนกำรสื่อสำรและกำรใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศ 4.18 .58 มำก 1. การสื่อสาร และการแสดงออก 4.40 .70 มาก 2. ความสามารถในการพูด เขียน และน าเสนอ (ภาษาไทย) ได้ดี 4.40 .70 มาก 3. สามารถในการพูด อ่าน เขียน (ภาษาต่างประเทศ) ได้ในระดับพื้นฐาน 3.70 1.16 มาก 4. ความรอบรู้เทคโนโลยีสารสนเทศและน าไปประยุกต์ใช้กับงาน 4.40 .70 มาก 5. สามารถน าเทคโนโลยีสารสนเทศ ไปใช้พัฒนาองค์ความรู้ด้านวิชาชีพ 4.30 .68 มาก 6. สามารถใช้เทคนิคพื้นฐานทางสถิติ และคณิตศาสตร์เพื่อวิเคราะห์ และน าเสนองาน

3.90 .74 มาก

รวม 4.35 .53 มำก

Page 66: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

66 ตารางภาคผนวกที่ 22 แสดงข้อเสนอแนะความต้องการพัฒนาคุณภาพ และคุณลักษณะบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนไทย ล าดับที่ ข้อเสนอแนะ ความถี่

1.

กำรพัฒนำคุณภำพของบัณทิต บัณฑิตควรมีความรู้ความเข้าใจในสาขาที่จบการศึกษา

1

2. มหาวิทยาลัยฯ ควรมีโครงการสนับสนุนจัดอบรมเพิ่มเติมความรู้ใหม่ ๆ ทางด้านวิชาชีพให้กับบัณฑิต

1

3. ควรพัฒนาความรู้ด้านสมุนไพร และต ารับยาแผนโบราณเพื่อประยุกต์ใช้ ในพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

1

1. กำรพัฒนำคุณลักษณะบัณฑิต ควรมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อนร่วมงาน

2

2. บัณฑิตควรมีบุคลิกภาพที่ดี 1 3. มีความเป็นผู้น า มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 1 4. บัณฑิตต้องท าตัวเป็นแบบอย่างที่ดี ไม่น าความเสื่อมเสียมาสู่สถานที่ท างาน 1

Page 67: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

67

ภำคผนวก 2

Page 68: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

68

แบบสอบถำม

Page 69: บทที่ 1 บทน ำ - sd.rmutt.ac.th satisfy 54.pdf1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

69

คณะท ำงำน จัดท ำโดย ฝ่ายแนะแนวการศึกษาและอาชีพ กองพัฒนานักศึกษา

คณะที่ปรึกษา นายวิรัช โหตระไวศยะ รองอธิการบดี ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมพงษ์ อังศุภโชติ ผู้อ านวยการกองพัฒนานักศึกษา นางสาวเพ็ญสุภัค นวกิจบ ารุง หัวหน้าฝ่ายแนะแนวการศึกษาและอาชีพ คณะท างาน นางสาวสุขศรี สงวนสัตย์ นักวิชาการศึกษา ช านาญการพิเศษ นางสาวพจนีย์ ผาสุข นักวิชาการศึกษา นางสุวรรณี ประดิษฐ นักวิชาการศึกษา