วรรณกรรมแตกต างจาก วรรณคดี...

5
ครูณรงคฤทธิศักดาณรงค เรื่อง ทักษะการอานวรรณกรรม ผูสอน อาจารยณรงคฤทธิศักดารณรงค ครูเชี่ยวชาญ คศ.4 วิชาภาษาไทย 42101 ชั้นมัธยมศึกษาปที5 หนวยการเรียนรูที5 ครูณรงคฤทธิศักดาณรงค วรรณกรรม หมายถึง หนังสือและ เรื่องราวที่ประพันธอยางมีศิลปะมี ความประณีต แสดงสุนทรียภาพ ทั้งในดานรูปแบบและเนื้อหา มุใหผูอานเกิดความเพลิดเพลินใจ ครูณรงคฤทธิศักดาณรงค วรรณกรรมตามความหมายของ พจนานุกรม ไดแก งานหนังสือ งาน นิพนธที่ทําขึ้นทุกชนิด เชน หนังสือ จุล สาร สิ่งเขียน สิ่งพิมพ ปาฐกถา เทศนา คําปราศรัย สุนทรพจน สิ่งบันทึกเสียง ภาพ ครูณรงคฤทธิศักดาณรงค วรรณกรรมแตกตางจาก วรรณคดี เพราะพจนานุกรมให ความหมายวรรณคดี ไดแก หนังสือที่ไดรับยกยองวาแตงดี

Upload: others

Post on 19-Nov-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: วรรณกรรมแตกต างจาก วรรณคดี ...edltv.thai.net/courses/499/51thM5-KOs050101.pdfว ชาภาษาไทย ท42101 ช นม ธยมศ

ครูณรงคฤทธิ์ ศักดาณรงค

เรื่อง ทักษะการอานวรรณกรรมผูสอน อาจารยณรงคฤทธิ์ ศักดารณรงค

ครเูชี่ยวชาญ คศ.4

วิชาภาษาไทย ท42101ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5หนวยการเรยีนรูที่ 5

ครูณรงคฤทธิ์ ศักดาณรงค

วรรณกรรม หมายถงึ หนังสือและเรื่องราวทีป่ระพันธอยางมีศิลปะมีความประณีต แสดงสุนทรยีภาพทั้งในดานรูปแบบและเนื้อหา มุงใหผูอานเกิดความเพลิดเพลินใจ

ครูณรงคฤทธิ์ ศักดาณรงค

วรรณกรรมตามความหมายของพจนานุกรม ไดแก งานหนังสือ งานนิพนธที่ทําขึน้ทุกชนิด เชน หนังสือ จลุสาร สิ่งเขียน สิ่งพิมพ ปาฐกถา เทศนา คําปราศรัย สุนทรพจน สิ่งบันทึกเสียง ภาพ

ครูณรงคฤทธิ์ ศักดาณรงค

วรรณกรรมแตกตางจากวรรณคดี เพราะพจนานุกรมใหความหมายวรรณคดี ไดแก หนังสือที่ไดรับยกยองวาแตงดี

Page 2: วรรณกรรมแตกต างจาก วรรณคดี ...edltv.thai.net/courses/499/51thM5-KOs050101.pdfว ชาภาษาไทย ท42101 ช นม ธยมศ

ครูณรงคฤทธิ์ ศักดาณรงค

ดงันั้นวรรณกรรม จงึอาจเปนเรื่องราวสมจริง หรือเพอฝนตามจินตนาการของผูเขียนก็ได แตตองมีคุณคาทางวรรณศิลป และมีสาระที่เปนประโยชนตอผูอาน

ครูณรงคฤทธิ์ ศักดาณรงค

คณุคาทางวรรณศิลป อาจพจิารณาในดานความสมบูรณเชิงวรรณศิลป กลาวคือมีลักษณะเดนในฝมือการประพันธ มีคุณคาทางภาษาและใหความคิดที่เปนคติธรรม จรรโลงแบบแผนวัฒนธรรมทางสังคม

ครูณรงคฤทธิ์ ศักดาณรงค

นอกจากลักษณะที่ไดกลาวมาแลว วรรณกรรมยังใหอารมณและความเพลิดเพลินแกผูอานทุกยุคทุกสมัย วรรณกรรมเรื่องใดมีความสมบูรณตามที่กลาวมานี้ ถือเปนวรรณคดี

ครูณรงคฤทธิ์ ศักดาณรงค

การอานวรรณกรรม แตกตางจากการอานทั่วไป เพราะการอานวรรณกรรมตองอานอยางมีวิจารณญาณ หมายถึงการอานที่ใชสติปญญาหยั่งรูและสามารถแสดงเหตุผลไดถูกตอง

Page 3: วรรณกรรมแตกต างจาก วรรณคดี ...edltv.thai.net/courses/499/51thM5-KOs050101.pdfว ชาภาษาไทย ท42101 ช นม ธยมศ

ครูณรงคฤทธิ์ ศักดาณรงค

นอกจากนี้ ตองพัฒนาตนเองใหเกิดวิจารณญาณในการอาน คือ การสรางเสริมความรูความเขาใจ ความเห็นแจงในวรรณกรรมที่อาน เพื่อเขาถึงแกนแทความคิดของเรื่อง

ครูณรงคฤทธิ์ ศักดาณรงค

การอานในลักษณะดังกลาว เปนพฤติกรรมการคิดระดับสูงของผูอานและสงเสริมใหเกิดการวิพากษวิจารณ ถาปราศจากการใชวิจารณญาณ ก็จะเปนเพียงการสัมผัสวรรณกรรมดวยสายตาของผูอานเทานั้น

ครูณรงคฤทธิ์ ศักดาณรงค

ดานรูปลักษณของวรรณกรรมดานรูปลักษณของวรรณกรรม1.2.

3.ดานภาพลักษณของภาพดานภาพลักษณของภาพดานกลวิธีการสื่อความหมายดานกลวิธีการสื่อความหมาย

4. ดานความเขาใจสารดานความเขาใจสารครูณรงคฤทธิ์ ศักดาณรงค

วิจารณญาณดานรูปลกัษณของวรรณกรรม ไดแกความเขาใจโครงสรางงานเขียน แบบแผนคําประพนัธ ประเภทและรูปแบบของวรรณกรรม รวมถึงวัตถุประสงคของการเขียน

Page 4: วรรณกรรมแตกต างจาก วรรณคดี ...edltv.thai.net/courses/499/51thM5-KOs050101.pdfว ชาภาษาไทย ท42101 ช นม ธยมศ

ครูณรงคฤทธิ์ ศักดาณรงค

วิจารณญาณดานภาพลักษณของภาษา ไดแกการพินิจพิเคราะหรูปแบบและความงามของภาษา ทั้งในดานถอยคํา สํานวน โวหาร ความหมายของคํา ความไพเราะของเสียงและกลวิธีการใชภาษาตามแบบแผนการประพันธ

ครูณรงคฤทธิ์ ศักดาณรงค

วิจารณญาณดานกลวิธสีือ่ความหมาย ไดแกการใชดุลยพินจิเพือ่พจิารณาขอความตาง ๆ ของเรื่องที่มีความหมายอยางลุมลกึ สัมผัสใจ กอใหเกดิอารมณสะเทอืนใจแกผูอาน

ครูณรงคฤทธิ์ ศักดาณรงค

การสื่อความหมาย ตองสามารถตีความหมายใหเกิดความหมายหลายนัย ตามที่ผูเขียนสื่อแนะไว ในบางบริบท หรือบางวรรคตอนของเรื่อง

ครูณรงคฤทธิ์ ศักดาณรงค

วิจารณญาณดานความเขาใจสาร ไดแกการใชดุลยพินิจในสวนความคิดที่มีคุณประโยชน อาจไดจากเนื้อเรื่องโดยตรง หรือจากแงมุมที่ผูเขียนแสดงไวอาจแฝงไวดวยคติธรรมและสรางสารัตถะที่นํามาเปนแกนสารของชีวิตจริง

Page 5: วรรณกรรมแตกต างจาก วรรณคดี ...edltv.thai.net/courses/499/51thM5-KOs050101.pdfว ชาภาษาไทย ท42101 ช นม ธยมศ

ครูณรงคฤทธิ์ ศักดาณรงค

ผูอานไมรูสึกวา กําลังอานวรรณกรรมสั่งสอนโดยตรง แตเกิดความซึมซับเพราะผูเขียนใชลีลาวรรณศิลปนีน้ําอยางกลมกลืน